โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิระ มะลิกุล

ดัชนี จิระ มะลิกุล

ระ มะลิกุล หรือ เก้ง (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวไทย และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ โดยปัจจุบันมีผลงานการกำกับภาพยนตร์สี่เรื่อง คือ 15 ค่ำ เดือน 11, มหา'ลัยเหมืองแร่, รัก 7 ปี ดี 7 หน (ตอน 42.195) และ พรจากฟ้า (ตอน พรปีใหม่) รวมทั้งเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก ซึ่งเป็นผลงานที่เริ่มสร้างชื่อในนาม "หับ โห้ หิ้น".

59 ความสัมพันธ์: ATMฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอพ.ศ. 2504พ.ศ. 2529พ.ศ. 2543พ.ศ. 2545พ.ศ. 2548พรจากฟ้าพี่มาก..พระโขนงกวน มึน โฮกอด (ภาพยนตร์)การกอดฝากไว้..ในกายเธอมหา'ลัย เหมืองแร่มิวสิกวิดีโอยงยุทธ ทองกองทุนรวิวรรณ จินดารัก 7 ปี ดี 7 หนรักหมดใจยัยกะล่อนรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ลัดดาแลนด์ลัดดาแลนด์ (ภาพยนตร์)สายลับจับบ้านเล็กสี่แพร่งสตรีเหล็กสตรีเหล็ก 2สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดหนีตามกาลิเลโอห้าแพร่งผู้กำกับภาพยนตร์จีดีเอช ห้าห้าเก้าจีเอ็มเอ็ม ไท หับดนุพล แก้วกาญจน์ครีเอเทีย อาร์ติสต์คิดถึงวิทยาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉลาดเกมส์โกงซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยประเทศไทยปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุลนักเขียนบทแฟนฉันแก๊งชะนีกับอีแอบแจ๋วโรงเรียนเซนต์คาเบรียลโปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาตไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้วไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์...เพื่อนสนิทเมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อเมโทรเซ็กชวลเด็กหอเฉลียงเฉลียง (วงดนตรี)15 ค่ำ เดือน 1124 กุมภาพันธ์365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

ATM

อทีเอ็ม (ATM) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและATM · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ

"ฟรีแลนซ..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ" (Heart Attack) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2558 เขียนบทและกำกับโดย นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และดาวิกา โฮร์เน่ กำหนดออกฉายในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและฟรีแลนซ์..ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พรจากฟ้า

รจากฟ้า (A gift) เป็นภาพยนตร์ไทยแนว โรแมนติก คอมเมดี้ และดราม่า จากจีดีเอช ห้าห้าเก้าร่วมกับสิงห์ คอร์เปอเรชัน โดยได้รับแรงบันดาลใจจากเพลงพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3 เพลงคือ ยามเย็น (Love at sundown), ในดวงใจนิรันดร์ (Still on my Mind) และ พรปีใหม่ ผ่านการเล่าเรื่องราวของหนุ่มสาว 3 คู่ที่มีลักษณะในการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันไป ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวเข้าฉายอย่างไม่เป็นทางการตั้งแต่วันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพรจากฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

พี่มาก..พระโขนง

ี่มาก..พระโขนง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและพี่มาก..พระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

กวน มึน โฮ

กวน มึน โฮ (Hello Stranger) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี ออกฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เป็นผลงานการกำกับภาพยนตร์ของบรรจง ปิสัญธนะกูล ได้รับการจัดอันดับ "น 15+" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) นำแสดงโดย ฉันทวิชช์ ธนะเสวี และหนึ่งธิดา โสภณ ภาพยนตร์เป็นผลงานกำกับในแนวหนังรักเรื่องแรกของบรรจง โดยได้รับแรงบันดาลใจจากหนังสือ สองเงาในเกาหลี ของ ทรงกลด บางยี่ขัน กวน มึน โฮ นำเสนอเรื่องราวของชายหนุ่มและหญิงสาวชาวไทยที่ไปเที่ยวประเทศเกาหลี แล้วพบกันโดยบังเอิญ ทั้งสองตกลงที่จะไม่บอกชื่อแก่กัน และออกเที่ยวเกาหลีด้วยกัน ใช้สถานที่ถ่ายทำในประเทศเกาหลีในหลากหลายฉากที่เกี่ยวข้องกับละครซีรีส์เกาหลีที่ฉายในประเทศไทย ด้านกิจกรรม ทางค่ายหนังได้จัด กิจกรรม "กวน จน ดัง หวัง 100 ล้าน" โดยมีนักแสดง ผู้กำกับ และวงดนตรี ทเวนตีไฟฟ์อาวส์ ไปร่วมร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ "ยินดีที่ไม่รู้จัก".

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและกวน มึน โฮ · ดูเพิ่มเติม »

กอด (ภาพยนตร์)

กอด (Handle Me With Care) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและกอด (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

การกอด

การกอด (hug) เป็นรูปแบบของความใกล้ชิดทางกาย (physical intimacy) และเป็นสิ่งสากลในชุมชนมนุษย์ ซึ่งคนสองคนหรือมากกว่านำแขนคล้องรอบคอ หลัง หรือเอวของกันและกันเพื่อจับกันไว้อย่างใกล้ชิด หากมีคนร่วมมากกว่าสองคนจะเรียกว่า การกอดแบบกลุ่ม (group hug).

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและการกอด · ดูเพิ่มเติม »

ฝากไว้..ในกายเธอ

ฝากไว้..ในกายเธอ (The Swimmers) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ กำกับโดย โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ นำแสดงโดย จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล ธนภพ ลีรัตนขจร และ สุภัสสรา ธนชาติ กำหนดออกฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 7 สิงหาคม 2557 โดยมีกำหนดเข้าฉายในระบบเสียงรอบทิศทาง ดอลบี แอทมอส (Dolby Atmos) ซึ่งนับว่าเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องที่ 2 ที่มีการจัดทำเสียงในระบบนี้ และเป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของ GTH ที่มีการจัดทำเสียงในระบบนี้ ภาพยนตร์ทำรายได้ 68.4 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและฝากไว้..ในกายเธอ · ดูเพิ่มเติม »

มหา'ลัย เหมืองแร่

อาจินต์ ปัญจพรรค์ มหา'ลัย เหมืองแร่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและมหา'ลัย เหมืองแร่ · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกวิดีโอ

มิวสิกวิดีโอ (Music video) หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มวี (MV) เป็นการถ่ายทอดบทเพลงแบบมีภาพประกอบ โดยยุคแรกๆ มิวสิกวิดีโอ นำมาใช้ในการเผยแพร่เพลงทางโทรทัศน์ ซึ่งมักเป็นรูปแบบการถ่ายภาพวงดนดรีหรือนักร้องที่ร้องเพลง ต่อมามีนำภาพมาประกอบเพลง และพัฒนามาเป็นการการนำเนื้อหาของบทเพลงมาสร้างเป็นเรื่องราว เป็นละครประกอบเพลง พอมาถึงยุคที่คาราโอเกะเป็นที่นิยม มิวสิกวิดีโอ ก็นำมาซ้อนกับเนื้อเพลง ทำเป็น วิดีโอคาราโอเกะ และผลิตเป็นสื่อ วีซีดีคาราโอเกะ ปัจจุบัน มีการให้รางวัลศิลปิน จากการประกวดมิวสิกวิดีโออีกด้วย เช่น งานเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและมิวสิกวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ทองกองทุน

งยุทธ ทองกองทุน เกิด 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและยงยุทธ ทองกองทุน · ดูเพิ่มเติม »

รวิวรรณ จินดา

รวิวรรณ จินดา (ชื่อเล่น อุ้ย) เกิดวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2505 เป็นนักร้องชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลง 6 ชุด และยังมีผลงานแสดงภาพยนตร์ อดีตผู้บริหารบริษัท ฟาติมา บรอดคาสติ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล จำกั.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและรวิวรรณ จินดา · ดูเพิ่มเติม »

รัก 7 ปี ดี 7 หน

รัก 7 ปี ดี 7 หน (Seven Something) เป็นภาพยนตร์ไทย ฉลองครบรอบ 7 ปี GTH แนวโรแมนติก-คอมเมดี ออกฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและรัก 7 ปี ดี 7 หน · ดูเพิ่มเติม »

รักหมดใจยัยกะล่อน

รักหมดใจ ยัยกะล่อน หรือที่รู้จักกันในชื่อ My Girl (마이걸) เป็นละครโทรทัศน์ยอดนิยมของประเทศเกาหลีใต้ สร้างจากละครโทรทัศน์เรื่อง My Girl ในฟิลิปปินส์ เคยติด 10 อันดับยอดนิยมเป็นเวลานานอีกด้ว.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและรักหมดใจยัยกะล่อน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 จัดโดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาต.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัดดาแลนด์

ลัดดาแลนด์ เป็นสวนพฤกษศาสตร์ ผสมผสานกับลานแสดงศิลปวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ ในราวปี พ.ศ. 2512 เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วย สวนสนุก การแสดงมหรสพต่างๆ ตั้งอยู่ริมถนนเลียบคลองชลประทาน ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเจ้าของ คือ พลตรีประดิษฐ์ พันธาภา และนางลัดดา พันธาภา ปัจจุบันลัดดาแลนด์ มีสภาพเป็นป่ารกร้าง จนกลายเป็นแหล่งมั่วสุมของพวกติดยา กลุ่มวัยรุ่นที่ชอบลองของ ในจังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนเป็นที่สนใจของกลุ่มผู้ที่มีความเชื่อเรื่องผี และมักจะถูกกล่าวถึงในเรื่องความลี้ลับ เรื่องสยองขวัญ จนถูกนำเรื่องราวมาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง ลัดดาแลนด์ ออกฉายในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและลัดดาแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัดดาแลนด์ (ภาพยนตร์)

ลัดดาแลนด์ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ ออกฉายวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554 กำกับโดยโสภณ ศักดาพิศิษฏ์ นำแสดงโดย สหรัถ สังคปรีชา, ปิยธิดา วรมุสิก แนวคิดหลัก ๆ ของภาพยนตร์เรื่องนี้คือ แดนผีที่ดุที่สุดในเชียงใหม่ อยู่ในหมู่บ้าน ลัดดาแลนด์ ซึ่งมีการฆาตกรรมอย่างโหดเหี้ยม และต่อเนื่องสืบมา โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเรตติ้ง "น 18+" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้ที่อายุตั้งแต่ 18 ขึ้นไป) ภาพยนตร์เรื่องนี้มีสโลแกนเด็ดว่า “หมู่บ้านแห่งนี้จะอยู่หรือจะย้าย เมื่อคนตายมาหาถึงบ้าน".

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและลัดดาแลนด์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สายลับจับบ้านเล็ก

ลับจับบ้านเล็ก เป็นภาพยนตร์ไทยที่กำกับโดย คมกฤษ ตรีวิมล นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์,ภัทรศยา เครือสุวรรณศิริ, ปาณิสรา พิมพ์ปรุ และ เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์ ออกฉายเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2550 ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้รวม 70 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและสายลับจับบ้านเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สี่แพร่ง

ี่แพร่ง เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญที่ออกฉายเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2551 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน ปวีณ ภูริจิตปัญญา ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ บรรจง ปิสัญธนะกุล นำแสดงโดย มณีรัตน์ คำอ้วน เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ วิทวัส สิงห์ลำพอง อภิญญา สกุลเจริญสุข ชล วจนานนท์ ณัฏฐพงศ์ ชาติพงศ์ และ กันตพัฒน์ สีดา ทำรายได้รวม 85 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและสี่แพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

สตรีเหล็ก

ตรีเหล็ก เป็นภาพยนตร์ไทย ตลก ที่สร้างจากเรื่องจริงของทีมวอลเลย์บอลชาย ที่ผู้เล่นทั้งทีมเป็นกะเทย ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน เขียนบทโดย วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน และจิระ มะลิกุล มี ปนัดดา โพธิวิจิตร และศศิวิมล ชินเวชกิจวานิชย์ เป็นผู้ช่วยผู้กำกับ ออกฉายเมื่อ 3 มีนาคม พ.ศ. 2543 โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ทำรายได้ไป 98.70 ล้านบาท ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จด้านรายได้เป็นอย่างดี และก่อให้เกิดกระแสสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับกีฬา และเกี่ยวกับเพศที่สาม ติดตามมาอีกหลายเรื่อง ภาพยนตร์ได้ออกไปฉายในต่างประเทศ และได้รับคำชื่นชมเป็นอย่างดี ไปฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์ที่ Pusan International Film Festival ปูซาน เกาหลีใต้, San Francisco Asian American Film Festival ซานฟรานซิสโก, Miami Gay and Lesbian Film Festival ไมอามี, Los Angeles Asian Pacific Film Festival ลอสแอนเจลิส, Seattle International Film Festival ซีแอตเทิล และ San Francisco International Lesbian and Gay Film Festival.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและสตรีเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สตรีเหล็ก 2

ตรีเหล็ก 2 เป็นภาพยนตร์ไทย ภาคต่อของ สตรีเหล็ก กำกับโดยยงยุทธ ทองกองทุน ภาพยนตร์ทำรายได้ 71.10 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและสตรีเหล็ก 2 · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าแพร่ง

ห้าแพร่ง (Phobia 2) เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ โดยมีโครงเรื่องเกี่ยวกับผีและความกลัวเช่นเดียวกับ สี่แพร่ง แต่จะถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์สั้น 5 เรื่อง เข้าฉายเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการจัดฉายรอบสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ณ โรงภาพยนตร์เอสเอฟ เวิลด์ ซีเนมา ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานผ่านเว็บไซต์ทางการของภาพยนตร์ นับเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่มีการถ่ายทอดสดบรรยากาศการจัดฉายรอบสื่อมวลชนทางอินเทอร์เน็ต เป็นหนังสยองขวัญ ที่ทำสถิติรายได้เปิดตัวสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการหนังไทย ภาพยนตร์เรื่อง ห้าแพร่ง ทำรายได้จากการเข้าฉายในประเทศไทยจำนวน 113.5 ล้านบาท (เฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑล).

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและห้าแพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กำกับภาพยนตร์

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ขณะกำกับภาพยนตร์ในกองถ่ายเรื่องเปนชู้กับผี ผู้กำกับภาพยนตร์ คือผู้ที่มีหน้าที่กำกับในขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ โดยผู้กำกับภาพยนตร์มีหน้าที่สร้างจินตนาการจากบทหนัง แล้วถ่ายทอดความคิดทางด้านศิลปะออกมาตามแบบที่ตนเองต้องการ และเป็นคนสั่งฝ่ายอื่น ๆ ในกองถ่าย อย่างเช่น ฝ่ายผู้กำกับภาพ ผู้กำกับการแสดง ฝ่ายเทคนิค นักแสดง ออกมาอยู่ในองค์ประกอบทางศิลป์ที่ตนเองต้องการบนแผ่นฟิล์มหรือในระบบดิจิตอล อย่างไรก็ดี ผู้กำกับภาพยนตร์อาจจะควบคุมทุกอย่างตามที่ตนคิดไว้ไม่ได้เสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นภาพยนตร์ที่ฉายในโรง เพราะผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ จะเป็นคนกำหนดงบประมาณที่จะให้ผู้กำกับใช้จ่ายได้ หรือสั่งตัดต่อหนังในขั้นตอนสุดท้ายก่อนเข้าโรงฉายหากหนังมีความยาวเกินไป หรือเพื่อดึงการจัดเรตหนังให้ต่ำลงมา หรือบางฉากอาจจะมีการเพิ่มโฆษณาเข้าไป ดังนั้นเป็นเรื่องที่ไม่แปลกหากผู้กำกับจะมีปัญหาให้คุยกับผู้อำนวยการสร้างเสมอ.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและผู้กำกับภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จีดีเอช ห้าห้าเก้า

ีดีเอช ห้าห้าเก้า (Gross Domestic Happiness: GDH.) หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีดีเอช เป็นบริษัทผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย เกิดขึ้นหลังการปิดตัวของ จีเอ็มเอ็ม ไท หับ ในเดือนพฤศจิกายน 2558 จนกระทั่งเมื่อต้นเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและจีดีเอช ห้าห้าเก้า · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพล แก้วกาญจน์

นุพล แก้วกาญจน์ เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวไทย เกิดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2502 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม ตอนปลายจาก โรงเรียนหอวัง เริ่มเล่นโฟล์คซองตั้งแต่ยังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และเป็นนักร้องอาชีพครั้งแรกที่เลิฟคอฟฟี่ช็อป (ชั้น 4 สยามเซ็นเตอร์) จากนั้นก็เล่นที่ "เบิร์ธเดย์" ใต้ถุนโรงหนังเพรสซิเด้นท์ จนกระทั่งเป็นสมาชิกวงแกรนด์เอ็กซ์ ติดต่อให้มาเป็นนักร้องนำของวง แทนจำรัส เศวตาภรณ์ ที่ลาออกไป วงแกรนด์เอ็กซ์ได้รับความนิยมอย่างสูง จนทำให้สถานที่จัดงานพังไปหลายแห่ง เช่น ที่หอประชุมจุฬาฯ เสียหายจากการแสดงคอนเสิร์ต 2 ครั้ง จนต้องปิดซ่อม และไม่ยอมให้วงแกรนด์เอ็กซ์ ใช้สถานที่จัดคอนเสิร์ต อีก หรือโรงละครแห่งชาติ ที่แฟนเพลงอัดแน่นจนกระจกแตก ดนุพล แก้วกาญจน์ ร่วมงานกับ แกรนด์เอ็กซ์ ครั้งแรกในอัลบั้มชุด "เขิน" และไล่เรียงต่อมาอีกหลายชุด ได้แก่ "ผู้หญิง" "GRAND X.O." "บุพเพสันนิวาส" "นิจนิรันดร์" "พรหมลิขิต" "เพชร" "บริสุทธิ์" "ดวงเดือน" จนปี 2527 วงแกรนด์เอ็กซ์ สมาชิกจำนวนหนึ่ง แยกไปทำผลงานวงเพื่อน ส่วนแกรนด์เอ็กซ์ ที่เหลือก็เปลี่ยนชื่อเป็น แกรนด์เอ็กซ์แฟมิลี และมีอัลบั้มออกมาอีกสองชุด คือ "หัวใจสีชมพู" และ "สายใย" ซึ่งเป็นอัลบั้มชุดสุดท้าย ที่ดนุพล แก้วกาญจน์ ทำร่วมกับวงแกรนด์เอ็กซ์ ในปี 2529 ดนุพล แก้วกาญจน์ ได้ออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรก คือ "ฝันสีทอง" และยังได้เปิดค่ายเพลงที่ชื่ออินเทอร์นอลขึ้น มีศิลปินในสังกัด เช่น วงพลอย, เฮนรี่ ปรีชาพานิช, ปุ้ม-อรวรรณ เย็นพูนสุข และตั๊ก-ศิริพร อยู่ยอด ในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและดนุพล แก้วกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ครีเอเทีย อาร์ติสต์

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ครีเอเทีย อาร์ติสต์ เป็นบริษัทค่ายเพลงในอดีตของไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อช่วงพ.ศ. 2528 โดยเกิดจากแนวความคิดของ ชนินทร์ โปสาภิวัฒน์ ออร์กาไนเซอร์ชื่อดังที่คิดว่าต้องการให้ค่ายเพลงนี้เป็นที่รวบรวมเหล่าคนเบื้องหลังและคนเบื้องหน้าที่มีความสามารถเข้ามาไว้ด้วยกัน ครีเอเทีย อาร์ติสต์ มี ปั่น หรือชื่อจริง ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว เป็นศิลปินเบอร์แรก หลังจากนั้นก็มีศิลปินตามมาอีกเช่น รวิวรรณ จินดา, เฉลียง, วงกะท้อน ซึ่งค่ายนี้ได้รวบรวม ครีเอทีฟ นักแต่งเพลง และ นักดนตรี ฝีมือดีไว้มากมาย เช่น จิระ มะลิกุล, ประภาส ชลศรานนท์, ธเนศ สุขวัฒน์, พนเทพ สุวรรณะบุณย์, อิทธิ พลางกูร เป็นต้น ครีเอเทีย อาร์ติสต์ เกิดปัญหาขึ้นเมื่อชนินทร์ เจ้าของบริษัทเกิดอาการทางประสาทขึ้นเนื่องจากใช้สมองในการคิดมากเกินไป จึงถูกส่งตัวไปรักษา ทำให้ภายในค่ายก้าวต่อไปไม่ได้ หลังจากนั้นไม่นานค่ายครีเอเทีย อาร์ติสต์ ก็ปิดตัวลง "อุ้ย" นักร้องหญิงคนแรกของค่าย วง "กะท้อน".

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและครีเอเทีย อาร์ติสต์ · ดูเพิ่มเติม »

คิดถึงวิทยา

ึงวิทยา (Teacher’s Diary) เป็นภาพยนตร์ไทยออกฉายในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและคิดถึงวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

right คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาดเกมส์โกง

ฉลาดเกมส์โกง (Bad Genius) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและฉลาดเกมส์โกง · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล (4 กันยายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง เจ้าของผลงานอัลบั้ม ไปทะเล เมื่อ..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียนบท

นักเขียนบท หมายถึง บุคคลในอาชีพ คนทำงานด้านภาพยนตร์ ที่ทำหน้าที่เขียนบทภาพยนตร์ในภาพยนตร์และเขียนบทโทรทัศน์สำหรับรายการโทรทัศน์ นักเขียนบทส่วนใหญ่เริ่มต้นอาชีพ โดยเขียนแบบยังไม่ได้ค่าจ้างของบท จนกว่าบทจะถูกขายออกไปได้ มีนักเขียนบทหลายคนที่ทำงานเป็น สคริปต์ด็อกเตอร์ คือแก้ไขบทให้เหมาะกับตัวผู้กำกับหรือสตูดิโอ ตัวอย่างเช่น ผู้บริหารสตูดิโออาจบ่นว่า แรงกระตุ้นของตัวละครไม่ชัดเจน หรือบทพูดออกไป นักเขียนบทอาจหางานจากการขายบทคร่าว ๆ (อาจจะราว 10-30 หน้า) หรือเรื่องย่อ (อาจจะราว 1-2 หน้า) หรืออาจขายบททั้งบทภาพยนตร์ แม้ว่าจะยังเขียนไม่เสร็จ แต่อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่เกิดไม่บ่อยที่นักเขียนบทจะขายบท หนึ่งในวิธีสำคัญ คือการนำความคิดไปขายกับสตูดิโอให้สร้าง คือการใช้นักเขียนบทถูกคนให้ถูกกับโครงการ เพราะโดยมากโครงการส่วนใหญ่ที่ขายให้สตูดิโอมักจะให้นักเขียนบทของตัวเองทำเพื่อให้บทเสร็จสมบูรณ์หรือให้เขียนร่างสุดท้าย ในสหรัฐอเมริกา นักเขียนบทอาชีพเป็นสมาชิกอยู่ในองค์กร อย่างเช่น สมาคมนักเขียนบทฝั่งตะวันออก ซึ่งสมาคมนี้ได้มีการให้รางวัลกับผลงานของนักเขียนบทที่สังกัดอยู่ด้วย หมวดหมู่:บุคลากรในงานภาพยนตร์ หมวดหมู่:อาชีพการเขียน หมวดหมู่:นักเขียนบท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและนักเขียนบท · ดูเพิ่มเติม »

แฟนฉัน

แฟนฉัน เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับ ความรักวัยเด็ก ในอดีตแห่งความทรงจำ กำกับการแสดงโดย กลุ่ม 365 ฟิล์ม และเข้าฉายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและแฟนฉัน · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งชะนีกับอีแอบ

แก๊งชะนีกับอีแอบ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยค่าย จีทีเอช กำกับโดยยงยุทธ ทองกองทุน ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.12 ล้านบาท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและแก๊งชะนีกับอีแอบ · ดูเพิ่มเติม »

แจ๋ว

แจ๋ว หรือ Mission Almost Impossible Done (M.A.I.D) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับปฏิบัติการไฮเทคของเหล่าสาวใช้ ที่ถูกวานให้กลายมาเป็นสายลับ กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2547 นำแสดงโดย พรชิตา ณ สงขลา, จารุภัส ปัทมะศิริ, จารุณี บุญเสก, พนาลักษณ์ ณ ลำปาง, ปาณิสรา พิมพ์ปรุ, ปวีณ์นุช แพ่งนคร.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและแจ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและโรงเรียนเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

โปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต

ปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต (ชื่ออังกฤษ: Coming Soon) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ ออกฉายวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551 กำกับโดยโสภณ ศักดาพิศิษฏ์ นำแสดงโดย วรกาญจน์ โรจนวัชร,ฉันทวิชช์ ธนะเสวี,สฤญรัตน์ โทมัส,ธนาธร อุตสาหกุล แนวคิดหลัก ๆ ของภาพยนตร์เรื่องนี้คือ การดูภาพยนตร์สยองขวัญเรื่องหนึ่ง และผีที่อยู่ในตัวภาพยนตร์ได้ออกมาหลอกหลอนคนดู เนื่องจากผู้สร้าง(ตัวละคร)ได้นำเอาเรื่องจริงมาทำเป็นภาพยนตร์ มีเพลงประกอบคือ "เกลียดคำขอโทษ" ร้องโดย วรกาญจน์ โรจนวัชร feat.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและโปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว (ชื่อเล่น ปั่น) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้

อฟ..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวรักตลกที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2557 กำกับโดย เมษ ธราธร ที่เคยสร้างชื่อเสียงไว้ในการกำกับภาพยนตร์เรื่อง ATM เออรัก เออเร่อ นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวเริ่มออกฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์

ท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ เป็นบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2547 บริหารงานโดยสองอาหลาน คือ จรัล พูลวรลักษณ์ และ วิสูตร พูลวรลักษณ์ โดยเป็นค่ายหนังไทยที่พลิกหน้าวงการ ด้วยการผลิตภาพยนตร์ที่จับกระแสของกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นได้ตรงจุด มีงานสร้างคุณภาพอย่างพิถีพิถัน ทันสมัย ไม่เหมือนใคร โดยเริ่มสร้างภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ซึมน้อยหน่อย กะล่อนมากหน่อย และยังได้สร้างภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง จนประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งรายได้และรางวัลจากสถาบันต่างๆ เคยควบกิจการร่วมกับ จีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์ และ หับ โห้ หิ้น ตั้งบริษัทใหม่ในนาม จีเอ็มเอ็ม ไท หับ (GTH) ภายหลังจากการร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน จนกระทั้งได้ขอแยกตัวออกจากการควบรวม และออกมาประกาศการยุบ GTH เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 โดยจะมีผลวันที่ 31 ธันวาคม 2558 รวมเวลาที่ควบรวมกิจการในชื่อ GTH 11 ปี ปัจจุบันได้ตัังบริษัทใหม่ในนาม ที โมเมนต์ ร่วมกับ โมโน เทคโนโลยี ในวันที่ 27 มกราคม 2559.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนสนิท

ื่อนสนิท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเพื่อนสนิท · ดูเพิ่มเติม »

เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ · ดูเพิ่มเติม »

เมโทรเซ็กชวล

มโทรเซ็กชวล (metrosexual) มาจากศัพท์ 2 คำ ที่นำมารวมกัน คำแรกคือคำว่า “Metropolitan” ที่มีความหมายตรงกับคำว่าเมือง เมื่อนำมาใช้ในคำว่า “Metro sexual” ก็หมายถึงว่า ผู้ชายที่ใช้ชีวิตในรูปแบบสังคมเมือง เป็นบุคคลที่เข้าสังคม ในขณะเดียวกัน “Sexual” เป็นศัพท์ที่นำมาจาก “Heterosexual” ซึ่งในที่นี้มีหมายถึง ผู้ชายปกติที่ชอบเพศตรงข้าม แต่ก็มีความกังวลเกี่ยวกับรูปร่าง การดูแลรักษาตัวเอง รวมถึงเรื่องแฟชั่นซึ่งไม่ต่างจากเกย์ เป็นกลุ่มคนผู้ชายที่นิยมความสวยความงามบนตัวเองมากกว่าปกติ โดยจะมีเรื่องการดูแลเครื่องแต่งกาย ใบหน้าและผิวพรรณสูงกว่าผู้ชายทั่วไป ซึ่งส่วนมากนิยมใช้สินค้าที่มียี่ห้อราคาสูง ใช้น้ำหอม ชอบช๊อปปิ้ง เล่นฟิตเนส โดยพฤติกรรมของคนกลุ่มนี้ ไม่ได้สนใจแต่เรื่องสุขภาพอย่างเดียว แต่ยังเป็นคนทันสมัย ชอบการเปลี่ยนแปลง สนใจเรื่องเทคโนโลยี เรียนรู้และพัฒนาตนเองตลอดเวลา มุ่งมั่นทุ่มเทในการทำงาน เพื่อความสำเร็จ มีอาชีพที่มั่นคง และมีรายได้สูง ที่สำคัญยังเป็นนักช็อปตัวยง ซึ่งจะมีลักษณะตรงข้ามกับลักษณะที่เรียกว่า เรโทรเซ็กชวล เมโทรเซ็กชวลมีลักษณะคล้ายลักษณะจิตวิทยาที่เรียกว่า นาร์ซิสซิสซึม เป็นลักษณะที่เพศชายหลงใหลในตัวเอง เปรียบเทียบตามเทพเจ้าในตำนานกรีก นาร์ซิสซัส วิจัยโดย ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ในปี 2457 คำว่า "เมโทรเซ็กชวล" เริ่มใช้ครั้งแรกโดย มาร์ก ซิมป์สัน นักหนังสือพิมพ์ชาวอังกฤษเขียนในหนังสือของเขาที่ตีพิมพ์เมื่อ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 แต่ไม่เป็นที่นิยมจนกระทั่งในปี 2545 ซิมป์สันได้นำมาใช้ในแมกาซีนที่เขาเขียนอีกครั้งในหัวข้อชื่อ Meet the metrosexual และในเดือนมิถุนายน 2546 หนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทม์ ได้มีการใช้คำศัพท์นี้โดยใช้ชื่อหัวข้อว่า Metrosexuals Come Out โดยกล่าวว่ามาจากคำที่ มาร์ก ซิมป์สันใช้ในปี 2537 สำหรับในไทยนั้นได้มีการเริ่มใช้กันในช่วงปี 2547 โดยมีการกล่าวถึงในนิตยสาร Positioning ของไทย หรือ อย่างบริษัทโฆษณาชื่อดัง โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ แอดเวอร์ไทซิ่ง ได้มีการจัดสัมมนา ในหัวข้อชื่อ Meet the Metrosexuals: The Next Big Spender ต้นปี 2549 บุคคลที่มีชื่อเสียงที่อาจเข้าข่ายเมโทรเซ็กชวล เช่น เดวิด เบคแคม.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเมโทรเซ็กชวล · ดูเพิ่มเติม »

เด็กหอ

็กหอ เป็นภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ เข้าฉาย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 กำกับโดย ทรงยศ สุขมากอนันต์ โดย จีทีเอช และ ฟีโนมีน่า โมชั่น พิคเจอร์ สร้างจากเรื่องเล่าที่เคยได้ยินมาขณะเรียนอยู่ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีร.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเด็กหอ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียง

ฉลียง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเฉลียง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียง (วงดนตรี)

ฉลียง เป็นชื่อของวงดนตรีไทย ที่มีผลงานระหว่างปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและเฉลียง (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

15 ค่ำ เดือน 11

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและ15 ค่ำ เดือน 11 · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์

365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ (Final Score) เป็นภาพยนตร์แนวสารคดีเกี่ยวกับเรื่องราวการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย ของเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 4 คน ในช่วงปีการศึกษา พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็นปีแรกที่ใช้การสอบแอดมิดชันส์ แทนการสอบเอ็นทรานซ์ ภาพยนตร์เรื่องนี้กำกับโดย โสรยา นาคะสุวรรณ เกิดจากแนวคิดของ จิระ มะลิกุล ผู้อำนวยการสร้าง ที่จะนำเสนอชีวิตของเด็กวัยรุ่นไทยที่กำลังจะเข้ามหาวิทยาลัย ตามความเป็นจริง ในรูปแบบเรียลลิตี้โชว์ โดยใช้ทีมงานจำนวน 6 คน ประกอบด้วยผู้กำกับ ช่างกล้อง ช่างเสียง ผู้จัดการกองถ่าย ผู้ช่วยผู้จัดการกองถ่าย และคนขับรถ เฝ้าติดตามถ่ายนักแสดงนำทั้ง 4 คน เป็นเวลา 1 ปี โดยไม่มีบท และไม่มีใครทราบล่วงหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้น จากนั้นจึงนำฟุตเตจทั้งหมด มาตัดต่อเป็นภาพยนตร์ การถ่ายทำส่วนใหญ่ ถ่ายทำที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยซึ่งนักแสดงนำทั้ง 4 คนเรียนอยู่ และที่บ้านของนักแสดง โดยช่างกล้องและช่างเสียง ต้องใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นตลอด 1 ปี.

ใหม่!!: จิระ มะลิกุลและ365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jira Maligool

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »