โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขนมปังขิง

ดัชนี ขนมปังขิง

นมขิงตำรับเมืองนูเรมเบิร์ก ข้าวไรย์ คนอบขนมขิงในราวๆค.ศ.1520 การห่อบรรจุภัณฑ์ในโรงงานผลิตขนมขิงโวล์ฟ ในเมืองนูเรมเบิร์ก ค.ศ.1959 ขนมขิงรูปหัวใจ มนุษย์ขนมขิง ขนมขิงตำรับเมืองอาคเคน บ้านขนมขิง ขนมขิงตำรับธอร์นเนอร์ คาทรินเช็น ขนมขิงรูปหัวใจของเดนมาร์ก ขนมขิงที่ใช้ทำน้ำซอส ในภาษาไทย อาจเรียก ขนมขิง ว่า ขนมปังขิง ตามความคุ้นเคย เนื่องจากแปลตรงตัวมาจากคำภาษาอังกฤษที่ว่า Ginger bread (ginger หมายถึง ขิง และ bread หมายถึง ขนมปัง แปลเป็นภาษาไทยจึงได้คำรวมว่า ขนมปังขิง) แต่ขนมขิงเองมีลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างจากขนมปังที่เรารู้จักกันทั่วไป (bread) โดยสิ้นเชิง โดยเป็นขนมอบคนละรูปแบบกับขนมปัง (bread) ขนมขิง หรือที่เรียกว่า ขนมขิงพริกไทย ขนมขิงเครื่องเทศ หรือขนมขิงน้ำผึ้ง เป็นขนมอบที่มีรูปแบบหลากหลาย และมักอบรับประทานกันโดยเฉพาะในช่วงหนึ่งเดือนก่อนเทศกาลคริสต์มาสและในเทศกาลคริสต์ม.

16 ความสัมพันธ์: กรมศิลปากรกระวานกรุงเทพมหานครกลุ่มชนเจอร์แมนิกกานพลูมนุษย์ขนมปังขิงอบเชยอีสเตอร์ผักชีจันทน์เทศขิงคริสต์มาสโบราณสถานโป๊ยกั้กเรือนขนมปังขิงเสาชิงช้า

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กระวาน

กระวาน หมายถึงพืชสองชนิดที่มีความใกล้เคียงกัน 2 สกุล คือ กระวานเทศ (สกุล Elettaria) และกระวานไทย (สกุล Amomum) ทั้งสองสกุลเป็นพืชท้องถิ่นในอินเดีย เนปาล และภูฏาน ในปัจจุบัน กัวเตมาลาเป็นแหล่งปลูกและส่งออกกระวานที่สำคัญของโลก รองลงมาคืออินเดีย กระวานทั้งสองชนิดได้แก.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและกระวาน · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ใหม่!!: ขนมปังขิงและกลุ่มชนเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กานพลู

กานพลู เป็นไม้ยืนต้น สูง 5 - 10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5 - 4 ซม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและกานพลู · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์ขนมปังขิง

มนุษย์ขนมปังขิง (gingerbread man) คือ ขนมปังขิงทำเป็นรูปเหมือนคน สืบย้อนกลับไปตั้งแต่ช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 19 ในเทพนิยายหลายเรื่องนั้น มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับมนุษย์ขนมปังขิง ที่ถูกคน หรือ สัตว์ ไล่กิน นอกจากรูปร่างในรูปแล้ว ขนมปังขิงทำเป็นรูป ผู้หญิง หรือ สัตว์ ก็เริ่มได้รับความนิยม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและมนุษย์ขนมปังขิง · ดูเพิ่มเติม »

อบเชย

อบเชย เป็นเครื่องเทศที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น อบเชยจีน อบเชยลังกา อบเชยญวน เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและอบเชย · ดูเพิ่มเติม »

อีสเตอร์

นางมารีย์ชาวมักดาลากับพระเยซูที่ฟื้นคีนพระชนม์แล้ว อีสเตอร์ หรือ วันพระเยซูคริสต์ทรงคืนพระชนม์ (Easter; Ēostre หรือ date; Pascha ปัสคา; Πάσχα, Paskha; פַּסחא Pasḥa; มาจาก פֶּסַח Pesaḥ) คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่า วันสมโภชปัสกาพระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ เป็นหนึ่งในเทศกาลที่สำคัญมากที่สุดในศาสนาคริสต์ จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองการคืนพระชนม์ของพระเยซูหลังจากที่ทรงถูกตรึงกางเขนและสิ้นพระชนม์ไปแล้วสามวัน โดยวันที่จะเปลี่ยนไปในแต่ละปีแต่กำหนดให้ทุกปีต้องจัดขึ้นในวันอาทิตย์ (เพราะเป็นวันที่ทรงถูกตรึงกางเขนตามพระคัมภีร์) เรียก วันอีสเตอร์ นอกจากนี้วันอีสเตอร์ถือเป็นวันสิ้นสุดเทศกาลมหาพรตซึ่งเป็นช่วงเวลา 40 วันที่คริสต์ศาสนิกชนถือศีลอดและสวดภาวนาเป็นพิเศษ สัปดาห์สุดท้ายของเทศกาลมหาพรตเรียกว่าสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์ วันศุกร์ของสัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์เรียกวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (หรือที่ชาวโปรเตสแตนต์เรียกวันศุกร์ประเสริฐ) เป็นวันที่พระเยซูโดนตรึงกางเขน หลังจากวันอีสเตอร์เป็นเทศกาลปัสกา (Eastertide) 50 วัน และจบเทศกาลในวันอาทิตย์สมโภชพระจิตเจ้า ประเพณีในการเฉลิมฉลองแตกต่างกันทั่วโลก แต่การตกแต่งไข่อีสเตอร์และกิจกรรมค้นหาไข่เป็นที่นิยมกันมากที่สุดในหมู่เด็ก.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและอีสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผักชี

ใบผักชี ผลแห้งของผักชีที่มักเรียกว่าเมล็ดผักชีหรือลูกผักชี ใช้เป็นเครื่องเทศ ผักชี, ผักชีลา หรือ ผักหอมป้อม เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Apiaceae ใบติดกับลำต้น มีใบย่อยเป็นจำนวนมาก ใบหยักลึกเข้าหากลางใบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมชมพู ผลมีลักษณะรี ค่อนข้างกลม แก่จัดเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล มีเมล็ด 2 เมล็ด ใช้รับประทานเป็นผัก และตกแต่งในอาหารหลายชนิด เช่น ใส่ในลาบ ก้อย แหนมสด รากผักชีใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำพริกแกง ใส่ในทอดมัน ห่อหมก น้ำจิ้ม เมล็ดใช้เป็นเครื่องเทศ ใส่ในน้ำพริกแกง สะเต๊ะ บาเยีย ข้าวหมกไก.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและผักชี · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศ

รื่องเทศสองชนิดจากผลจันทน์เทศ “เม็ดจันทน์เทศ” (เมล็ด) และ “ดอกจันทน์เทศ” (สายสีแดง) เมล็ดจันทน์เทศ ขวดใส่รกจันทน์เทศ ต้นจันทน์เทศหอมในกัว ผลจันทน์เทศในอินเดีย จันทน์เทศ เป็นเครื่องเทศที่ได้จากพืชในวงศ์ Myristicaceae สามชนิด คือจันทน์เทศสามัญหรือจันทน์เทศหอม (M. fragrans) ที่มาจากหมู่เกาะบันดาในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย หรือหมู่เกาะเครื่องเทศที่เป็นแหล่งผลิตจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีปลูกในหลายประเทศทั่วโลก เช่น เกาะปีนังในมาเลเซีย และที่แคริบเบียนโดยเฉพาะที่เกรเนดา และเกระละทางตอนใต้ของอินเดีย อีกสองชนิดที่ใช้ผลิตจันทน์เทศเช่นกันแต่มีความสำคัญน้อยกว่าคือ จันทน์เทศปาปัว (M. argentea) จากนิวกินี และจันทน์เทศบอมเบย์ (M. malabarica) จากอินเดีย ต้นจันทน์เทศมีความสำคัญสำหรับการผลิตเครื่องเทศสองอย่าง อย่างหนึ่งคือ “เม็ดจันทน์เทศ” (nutmeg) มาจากตัวเมล็ดของต้นที่มีลักษณะเป็นรูปไข่ขนาดยาวประมาณ 20 ถึง 30 มิลิเมตร (1 นิ้ว) กว้าง 15 ถึง 18 มิลิเมตร (¾ นิ้ว) และหนัก 5 ถึง 10 กรัม (¼ ถึง ½ ออนซ์) เมื่อแห้งและ “ดอกจันทน์เทศ” (mace) คือส่วนที่เป็นรกหุ้มเมล็ด เป็นเส้นสายสีออกแดงที่งอกคลุมอยู่รอบเมล็ดรอบเมล็ด เมล็ดและรกจันทน์เทศใช้ปรุงแต่งรสอาหาร ดับคาวจากเนื้อสัตว์ เครื่องเทศสองชนิดนี้ยังเป็นเครื่องเทศที่มีราคาสูงในปัจจุบัน เช่นในสหราชอาณาจักรอังกฤษเม็ดจันทน์เทศเม็ดหนึ่งตกประมาณ.50-1 ปอนด์ต่อเม็ด และ ดอกจันทน์เทศขายเป็นขวด ๆ ละประมาณ 2.50-3 ปอนด์แต่ละขวดทำมาจากเมล็ดสามสี่เมล็ด (ค.ศ. 2009) นอกจากนั้นจันทน์เทศใช้ผลิตสินค้าประเภทอื่นด้วย เช่น น้ำมันจันทน์เทศ ใช้แต่งกลิ่นสบู่ ผงซักฟอก ทำน้ำหอม ในอินโดนีเซียนำไปทำแยม เยลลี่ ลูกกวาด ในยุโรปใช้ปรุงรสในเค้กน้ำผึ้ง เค้กผลไม้ ทางภาคใต้ของไทยนำผลมาทำแช่อิ่ม หยี หรือจันทน์เทศสามรสนิดดา หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและจันทน์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

ขิง

ง เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ แทงหน่อหรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันเป็นสองแถว ใบรูปหอกเกลี้ยงๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและขิง · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

โบราณสถาน

ีย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตัวอย่างโบราณสถาน แหล่งโบราณคดี (archaeological site) เป็นสถานที่ที่ก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์หรือสถานที่ที่พบร่องรอยของกิจกรรมของมนุษย์ในอดีตที่มีคุณค่าในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและโบราณสถาน · ดูเพิ่มเติม »

โป๊ยกั้ก

ป๊ยกั้ก (八角, จีนแต้จิ๋ว: boih4 gag4) หรือ จันทน์แปดกลีบ (Star anise, star aniseed, badiane หรือ Chinese star anise) เป็นเครื่องเทศที่มีผลเป็นรูปดาว เป็นต้นไม้ขนาดเล็กไม่ผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในอาหารจีน ในอาหารอินเดีย อย่างในการัมมาซารา (Garam Masala) และในอาหารมลายู-อินโดนีเซีย โป๊ยกั้กเป็นส่วนผสมของผงเครื่องเทศทั้งห้าในการปรุงอาหารจีนแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและโป๊ยกั้ก · ดูเพิ่มเติม »

เรือนขนมปังขิง

ระที่นั่งอภิเศกดุสิต พระที่นั่งวิมานเมฆ พระตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร เรือนขนมปังขิง เป็นชื่อเรียกอาคารประเภทหนึ่ง ซึ่งได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ซึ่งแพร่เข้ามาในประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 มีการประดับตกแต่ลวดลายฉลุที่วิจิตรพิสดาร หรูหรา สวยงามเหมือนขนมปังขิง คำว่า ขนมปังขิง มาจากภาษาอังกฤษว่า "Gingerbread" ซึ่งเป็นขนมปังขิงของชาวยุโรป ซึ่งตกแต่งลวดลายสวยงาม มีลักษณะหงิกงอเป็นแง่งคล้ายขิง จึงใช้เป็นคำเรียกลวดลายทางสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ในสมัยพระนางเจ้าวิกตอเรียที่ 2 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและเรือนขนมปังขิง · ดูเพิ่มเติม »

เสาชิงช้า

งช้า เป็น สถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ใน พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย ของ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้า วัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้า ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม นอกจากนี้ ใน ประเทศไทย ยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าที่ กรุงเทพมหานคร แห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ฐานกลมประมาณ 10.50 ม. ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทา สีแดงชาด ติด สายล่อฟ้า จากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน กรมศิลปากร ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็น โบราณสถาน สำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี.

ใหม่!!: ขนมปังขิงและเสาชิงช้า · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Gingerbreadจิงเจอร์เบรดขนมขิง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »