สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: การสังเคราะห์ด้วยแสงสารประกอบอินทรีย์คริสต์ศักราชคาร์บอนไดออกไซด์ปฏิทินไอโซโทป
- กัมมันตรังสี
- การอนุรักษ์ศิลปะ
- คาร์บอน
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ใบไม้เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) เป็นกระบวนการทางชีวเคมีที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้พืช สาหร่าย และแบคทีเรียบางชนิดสามารถเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงานทางเคมีได้ สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัยพลังงานที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อการเจริญเติบโตทั้งทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ยังมีการผลิตออกซิเจน ซึ่งมีเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่มากของบรรยากาศโลกด้วย สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ เรียกว่า "phototrophs" โดยโมเลกุลที่มีความสามารถในการดูดกลืนแสงที่มีอยู่ในพืชและสิ่งมีชีวิตนี้คือ รงควัตถุ (pigment).
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและการสังเคราะห์ด้วยแสง
สารประกอบอินทรีย์
มีเทนเป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด สารประกอบอินทรีย์ หมายถึง สารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุลคาร์บอน ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบคาร์ไบน์, คาร์บอเนต, ออกไซด์ของคาร์บอนและไซยาไนด์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอน อย่างเช่น เพชรและแกรไฟต์ ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชาเคมีอย่างกว้างขวาง...
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและสารประกอบอินทรีย์
คริสต์ศักราช
ริสต์ศักราช (Anno Domini Nostri Iesu Christi Anno Domini: AD หรือ A.D. ส: คฺฤสฺตศกฺราช ป: คิตฺถสกฺกาช) เขียนย่อว.. หมายถึง ปีของพระเยซูคริสต์ โดยเริ่มนับจากปีที่เชื่อว่าพระเยซูทรงประสูติ เป็น..
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและคริสต์ศักราช
คาร์บอนไดออกไซด์
ร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) หรือ CO2 เป็นก๊าซไม่มีสี ซึ่งหากหายใจเอาก๊าซนี้เข้าไปในปริมาณมากๆ จะรู้สึกเปรี้ยวที่ปาก เกิดการระคายเคืองที่จมูกและคอ และหาจยใจไม่ออกเนื่องจากอาจเกิดการละลายของแก๊สนี้ในเมือกในอวัยวะ ก่อให้เกิดกรดคาร์บอนิกอย่างอ่อน คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่น 1.98 kg/m3 ซึ่งเป็นประมาณ 1.5 เท่าของอากาศ โมเลกุลประกอบด้วยพันธะคู่ 2 พันธะ (O.
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและคาร์บอนไดออกไซด์
ปฏิทิน
ปฏิทินโบราณของฮินดู ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะ เป็นต้น.
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและปฏิทิน
ไอโซโทป
แสดงไอโซโทปของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งสามตัว ความจริงที่ว่าแต่ละไอโซโทปมีโปรตอนเพียงหนึ่งตัว ทำให้พวกมันทั้งหมดเป็นไฮโดรเจนที่แตกต่างกัน นั่นคือ ตัวตนของไอโซโทปถูกกำหนดโดยจำนวนของนิวตรอน จากซ้ายไปขวา ไอโซโทปเป็นโปรเทียม (1H) ที่มีนิวตรอนเท่ากับศูนย์, ดิวเทอเรียม (2H) ที่มีนิวตรอนหนึ่งตัว, และ ทริเทียม (3H) ที่มีสองนิวตรอน ไอโซโทป (isotope) เป็นความแตกต่างขององค์ประกอบทางเคมีที่เฉพาะเจาะจงของธาตุนั้นซึ่งจะแตกต่างกันในจำนวนของนิวตรอน นั่นคืออะตอมทั้งหลายของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีจำนวนโปรตอนหรือเลขอะตอมเท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ส่งผลให้เลขมวล(โปรตอน+นิวตรอน)ต่างกันด้วย และเรียกเป็นไอโซโทปของธาตุนั้น.
ดู การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีและไอโซโทป
ดูเพิ่มเติม
กัมมันตรังสี
- กากกัมมันตรังสี
- การจับยึดอิเล็กตรอน
- การปล่อยโพซิตรอน
- การสลายให้อนุภาคบีตา
- การสลายให้อนุภาคแอลฟา
- การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี
- การแบ่งแยกนิวเคลียส
- การแปรนิวเคลียส
- การแปลงภายใน
- ครึ่งชีวิต
- นิวไคลด์กัมมันตรังสี
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์
- ฟิชชันเกิดเอง
- มวลวิกฤต
- รังสีก่อไอออน
- รังสีแกมมา
- สารก่อกลายพันธุ์
- หมู่เกาะแห่งเสถียรภาพ
- ห่วงโซ่การสลาย
- อนุภาคบีตา
- อนุภาคแอลฟา
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- เกรย์ (หน่วยวัด)
การอนุรักษ์ศิลปะ
- การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี
- กาลานุกรมต้นไม้
- มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
คาร์บอน
- การกลายเป็นกรดของมหาสมุทร
- การตรึงคาร์บอน
- การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี
- คาร์บอน
- วงจรซีเอ็นโอ
- เขม่าดำ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Carbon datingRadiocarbon datingการหาอายุธาตุกัมมันตภาพรังสีคาร์บอน