เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย

ดัชนี ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย

การสำรวจผู้แก้ไขวิกิพีเดียโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย พ.ศ. 2554 พบว่าผู้แก้ไขส่วนใหญ่ (90%) เป็นเพศชาย ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย (Gender bias on Wikipedia) หมายถึง บทวิจารณ์ของสารานุกรมออนไลน์ โดยเฉพาะในเว็บไซต์ภาษาอังกฤษ ว่าเนื้อหาจำนวนมากมีธรรมชาติที่ลำเอียง เป็นเหตุจากการที่อาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ความที่ผู้แก้ไขวิกิพีเดียเป็นเพศชายเป็นหนึ่งในบทวิจารณ์ของวิกิพีเดียที่พบได้บ่อยที่สุด และเป็นส่วนหนึ่งที่นำไปสู่บทวิจารณ์ทั่วไปเกี่ยวกับความลำเอียงอย่างเป็นระบบในวิกิพีเดีย วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับผู้หญิงหรือหัวข้อที่มีความสำคัญต่อผู้หญิงจำนวนน้อยกว่า มูลนิธิวิกิมีเดีย ผู้ดำเนินการวิกิพีเดียเห็นด้วยกับบทวิจารณ์เหล่านี้และมีความพยายามที่จะเพิ่มจำนวนผู้แก้ไขเพศหญิงในวิกิพีเดี.

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยมินนิโซตามหาวิทยาลัยสหประชาชาติมูลนิธิวิกิมีเดียมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกาวอตยูซีอิสวอตยูเก็ตวิกิพีเดียวิกิพีเดียภาษาอังกฤษสะเต็มศึกษาสารานุกรมบริตานิกาส่วนต่อประสานกับผู้ใช้อีดิทอะธอนข้อมูลเมทาซู การ์ดเนอร์แล็ปท็อปไฮเปอร์ลิงก์เดอะการ์เดียนเดอะนิวยอร์กไทมส์

  2. ความเท่าเทียมทางเพศ
  3. ลัทธิกีดกันทางเพศ

ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์

ษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ หรือ ภาษาศาสตร์เชิงคำนวณ (computational linguistics) เป็นสหวิทยาการที่ว่าด้วยการสร้างแบบจำลองเชิงตรรกะของภาษาธรรมชาติ จากมุมมองในเชิงคำนวณ แบบจำลองนี้ ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในสาขาในสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์ เดิมทีเดียว นักภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์มักจะเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language) แต่งานวิจัยในช่วงหลัง ได้แสดงให้เห็นว่า ภาษานั้นซับซ้อนเกินกว่าที่คาดคิดไว้ ดังนั้นกลุ่มศึกษาภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์จึงกลายสภาพเป็นกลุ่มสหวิทยาการไป โดยจะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งคนที่เป็นนักภาษาศาสตร์​ (นั่นคือ ฝึกฝนมาทางด้านภาษาศาสตร์โดยเฉพาะ) ส่วนคนอื่น ๆ อาจจะเชี่ยวชาญในสาขา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ จิตวิทยาปริชาน (en:cognitive psychology) ตรรกวิทยา และอื่น.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์

มหาวิทยาลัยมินนิโซตา

ัณฑ์ศิลปะไวส์แมน ในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมินนิโซตา ทวินซิตีส์ (University of Minnesota, Twin Cities) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยมินนิโซตา

มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ

มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ (United Nations University) หรือ ยูเอ็นยู ก่อตั้งเมื่อ..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและมหาวิทยาลัยสหประชาชาติ

มูลนิธิวิกิมีเดีย

ริษัทมูลนิธิวิกิมีเดีย (Wikimedia Foundation, Inc.; WMF) หรือ วิกิมีเดีย เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรและองค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักจากการเข้าร่วมในขบวนการวิกิมีเดีย และเป็นเจ้าของชื่อโดเมนอินเทอร์เน็ตของโครงการส่วนใหญ่ของขบวนการ เช่น วิกิพีเดีย มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย

มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา

มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (National Science Foundation ย่อว่า NSF) เป็นหน่วยงานรัฐบาลของสหรัฐอเมริกาที่สนับสนุนงานวิจัยและงานด้านการศึกษา สำหรับองค์กรหรือสถานศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ โดยในปี..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา

วอตยูซีอิสวอตยูเก็ต

วอตยูซีอิสวอตยูเก็ต (what you see is what you get) หรือ วิซีวิก (WYSIWYG)) เป็นคำศัพท์เฉพาะในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึงระบบเนื้อหาระหว่างการแก้ไข และเนื้อหาเมื่อแก้ไขเสร็จแล้วมีหน้าตาและรูปแบบเดียวกัน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมตระกูลโปรแกรมประมวลผลคำ หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บเพจ เป็นต้น.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและวอตยูซีอิสวอตยูเก็ต

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและวิกิพีเดีย

วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ

วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอังกฤษ เริ่มสร้างเมื่อ 15 มกราคม..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ

สะเต็มศึกษา

สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education: STEM Education) คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ดังนั้น สะเต็มศึกษาจึงไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นการต่อยอดหลักสูตรโดยบูรณาการการเรียนรู้วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง และการประกอบอาชีพในอนาคต สะเต็มศึกษาจึงส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมหรือโครงงานที่มุ่งแก้ไขปัญหาที่พบเห็นในชีวิตจริง เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนที่มีประสบการณ์ในการทำกิจกรรมหรือโครงงานสะเต็มจะมีความพร้อมที่จะไปปฏิบัติงานที่ต้องใช้องค์ความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในภาคการผลิต และการบริการที่สำคัญต่ออนาคตของประเทศ เช่น การเกษตร อุตสาหกรรม การพลังงาน การจัดการสิ่งแวดล้อมการบริการสุขภาพ การคมนาคม และลอจิสติกส์ เป็นต้น อนึ่ง การทำกิจกรรมหรือโครงงานสะเต็มไม่ได้จำกัดอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี แต่สามารถนำความรู้ในวิชาอื่น เช่น ศิลปะ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา พลศึกษา เป็นต้น มาบูรณาการได้อีกด้วย หมวดหมู่:นโยบายการศึกษา หมวดหมู่:การศึกษา.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและสะเต็มศึกษา

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและสารานุกรมบริตานิกา

ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้

วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface, UI) หมายถึง สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้ใช้ในการกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องจักร เครื่องกล อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าใดๆ หรือระบบที่มีความซับซ้อนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งๆนั้นทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สามารถจัดได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ได้แก.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและส่วนต่อประสานกับผู้ใช้

อีดิทอะธอน

อีดิทอะธอน ''72 โอรัสโกงโรดิง'' ในเม็กซิโกซิตี เป็นอีเวนต์ที่ยาวนานที่สุดเท่าที่เคยมีมา โดยได้รับการยอมรับจากบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ ผู้เข้าร่วมประชุมหญิงในปี ค.ศ.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและอีดิทอะธอน

ข้อมูลเมทา

้อมูลเมทา(metadata) หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ถูกจัดทำขึ้นอย่างมีโครงสร้างเพื่อใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ ในด้านลักษณะเนื้อหา และบริบทที่เกี่ยวข้องซึ่งได้แก่ลักษณะทางกายภาพและการผลิตทรัพยากรสารสนเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ (Relation) ระหว่างองค์ประกอบที่ใช้ในการบรรยายทรัพยากรสารสนเทศ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองการทำงาน คือ การสืบค้น และการบริหารจัดการ ซึ่งประกอบไปด้วยการกำหนดสิทธิในการใช้ การกำหนดความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การสงวนรักษ.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและข้อมูลเมทา

ซู การ์ดเนอร์

ซู การ์ดเนอร์ กับ เมียร์ ชีทริท ในการประชุมวิกิเมเนีย 2011 ที่ไฮฟา ซู การ์ดเนอร์ (Sue Gardner) เกิดวันที่ 11 พฤษภาคม..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและซู การ์ดเนอร์

แล็ปท็อป

แล็ปท็อป คีย์บอร์ดของแล็ปท็อป จะมีลักษณะที่ต่างจากคีย์บอร์ดทั่วไป แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (laptop computer) หรือเรียกย่อว่า แล็ปท็อป หรือ โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ถูกออกแบบมาให้มีขนาดเล็ก สามารถขนย้ายหรือพกพาได้สะดวก โดยปกติจะมีน้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 1-3 กก.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและแล็ปท็อป

ไฮเปอร์ลิงก์

การเชื่อมโยงหลายมิติ หรือ ไฮเปอร์ลิงก์ (hyperlink) นิยมเรียกโดยย่อว่า ลิงก์ (link) คือคำหรือวลีต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในเอกสารข้อความ ใช้สำหรับเปิดเอกสารอื่นที่เชื่อมโยงด้วยวิธีการคลิกลงบนคำหรือวลีนั้น โดยเฉพาะกับเว็บเพจซึ่งจะทำงานบนเว็บเบราว์เซอร์ ข้อความที่เป็นลิงก์มักจะปรากฏเป็นสีหรือรูปแบบที่โดดเด่นกว่าข้อความรอบข้าง ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถคลิกบนลิงก์เพื่อเปลี่ยนหน้าไปยังเว็บเพจที่กำหนดไว้ แทนที่จะพิมพ์ในแถบที่อยู่ของเว็บเบราว์เซอร์โดยตรง ไฮเปอร์ลิงก์สามารถใช้เป็นการอ้างอิงภายในเอกสารข้อความหลายมิติ นอกจากนี้การคลิกบนลิงก์อาจเป็นการเรียกใช้งานสคริปต์ที่เขียนไว้โดยผู้พัฒนาเว็บก็ได้.

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและไฮเปอร์ลิงก์

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและเดอะการ์เดียน

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ดู ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดียและเดอะนิวยอร์กไทมส์

ดูเพิ่มเติม

ความเท่าเทียมทางเพศ

ลัทธิกีดกันทางเพศ