สารบัญ
32 ความสัมพันธ์: ชาวสกอตแลนด์ชาวอังกฤษชาวแองโกล-แซกซันชาวไวกิงชาวเวลส์ชาติพันธุ์วิทยาการพลัดถิ่นของชาวไอริชภาษาอังกฤษภาษาไอริชยุโรปตะวันตกออสการ์ ไวลด์อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มันอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันจอร์จ เบสต์จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ทวีปยุโรปทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ประเทศไอร์แลนด์นอร์มันแบรม สโตกเกอร์แอนเดรีย คอรร์แดเนียล โอคอนเนลล์โรมันคาทอลิกโรเบิร์ต บอยล์โจนาธาน สวิฟท์เพรสไบทีเรียนเพียร์ซ บรอสแนนเลียม นีสันเอนยาเจมส์ จอยซ์เซอร์ชา โรนัน
- กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไอร์แลนด์
- กลุ่มชาติพันธุ์ในสหราชอาณาจักร
ชาวสกอตแลนด์
--> |region5.
ชาวอังกฤษ
วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.
ชาวแองโกล-แซกซัน
ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ.
ดู ชาวไอริชและชาวแองโกล-แซกซัน
ชาวไวกิง
แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ.
ชาวเวลส์
วเวลส์ (Cymry, Welsh people) เวลส์เป็นกลุ่มชาติพันธุ์และในชาติที่เกี่ยวข้องกับเวลส์และภาษาเวลส์ จอห์น เดวีส์ให้ความเห็นว่าที่มาของ "ชาติเวลส์" (Welsh nation) สืบได้ว่ามีมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 หลังจากที่โรมันถอนตัวจากบริเตนJohn Davies (1994) A History of Wales.
ชาติพันธุ์วิทยา
ติพันธุ์วิทยา หรือ ชาติวงศ์วิทยา หรือ ชนชาติวิทยา (ethnology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของมานุษยวิทยา ที่ศึกษาและเปรียบเทียบเกี่ยวกับความเชื่อและวิธีปฏิบัติของแต่ละสังคม เป้าหมายหนึ่งคือ การศึกษาประวัติศาสตร์มนุษย์ กฎทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม และนัยทั่วไปเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ สำหรับผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชานี้ จะเรียกว่า "นักชาติพันธุ์วิทยา" (ethnologist) คำว่า ethnology ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักประวัติศาสตร์ชาวสโลวัค Adam František Kollár (1718–1783) โดยมาจาก 2 คำในภาษากรีก คือ ethnos ("ชนชาติ") และ logos ("การศึกษา").
การพลัดถิ่นของชาวไอริช
“ชาวไอร์แลนด์พลัดถิ่น” ภาพพิมพ์แกะโดยเฮนรี ดอยล์ (ค.ศ. 1827–ค.ศ. 1892) สำหรับหนังสือ “''Illustrated History of Ireland''” โดยแมรี ฟรานซ์ คูแซ็ค, ค.ศ.
ดู ชาวไอริชและการพลัดถิ่นของชาวไอริช
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ภาษาไอริช
ษาไอริช หรือ ภาษาไอร์แลนด์ (Gaeilge) เป็นภาษากอยเดลภาษาหนึ่งที่จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มีรากฐานจากประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งในอดีตมีการพูดโดยคนเชื้อสายไอริช ผู้ปัจจุบันมักพูดภาษาอังกฤษ ภาษาไอริชมีฐานะเป็นภาษาทางการในประเทศไอร์แลนด์ กำหนดโดยรัฐธรรมนูญของไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังเป็นภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการของสหภาพยุโรป และ ในไอร์แลนด์เหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้ว.
ยุโรปตะวันตก
แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.
ออสการ์ ไวลด์
ออสการ์ ไวลด์ (Oscar Wilde หรือ Oscar Fingal O'Flahertie Wills Wilde) (16 ตุลาคม ค.ศ. 1854 - (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1900) ออสการ์ ไวลด์เป็นนักเขียนและกวีคนสำคัญชาวไอริชที่มีผลงานการเขียนบทละคร และเรื่องสั้นเป็นจำนวนมาก และนวนิยายหนึ่งเล่ม ไวลด์ผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบดีเป็นนักเขียนบทละครผู้มีความสำเร็จมากที่สุดของปลายสมัยวิกตอเรียและเป็นบุคคลผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของสมัย บทละครหลายเรื่องของไวลด์ก็ยังนิยมนำมาสร้างกันอยู่โดยเฉพาะ The Importance of Being Earnest หลังจากที่ถูกฟ้องร้องในคดีที่ถูกกล่าวหาว่ามี “พฤติกรรมอันเป็นการอนาจาร” (gross indecency) กับชายคนอื่นๆ ซึ่งเป็นคดีที่อื้อฉาว ซึ่งทำให้ไวลด์สูญเสียชื่อเสียงและถูกส่งตัวไปจำคุกอยู่เป็นเวลาสองปี ทันทีที่ถูกปล่อยตัวไวลด์ก็จับเรือจากดิเอปป์ และไม่ได้กลับมาไอร์แลนด์หรือบริเตนอีกจนเสียชีวิต "ดอเรียน เกรย์ (The Picture of Dorian Gray)" นวนิยายซึ่งมีชื่อเสียงมากของไวลด์ บอกเป็นนัยถึงความนิยมความรักร่วมเพศผ่านตัวละครต่างๆเช่น ดอเรียน เกรย์ หนุ่มชั้นสูงในลอนดอน และบาซิล ศิลปินวาดภาพเหมือน กฎหมายที่ทำร้ายชีวิตไวลด์ในศตวรรษที่ 19 มีโฉมหน้าที่เปลี่ยนไปแล้ว หากเขามีชีวิตอยู่ในหลายพื้นที่ในปัจจุบัน เขาคงไม่ต้องใช้ชีวิตรักอย่างหลบซ่อน ไร้ผิด ไร้โทษใด นอกเหนือจากประเด็นข้างต้น ในนวนิยายของเขา มีประเด็นทางอาชญาวิทยาเรื่องกรรมพันธุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางลบของบุคคลในครอบครัวนับแต่ครั้งบรรพบุรุษ ใน The Picture of Dorian Gray ไม่เพียงภาพเหมือนของดอเรียนเท่านั้นที่สะท้อนกรรมของเขาออกมา ยังมีภาพบาปอีกมากในคฤหาสถ์ชนบทของเขาที่สะท้อนกรรมแบบเดียวกันของดอเรียนและบรรพบุรุษ.
อังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
แองโกล-นอร์มัน (Anglo-Norman) คือผู้สืบเชื้อสายจากชาวนอร์มันผู้ปกครองอังกฤษหลังจากที่ได้รับชัยชนะในการรุกรานอังกฤษโดยดยุควิลเลียมแห่งนอร์ม็องดีในปี ค.ศ.
ดู ชาวไอริชและอังกฤษสมัยแองโกล-นอร์มัน
อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.
ดู ชาวไอริชและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
จอร์จ เบสต์
อร์จ เบสต์ เกิดวันที่ 22 พฤษภาคม..
จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์
อร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ (George Bernard Shaw; 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1856 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1950) เป็นนักเขียนบทละครชาวไอริช เกิดที่เมืองดับลิน ย้ายมาอยู่กรุงลอนดอนเมื่ออายุได้ 20 ปี และพำนักอยู่ในประเทศอังกฤษจนตลอดชีวิต เขาเริ่มต้นชีวิตการทำงานด้วยการประพันธ์เพลงและเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม ต่อมาจึงหันมาเขียนบทละคร และมีความชำนาญในการประพันธ์บทละครแนวชีวิต ชอว์มีผลงานบทละครมากกว่า 60 เรื่อง ส่วนใหญ่มีเนื้อหาที่สะท้อนถึงปัญหาสังคม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..
ดู ชาวไอริชและจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์
ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..
ดู ชาวไอริชและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์
ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์
อร์แลนด์ราว ค.ศ. 1014 ที่ประกอบด้วยอาณาจักรต่างๆ ที่เป็นอริต่อกัน ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ (History of Ireland) การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ครั้งแรกในไอร์แลนด์เริ่มขึ้นราว 8000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อหมู่ชนของระบบสังคมล่าสัตว์-เก็บพืชผักเริ่มเดินทางเข้ามาจากแผ่นดินใหญ่ยุโรปอาจจะโดยทางสะพานแผ่นดินที่เคยเชื่อมระหว่างสองทวีป หลักฐานทางโบราณคดีของประชากรกลุ่มนี้แทบจะไม่มีร่องรอยให้เห็น แต่ผู้สืบเชื้อสายจากคนกลุ่มนี้และต่อมาของกลุ่มคนที่โยกย้ายเข้ามาจากคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้ทิ้งร่องรอยของแหล่งโบราณคดีสำคัญๆ ของยุคหินใหม่เอาไว้ เช่นอนุสรณ์นิวเกรนจ์ การมาถึงของนักบุญแพทริคและผู้เผยแพร่ศาสนาในต้นจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 คริสต์ศาสนาก็เข้ามาแทนที่ลัทธิพหุเทวนิยมของเคลติคที่มาสิ้นสุดลงโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ.
ดู ชาวไอริชและประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์
ประเทศไอร์แลนด์
อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.
นอร์มัน
ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ.
แบรม สโตกเกอร์
แบรม สโตกเกอร์ (Bram Stoker) มีชื่อจริงว่า เอบราแฮม สโตกเกอร์ (Abraham Stoker) เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847 ที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เป็นบุตรชายคนที่ 3 จากบรรดาพี่น้องทั้งหมด 7 คน บิดาของสโตกเกอร์เป็นข้าราชการ ส่วนมารดาซึ่งเป็นนักเรียกร้องสิทธิสตรีรุ่นแรก ๆ เมื่อวัยเด็กสโตกเกอร์เป็นเด็กร่างกายอ่อนแอมาก จนไม่สามารถที่จะยืนตัวตรงได้จนกระทั่งอายุ 7 ขวบ ทำให้เป็นคนช่างฝันและจินตนาการและชอบอ่านหนังสือ สโตกเกอร์ชื่นชอบในเรื่องประวัติศาสตร์ยุโรป, การเล่นแร่แปรธาตุ และที่ชอบมากที่สุดคือเรื่องเกี่ยวกับแวมไพร์ ผีร้ายตามความเชื่อของชาวยุโรปในยุคกลาง ซึ่งได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้กับงานเขียนวรรณคดีชิ้นสำคัญต่อไป เมื่อโตขึ้นเป็นวัยรุ่น สโตกเกอร์กลับมีร่างกายแข็งแรงถึงขนาดเป็นนักกีฬาแชมป์ของโรงเรียนโดยเฉพาะฟุตบอล สโตกเกอร์เรียนจบจากวิทยาลัยทรินิตี (Trinity College) ในดับลิน จากนั้นก็เข้ารับราชการตามรอยบิดา พร้อมกับเริ่มเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ดิไอริชเอ็กโค (The Irish Echo) และได้รู้จักกับเหล่านักเขียน นักแสดงจากลอนดอน ในที่สุดเมื่ออายุ 31 ปี เพื่อนนักแสดงละครเวทีของเชกสเปียร์ชาวอังกฤษชื่อ เฮนรี เออร์วิง (Henry Irving) ช่วยให้เขาได้งานบริหารพิพิธภัณฑ์ไลซีอัมเทียเตอร์ในลอนดอน (Lyceum Theatre) สโตกเกอร์แต่งงาน มีลูกชายหนึ่งคน แต่ต่อมาก็อยู่แยกกับภรรยา แต่ก็ยังไปปรากฏตัวร่วมกันเมื่อออกงานสังคม งานเขียนทั้งหมดของสโตกเกอร์มีทั้งหมด 32 เรื่อง ทั้งนวนิยาย, สารคดี, เรื่องสั้นและงานวิจารณ์ แต่ทั้งหมดนี้ไม่มีเรื่องไหนที่จะประสบความสำเร็จเท่า แดรกคูลา ในปี ค.ศ.
แอนเดรีย คอรร์
แอนเดรีย คอรร์ (Andrea Corr) หรือในชื่อจริงว่า แอนเดรีย เจน คอรร์ (Andrea Jane Corr MBE) (17 พฤษภาคม ค.ศ. 1974) เป็นนักร้องนำของวง เดอะ คอรร์ส และนักแสดงชาวไอริช ซึ่งนอกจากร้องนำแล้ว ยังเล่น tin whistle ให้กับทางวงอีกด้วย ในปี 2005 แอนเดรีย และ เดอะ คอรร์ส ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (MBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เนื่องจากความสามารถทางดนตรี รวมถึงการทำงานการกุศลเพื่อหาเงินช่วยเหลือโรงพยาบาลฟรีแมนในนิวคาสเซิล เหยื่อจากเหตุการณ์ระเบิดในเมืองโอมากห์ ไอร์แลนด์เหนือ และงานการกุศลอื่น.
แดเนียล โอคอนเนลล์
แดนเนียล โอคอนเนลล์ (Dónal Ó Conaill, Daniel O'Connell) (6 สิงหาคม ค.ศ. 1775 - (15 พฤษภาคม ค.ศ. 1847) หรือที่รู้จักกันว่า “The Liberator” (ผู้ปลดปล่อย) หรือ “The Emancipator” (ผู้ปลดปล่อย) โอคอนเนลล์เป็นผู้นำทางการเมืองชาวไอริชของครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีบทบาทเพื่อการการปลดแอกคาทอลิก (Catholic emancipation) ซึ่งเป็นการพยายามให้ผู้นับถือโรมันคาทอลิกมีสิทธิได้รับการเลือกตั้งให้นั่งในรัฐสภาเวสต์มินสเตอร์ซึ่งโรมันคาทอลิกไม่มีสิทธิมาเป็นเวลากว่าหนึ่งร้อยปี และเป็นผู้สนับสนุนขบวนการสมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพกับอังกฤษ (Repeal Association).
ดู ชาวไอริชและแดเนียล โอคอนเนลล์
โรมันคาทอลิก
ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.
โรเบิร์ต บอยล์
รเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle; FRS; 25 มกราคม ค.ศ. 1627 – 31 ธันวาคม ค.ศ. 1691) นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของอังกฤษในฐานะผู้คิดค้นกฎของบอยล์ และนักประดิษฐ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผลงานที่โดดเด่นของบอยล์คือ เป็นผู้คิดค้นกฎของบอยล์ ซึงกฎของบอยล์ กล่าวว่า ในกรณี ที่อุณหภูมิของแก๊สไม่เปลี่ยนแปลง ผลคูณระหว่าง ความดันของแก๊ส (P) กับปริมาตรของแก๊ส (V) มีค่าคงตัว (C) เขียนสมการได้ว่า PV.
โจนาธาน สวิฟท์
นาธาน สวิฟท์ (Jonathan Swift) (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1667 - (19 ตุลาคม ค.ศ. 1745) โจนาธาน สวิฟท์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวไอร์แลนด์และชาวอังกฤษ นอกจากจะเป็นนักเขียนและสวิฟท์ก็ยังเป็นนักเสียดสี นักเขียนปกิณกะ และ นักเขียนการเมืองโดยเริ่มเขียนให้กับพรรควิก และต่อมาให้กับพรรคทอรี กวี และนักบวชผู้ต่อมามีตำแหน่งเป็นอธิการของมหาวิหารเซนต์แพ็ททริคในดับลิน สวิฟท์มีงานเขียนหลายชิ้นที่มีชื่อเสียงที่รวมทั้ง Gulliver's Travels (การเดินทางของกัลลิเวอร์), A Modest Proposal, A Journal to Stella, Drapier's Letters, The Battle of the Books, An Argument Against Abolishing Christianity และ A Tale of a Tub สวิฟท์อาจจะถือว่าเป็นผู้นำของนักเขียนประเภทเสียสีคนสำคัญของวรรณกรรมภาษาอังกฤษ และไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันเท่าใดนักในงานเขียนทางด้านโคลงกลอน เดิมสวิฟท์ใช้นามปากกาในการเขียนงานเช่น เลมูเอล กัลลิเวอร์ (Lemuel Gulliver), ไอแซ็ค บิคเคอร์สตาฟฟ์ (Isaac Bickerstaff) หรือบางครั้งก็ไม่ลงนาม งานเสียดสีของสวิฟท์มีสองลักษณะแบบโฮราซ (Horace) และ แบบจูเวนาล (Juvenal).
เพรสไบทีเรียน
็อง กาลแว็ง นิกายเพรสไบทีเรียนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 431 (Presbyterianism) เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีต้นกำเนิดที่สกอตแลนด์ ยึดถือแนวคิดทางเทววิทยาแบบลัทธิคาลวิน และมีการจัดระเบียบองค์การแบบเพรสไบทีเรียน หลักเทววิทยาแบบเพรสไบทีเรียนเน้นเรื่องอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า สิทธิอำนาจของคัมภีร์ไบเบิล และการรับพระคุณจากพระเจ้าได้โดยการศรัทธาในพระเยซูเท่านั้น ในสกอตแลนด์วิธีการปกครองคริสตจักรของเพรสไบทีเรียนได้รับการรับประกันตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.
เพียร์ซ บรอสแนน
ียร์ซ บรอสแนน ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2005 ภาพเพียร์ซ บรอสแนน ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2002 เพียร์ซ บรอสแนน กับ Stephanie Zimbalist ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Remington Steele (ฉายระหว่างค.ศ.
เลียม นีสัน
วิลเลียม จอห์น "เลียม" นีสัน, โอบีอี (William John "Liam" Neeson, OBE) เป็นนักแสดงชาวไอร์แลนด์ ที่ต่อมาเป็นพลเมืองอเมริกันตั้งแต่ปี 2009 เขาเป็นที่รู้จักจากบทบาทออสการ์ ชินด์เลอร์ ในภาพยนตร์เรื่อง Schindler's List, บทไมเคิล คอลลินส์ใน Michael Collins, บทไควกอน จินน์ ใน Star Wars Episode I: The Phantom Menace, บทอัลเฟรด คินเซย์ ใน Kinsey, บทแอสลัน ในภาพยนตร์ซีรีส์ The Chronicles of Narnia และจะรับบทจอห์น "แฮนนิบอล" สมิธ ใน A-Team movie เขาเกิดในบัลลีเมนา เคาน์ตีแอนทริม และศึกษาที่นั่นที่มหาวิทยาลัยเบลฟาสต์ เขาย้ายไปดับลินหลังจากจบมหาวิทยาลัยและเริ่มอาชีพการแสดง ร่วมกับคณะละครเวทีแอบบี ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เขาย้ายมาที่สหรัฐอเมริกา ที่เขาเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการแสดงเรื่อง Schindler's list ทำให้เขาเป็นบุคคลมีฐานชื่อเสียงที่ดี เขายังเล่นในหนังแนวบล็อกบัสเตอร์หลายเรื่องอย่างเช่น The Dead Pool, Darkman, Rob Roy, Kingdom of Heaven, Batman Begins, และ Taken ด้านชีวิตส่วนตัวเขาเป็นพ่อม่ายอยู่ในนิวยอร์กกับบุตรชาย 2 คน.
เอนยา
อนยา พาทริเชีย นี วรีไนน์ (Eithne Patricia Ní Bhraonáin) หรือเอนยา (Enya) (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2504—ปัจจุบัน) เป็นนักร้อง นักดนตรี และคีตกวีชาวไอร์แลนด์ ผู้ได้รับรางวัลแกรมมี่สี่ครั้ง และเป็นศิลปินเดี่ยวที่มียอดจำหน่ายผลงานเป็นอันดับสูงสุดของไอร์แลนด์ ดนตรีของเอนยาได้รับอิทธิพลจากดนตรีเคลติก และมักจัดเป็นดนตรีนิวเอจ เอนยาร่วมงานกับ นิกกี และโรมา ไรอัน มาอย่างยาวนาน โดยเอนยาเป็นผู้ร้องและเล่นดนตรี นิกกีเป็นผู้อำนวยการผลิต และโรมาเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง คำว่า Enya เป็นการเขียนทับศัพท์ชื่อของเธอในภาษาแกลิก คือ Eithne ตามการออกเสียง โดยมีความหมายว่า แก่นไม้ กับทั้งยังเป็นชื่อนักบุญศาสนาคริสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 อีกด้ว.
เจมส์ จอยซ์
มส์ จอยซ์ เจมส์ จอยซ์ (James Joyce) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 – 13 มกราคม ค.ศ. 1941) เป็นนักเขียนชาวไอริช เกิดในเมืองดับลิน แต่ไปจากบ้านเกิดตั้งแต่ยังหนุ่ม ซึ่งต้องการหลีกหนีจากปัญหาสังคมและเรื่องศาสนา โดยไปอาศัยอยู่ที่ปารีส งานเขียนที่สำคัญได้แก่ “ยูลิสซีส” (ค.ศ.
เซอร์ชา โรนัน
ซอร์ชา อูนา โรนัน (Saoirse Una Ronan,; เกิด 12 เมษายน ค.ศ. 1994) เป็นนักแสดงชาวไอริช-อเมริกัน เกิดที่นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ชื่อเซอร์ชามาจากคำ ซีร์ชา (saoirse) ซึ่งแปลว่า "เสรีภาพ" ในภาษาไอริช มีชื่อเสียงมาจากการเล่นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ระดับเล็ก ๆ ก่อนที่จะมารับบท ไบรโอนี แทลลิส เด็กสาววัย 13 ปี ที่ฝันอยากจะเป็นนักเขียนแต่จินตนาการของเธอทำให้พี่สาวต้องพลัดพรากกับคนรักไปตลอด ในภาพยนตร์เรื่อง ตราบาปลิขิตรัก (ค.ศ.
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไอร์แลนด์
- ชนร่อนเร่ชาวไอร์แลนด์
- ชาวแองโกล-ไอริช
- ชาวไอริช
กลุ่มชาติพันธุ์ในสหราชอาณาจักร
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Irish peopleชาวไอร์แลนด์