สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: รัฐภาคย์ วิไลโรจน์วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์คริสต์มาสคริสต์มาส (พรรณไม้)คริสต์มาสอีฟต้นคริสต์มาสประเทศออสเตรเลียเกาะคริสต์มาสXmas
รัฐภาคย์ วิไลโรจน์
รัฐภาคย์ วิไลโรจน์ ชื่อเล่น ฟีม (14 เมษายน พ.ศ. 2531 -) นักแข่งมอเตอร์ไซค์ทางเรียบชาวไทย ที่ลงแข่งขันรถจักรยานยนต์ชิงแชมป์โลกรุ่น GP 250 รัฐภาคย์ วิไลโรจน์ เกิดที่อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรชายคนโตของ คริสมาส วิไลโรจน์ อดีตนักแข่งรถจักรยานยนต์ทางเรียบ จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนชลราษฎรอำรุง และได้รับทุนศึกษาต่อจากมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต รัฐภาคย์มีน้องชายที่เป็นนักแข่งรถเช่นกัน ชื่อ รัฐพงษ์ วิไลโรจน์ (เกิด พ.ศ.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และรัฐภาคย์ วิไลโรจน์
วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์
นาคริสต์ตะวันออกถือว่า "พระคริสต์แสดงองค์" หมายถึง เหตุการณ์ที่พระกุมารเยซูทรงรับการนมัสการของโหราจารย์ ภาพวาดโดย บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูรีโย วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ (Epiphany of the Lord) หมายถึง วันสมโภชที่กำหนดขึ้นเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ที่พระเยซู (ซึ่งคริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าเป็นพระเป็นเจ้า) ได้มาปรากฏพระองค์ต่อมนุษย์ คริสตจักรต่าง ๆ ตีความเหตุการณ์นี้แตกต่างกันไป โดยศาสนาคริสต์ตะวันออกในสมัยแรกถือว่า “พระคริสต์แสดงองค์” หมายถึงสองเหตุการณ์คือการประสูติของพระเยซูและการที่พระเยซูทรงรับบัพติศมา ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 4 ได้เปลี่ยนมาถือการสมโภชพระเยซูทรงรับบัพติศมาอย่างเดียว เพราะถือว่าพระเยซูแสดงองค์เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าอย่างเป็นทางการในพิธีบัพติศมานี้ ขณะที่ศาสนาคริสต์ตะวันตก “พระคริสต์แสดงองค์” หมายถึง เหตุการณ์ที่พระกุมารเยซูทรงรับการนมัสการของโหราจารย์ทั้ง 3 คนที่มาจากตะวันออก เพราะถือว่าเป็นเหตุการณ์ที่พระเป็นเจ้าได้แสดงองค์ต่อคนต่างชาติเป็นครั้งแรก โดยทั่วไปคริสตจักรจะจัดพิธีสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ในวันที่ 6 มกราคม แต่เนื่องจากคริสตจักรตะวันออกใช้ปฏิทินจูเลียน ซึ่งวันจะคลาดเคลื่อนจากปฏิทินเกรกอเรียนที่คริสตจักรตะวันตกใช้ไป 13 วัน ดังนั้นวันที่ 6 มกราคม ของคริสตจักรตะวันออกจึงตรงกับวันที่ 19 มกราคมในคริสตจักรตะวันตก ปัจจุบันคริสตจักรแห่งอังกฤษและคริสตจักรโรมันคาทอลิกในบางประเทศ เช่น ประเทศไทย ไม่ได้ยึดถือวันที่ 6 มกราคม เป็นวันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ แต่เลื่อนไปเป็นวันอาทิตย์แรกหลังวันที่ 1 มกราคมแทน.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และวันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์
คริสต์มาส
ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และคริสต์มาส
คริสต์มาส (พรรณไม้)
ริสต์มาส หรือ พอยน์เซตเทีย (Christmas star, poinesettia) ในภาษาไทยเรียก สองฤดู หรือ โพผัน เป็นไม้ดอกพื้นเมืองของอเมริกาใต้ แถบเม็กซิโก และกัวเตมาลา เข้ามาแพร่หลายในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และคริสต์มาส (พรรณไม้)
