โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561

ดัชนี การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561

การประท้วงในประเทศอิหร่าน..

7 ความสัมพันธ์: การจลาจลการดื้อแพ่งการเดินขบวนลอสแอนเจลิสไทมส์อะลี คอเมเนอีเดอะการ์เดียนเตหะราน

การจลาจล

การจุดไฟเผารถยนต์ระหว่างการจลาจล การจลาจล เป็นรูปแบบหนึ่งของการก่อความไม่สงบต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทรัพย์สินหรือประชาชน ซึ่งมีลักษณะเป็นการปรากฏตัวออกมาทันใดของกลุ่มคนที่ไม่มีการจัดระเบียบและหุนหันพลันแล่นที่จะใช้ความรุนแรง ถึงแม้ว่าอาจมีคนหรือกลุ่มคนพยายามที่จะนำหรือควบคุมการจลาจล แต่ส่วนใหญ่แล้วการจลาจลมักไร้ระเบียบเป็นธรรมดาและแสดงพฤติกรรมฝูง การจลาจลมักเกิดขึ้นเป็นปฏิกิรยาจากการได้รับความเดือดร้อนหรือการแสดงความไม่เห็นด้วย ในประวัติศาสตร์ การจลาจลเกิดขึ้นเนื่องจากได้รับค่าแรงต่ำหรือคุณภาพชีวิต รัฐบาล การกดขี่ ภาษีหรือการเกณฑ์ทหาร ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มเชื้อชาติ การขาดแคลนอาหารหรือความขัดแย้งทางศาสนา ผลจากการแข่งขันกีฬาหรือความไม่พอใจกับช่องทางของกฎหมายผ่านการแสดงความคับข้องใจ การจลาจลมักเกี่ยวข้องกับการทำลายทรัพย์สินของรัฐหรือเอกชน ทรัพย์สินที่ตกเป็นเป้าหมายโดยเฉพาะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสาเหตุของการจลาจลและการโน้มเอียงทางความคิด เป้าหมายสามารถรวมไปถึงร้านค้า รถยนต์ ร้านอาหาร สถาบันของรัฐหรือสิ่งก่อสร้างทางศาสนา ผู้ก่อการจลาจลจำนวนหนึ่งค่อนข้างมีความชำนาญในการทำความเข้าใจและการสกัดยุทธวิธีที่ตำรวจใช้ในสถานการณ์จลาจล คู่มือสำหรับการจลาจลให้ประสบความสำเร็จสามารถเข้าถึงได้บนอินเทอร์เน็ต คู่มือเหล่านี้ยังกระตุ้นให้ผู้ก่อการจลาจลนำสื่อเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากพบว่าการมีกล้องไปด้วยจะมีความปลอดภัยและได้รับความสนใจมากกว่า พลเมืองที่มีกล้องวิดีโอยังสามารถมีผลกระทบต่อทั้งผู้ก่อการจลาจลและตำรวจได้ เจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนสวมเกราะลำตัวและโล่ การรับมือกับการจลาจลมักจะเป็นงานยากของกรมตำรวจบ่อยครั้ง และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกส่งตัวไปรับมือกับการจลาจลมักจะถือโล่ยุทธวิธีและลูกซองปราบจลาจล ส่วนใหญ่เนื่องมาจากการกระจายที่กว้างกว่าของล้ากล้องสั้น ตำรวจยังอาจใช้แก๊สน้ำตาหรือแก๊สซีเอสเพื่อหยุดผู้ก่อการจลาจล ตำรวจปราบจลาจลส่วนใหญ่ใช้วิธีอาวุธไม่ร้ายแรงในการควบคุมฝูงชน อย่างเช่น ปืนลูกซองที่ยิงกระสุนยางและกระสุนถุงตะกั่วเพื่อทำให้ได้รับบาดเจ็บหรือทำให้ผู้ก่อการจลาจลง่ายต่อการจับกุม.

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และการจลาจล · ดูเพิ่มเติม »

การดื้อแพ่ง

การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และการดื้อแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

การเดินขบวน

งผ่านคบเพลิงโอลิมปิก ค.ศ. 2008 การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออก การเคลื่อนไหวของขบวนการสิทธิพลเมืองอเมริกันใน วอชิงตัน โดยเดินแถวไปสู่อนุสาวรีย์วอชิงตัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1963 การปฏิวัติออเรนจ์ ผู้เดินขบวนจัดตั้งค่ายพักแรมเพื่อเดินขบวนกันอย่างยืดเยื้อ การเดินขบวนเพื่อสนับสนุน ข้อตกลงเจนีวา (Geneva Accord) เมื่อ ค.ศ. 2004 การประท้วงการเลือกตั้งในอิหร่าน พ.ศ. 2552 ประชาชนชาวไต้หวันปิดล้อมทำเนียบประธานาธิบดีที่กรุงไทเปเพื่อกดดันให้ เฉิน สุยเปี่ยน ประธานาธิบดีจีนลาออก การเดินขบวนหน้ารัฐสภาอังกฤษ การเดินขบวน (demonstration) เป็นรูปแบบหนึ่งของการเคลื่อนไหวโดยปราศจากความรุนแรง (nonviolent) ของกลุ่มบุคคลเพื่อประโยชน์ทางการเมืองหรืออื่น ๆ ซึ่งปรกติมักมีการเดินรณรงค์เป็นขบวน และมีการชุมนุมพูดจาปราศรัย และบางทีก็อาจมีการปิดล้อม (blockade) และการยึดพื้นที่ประท้วง (sit-in) ด้วย ซึ่งการเดินขบวนจัดเป็นกิจกรรมหนึ่งในลัทธิกิจกรรมนิยม (activism) อันเป็นความนิยมกระทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายทางการเมืองของกลุ่มตน การเดินขบวนอาจมีขึ้นเพื่อแสดงมุมมองเกี่ยวกับประเด็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นมุมมองด้านบวกก็ดี ด้านลบก็ดี และประเด็นเช่นว่ามักเกี่ยวกับการร้องทุกข์หรือความอยุติธรรมทางสังคม แต่บางครั้งก็เกี่ยวกับเศรษฐกิจ โดยผู้เดินขบวนมักเห็นว่ากิจกรรมของตนจะประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นถ้ามีผู้ร่วมกิจกรรมมากขึ้น ในภาษาอังกฤษ คำ "demonstration" เพิ่งเริ่มใช้ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพื่อแทนที่ "monster meeting" อันหมายความว่า "การชุนนุมของอมนุษย์" ซึ่งคำ "demonstration" นั้นบัญญัติขึ้นโดยกลุ่มผู้ประท้วงในไอร์แลนด์ที่ได้รับอิทธิพลในการชุมนุมจากนักการเมือง แดเนียล โอคอนเนล (Daniel O'Connell) Oxford English Dictionary.

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และการเดินขบวน · ดูเพิ่มเติม »

ลอสแอนเจลิสไทมส์

ลอสแอนเจลิสไทมส์ (Los Angeles Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ตีพิมพ์ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และลอสแอนเจลิสไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

อะลี คอเมเนอี

อะลี คอเมเนอี (Ali Khamenei, سید علی حسینی خامنه‌ای; เกิด 19 เมษายน 1939) เป็นผู้นำสูงสุดอิหร่านคนที่ 2 และคนปัจจุบัน หลังจากรูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ซึ่งเป็นผู้นำการปฏิวัติอิหร่านได้เสียชีวิตลง อะลี คอเมเนอี ถูกเลือกให้เป็นผู้นำสูงสุดคนใหม่โดยสภาผู้ชำนาญการในวันที่ 4 มิถุนายน 1989 เมื่ออายุ 50 ปี คอเมเนอียังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งอิหร่านระหว่างปี 1981 ถึงปี 1989 ในปี 2012, 2013 และ 2014 ฟอบส์ จัดให้เขาเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลก อันดับที่ 21, 23 และ 19 ตามลำดั.

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และอะลี คอเมเนอี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และเดอะการ์เดียน · ดูเพิ่มเติม »

เตหะราน

ตหะราน (تهران; Tehran, Teheran) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิหร่าน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในแถบประเทศตะวันออกกลาง ประชากรในเมือง 7,160,094 และในเขตนครหลวงหรือเมโทร 14 ล้านคนเศษ เตหะรานนอกจากจะเป็นเมืองหลวงแล้ว ยังเป็นเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ เช่น อุตสาหกรรมน้ำมัน อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ฯลฯ เตหะรานยังเป็นเมืองศูนย์กลางธุรกิจ การบินพาณิชย์ ในภูมิภาคตะวันออกกลางอีกด้วย เตหะรานในภาษาเปอร์เซียแปลว่า อ้อมเขาอันอบอุ่น ซึ่งหมายถึงชาวเมืองที่อาศัยอยู่อย่างสงบและมีสันติสุขภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560–2561และเตหะราน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การประท้วงในประเทศอิหร่าน พ.ศ. 2560

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »