เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จินตนาการ

ดัชนี จินตนาการ

นตนาการ (Imagination) เป็นความสามารถในการสร้างภาพในสมอง ซึ่งภาพเหล่านี้ไม่ได้รับรู้ผ่านการมองเห็น การได้ยิน หรือผ่านวิธีการรับรู้อื่น ๆ จินตนาการถือได้ว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในการนำความรู้ไปใช้งานจริงและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และยังเป็นรากฐานในการรวมประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกันNorman 2000 pp.

สารบัญ

  1. 3 ความสัมพันธ์: กระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้นรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบเรื่องเล่า

  2. กระบวนการทางจิต
  3. ประชาน

กระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้น

กระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้น (Heuristics) เป็นการเข้าถึง ความรู้ ด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ พยายามแก้ปัญหา ค้นหาโดยการสืบเสาะ ค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากแหล่งข้อมูลความรู้ที่มีอยู่ รากศัพท์ Heuristics มาจากภาษากรีก "heurisko" (εὑρίσκω) หมายถึง "I find" ฉันพบเบ๊นเลว.

ดู จินตนาการและกระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้น

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ดู จินตนาการและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

เรื่องเล่า

รื่องเล่า (narrative หรือ story) คือบันทึกที่เกี่ยวข้อกับเหตุการณ์ เรื่องจริง หรือ เรื่องแต่ง ที่อยู่ในรูปแบบการเขียนหรือคำพูด หรือภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหว เรื่องเล่าสามารถแบ่งแยกเรื่องราวได้หลายประเภท ตั้งแต่ สารคดี (เช่น สารคดีเรื่องสร้างสรรค์, ชีวประวัติ, ข่าว, บทกวี และประวัติศาสตร์นิพนธ์), เรื่องแต่งจากเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ (เช่น เกร็ดประวัติ, ตำนาน, นิทานปรัมปรา, นวนิยายทางประวัติศาสตร์) และเรื่องแต่งขึ้นมา (เช่น งานประพันธ์ในรูปแบบร้อยแก้วหรือร้อยกรอง เช่นเรื่องสั้น นิยาย กวีนิพนธ์เล่าเรื่องและเพลง และเรื่องเล่าในจินตนาการ ที่อาจอยู่ในรูปแบบของตัวหนังสือ เกม การแสดงสด หรือบันทึกการแสดง) เรื่องเล่าอาจพบได้ในทุกรูปแบบของการสร้างสรรค์งานของมนุษย์ ศิลปะ การบันเทิง ที่รวมถึง ถ้อยคำพูด งานประพันธ์ ละครเวที ดนตรีและเพลง การ์ตูน ข่าว ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์และวิดีโอ วิดีโอเกม วิทยุ เกม การละเล่น และการแสดง เช่นเดียวกับในบางงาน จิตรกรรม ประติมากรรม การวาดเส้น การถ่ายภาพ และทัศนศิลป์แขนงอื่น.

ดู จินตนาการและเรื่องเล่า

ดูเพิ่มเติม

กระบวนการทางจิต

ประชาน