คริสต์มาสอีฟ
ริสต์มาสอีฟ (Christmas Eve) ตามวัฒนธรรมตะวันตกโดยทั่วไปคือ วันที่ 24 ธันวาคมของทุกปี ตามระบบปฏิทินสมัยใหม่ ความหมายจริงคือ เย็นแรกของวันคริสต์มาส ซึ่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึง การประสูติของพระเยซู เหตุผลที่ คริสต์มาส เริ่มต้นในตอนเย็นของวัน คริสต์มาสอีฟเพราะธรรมเนียมการนับปีของคริสเตียน วันจะเริ่มต้นเมื่อพระอาทิตย์ตกตามเรื่องราวในปฐมกาล เกิดความสว่างกับความมืด คือวันที่ 1.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และคริสต์มาสอีฟ
ต้นคริสต์มาส
ต้นคริสต์มาส ต้นคริสต์มาส ในวัฒนธรรมของชาวคริสต์ หมายถึง ต้นไม้ในสวนสวรรค์ ซึ่งอาดัมและเอวาไปหยิบผลไม้มากิน และทำบาป ไม่เชื่อฟังพระเจ้า (ปฐก.3:1-6) 6) ตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 ชาวคริสต์แสดงละครที่ หน้าวัด ถึงความหมายของคริสต์มาส และเอาต้นไม้ต้นหนึ่งไว้ตรงกลาง เพื่อประดับฉาก แสดงถึงบาปกำเนิดของอาดัมและเอวา ต้นไม้ที่ใช้เป็นต้นสน (มิใช่พรรณไม้ชื่อคริสต์มาส) เนื่องจากเป็นต้นไม้ ที่หาง่ายที่สุด ในประเทศ เหล่านั้น การแสดงละครคริสต์มาสแบบนี้ มีมาเป็นเวลาช้านานหลายร้อยปี จนถึงศตวรรษที่ 15 พระสังฆราชหลายแห่งได้ห้ามแสดง เนื่องจากการแสดงนั้น กลายเป็นการเล่นเหมือนลิเก ล้อชาวบ้าน ผู้ปกครองบ้านเมือง และศาสนา ซึ่งไม่ตรงกับบรรยากาศของการฉลอง ชาวบ้านรู้สึกเสียดาย ที่ไม่มีโอกาส ดูละครสนุกๆ แบบนั้นอีก จึงไปสนุกกันที่บ้านของตน โดยเอาต้นไม้มาไว้ที่บ้าน หลังจากนั้น ก็เริ่มมีการแขวนลูกแอปเปิ้ล ขนมและของขวัญอย่างที่เห็นอยู่ ทุกวันนี้ นอกจากนั้น ชาวเยอรมันยังมีประเพณีอีกอย่างหนึ่งคือ มีการจุดเทียนหลายเล่มเป็นรูปปิรามิด ไว้ตลอดคืนคริสต์มาส โดยมีดาวของดาวิดที่ยอดปิรามิด ซึ่งประเพณีที่จะแขวนของขวัญและขนม ก็ได้รวมกับประเพณีของชาวเยอรมนี้ มาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 โดยเอาเทียนมาไว้ที่ต้นไม้ เป็นรูปทรงปิรามิด นี่เป็นที่มาของประเพณีปัจจุบัน ที่มีการแขวนของขวัญ และไฟกะพริบไว้ที่ต้นคริสต์มาส และมีดาวของดาวิดไว้ที่สุดยอด ประเพณีนี้ เป็นที่นิยมชมชอบของชาวตะวันตกอยู่มาก แม้ว่าประเพณีการตั้งต้นคริสต์มาส มีความเป็นมาดังกล่าว ชาวคริสต์ในสมัยนี้ ก็ยังนิยมทำกันอยู่ เพราะเห็นว่า มีความหมายถึงพระเยซู ผู้เปรียบเสมือนต้นไม้แห่งชีวิต (ปฐก.2:9) ที่เขียวสดเสมอในทุกฤดูกาล ซึ่งหมายถึง นิรันดรภาพของพระเยซูเจ้า และนอกจากนั้นยังหมายถึง ความสว่างของพระองค์ เสมือนแสงเทียนที่ส่องในความมืด ทั้งยังหมายถึง ความชื่นชมยินดี และความสามัคคี ที่พระเยซูเจ้าประทานให้ เพราะต้นไม้นั้น เป็นจุดรวมของครอบครัวในเทศกาลนั้น หมวดหมู่:คริสต์มาส.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และต้นคริสต์มาส
ประเทศออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และประเทศออสเตรเลีย
เกาะคริสต์มาส
กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.
ดู คริสต์มาส (แก้ความกำกวม)และเกาะคริสต์มาส
Xmas
การโฆษณาคำว่า "Xmas" ในปี ค.ศ. 1922 Xmas (/ˈɛksməs/; หรืออาจเขียนว่า X'mas) เป็นคำย่อซึ่งใช้กันโดยทั่วไปของคำว่า "คริสต์มาส" คำว่า "-มาส" มาจากคำในภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งนำมาจากภาษาละตินอีกทีหนึ่ง หมายถึง "มิสซา" ส่วนตัวอักษร "X" ใน Xmas มาจากตัวอักษรกรีก ไค ซึ่งเป็นตัวอักษรตัวแรกของคำในภาษากรีก Χριστός ซึ่งมีความหมายว่า "คริสต์".