สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39สโมสรฟุตบอลชลบุรีอำเภอเมืองชลบุรีจังหวัดชลบุรีประเทศไทย
- กีฬาในจังหวัดชลบุรี
- สนามฟุตบอลในประเทศไทย
- สิ่งก่อสร้างในจังหวัดชลบุรี
- สโมสรฟุตบอลชลบุรี
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39
กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39 หรือ ชลบุรีเกมส์ เป็นการแข่งขันกีฬาของประเทศไทย จัดขึ้นที่จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 9 - 19 ธันวาคม พ.ศ.
ดู ชลบุรีสเตเดียมและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39
สโมสรฟุตบอลชลบุรี
มสรฟุตบอลชลบุรี เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรจากจังหวัดชลบุรี ปัจจุบันลงเล่นในไทยลีก เคยได้ตำแหน่งชนะเลิศในฤดูกาล 2550 ซึ่งปัจจุบันใช้สนามชลบุรีสเตเดียม เป็นสนามเหย้าของสโมสร.
ดู ชลบุรีสเตเดียมและสโมสรฟุตบอลชลบุรี
อำเภอเมืองชลบุรี
อำเภอเมืองชลบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดชลบุรี.
ดู ชลบุรีสเตเดียมและอำเภอเมืองชลบุรี
จังหวัดชลบุรี
ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.
ดู ชลบุรีสเตเดียมและจังหวัดชลบุรี
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดูเพิ่มเติม
กีฬาในจังหวัดชลบุรี
- ชลบุรีสเตเดียม
- พีระเซอร์กิต
- ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี 2017
- สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ
- สนามกีฬาสิรินธร
- สนามกีฬาหนองปรือ
- สโมสรฟุตบอลชลบุรี
- สโมสรฟุตบอลชลบุรี บี
- สโมสรฟุตบอลทวีวัฒนา
- สโมสรฟุตบอลราชนาวี
- สโมสรฟุตบอลลูกอีสาน
สนามฟุตบอลในประเทศไทย
- ชลบุรีสเตเดียม
- ช้างอารีนา
- พีทีทีสเตเดียม
- ยูเอ็มที สเตเดียม
- ราชมังคลากีฬาสถาน
- สนามกีฬากลางจังหวัดชัยนาท
- สนามกีฬากลางจังหวัดตราด
- สนามกีฬากลางจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- สนามกีฬากลางจังหวัดราชบุรี
- สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม
- สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี
- สนามกีฬากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี
- สนามกีฬากองทัพบก
- สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์)
- สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี
- สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี
- สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- สนามกีฬาจิระนคร
- สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- สนามกีฬาติณสูลานนท์
- สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต
- สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
- สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ
- สนามกีฬาลาดกระบัง 54
- สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
- สนามกีฬาสิรินธร
- สนามกีฬาสุระกุล
- สนามกีฬาหนองปรือ
- สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
- สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
- สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง
- สนามทุ่งบูรพา
- สนามบุณยะจินดา
- สนามฟุตบอลเทพหัสดิน
- สนามมหาวิทยาลัยรังสิต
- สนามศรีนครลำดวน
- สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด
- เขากระโดง สเตเดียม
- แพตสเตเดียม
สิ่งก่อสร้างในจังหวัดชลบุรี
- ชลบุรีสเตเดียม
- พระจุฑาธุชราชฐาน
- สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ
- สนามกีฬาสิรินธร
- สนามกีฬาหนองปรือ
- สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
- สวนเสือศรีราชา
สโมสรฟุตบอลชลบุรี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สนาม อบจ.ชลบุรีสนามกีฬาชลบุรีสเตเดียมชลบุรี สเตเดียม