เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การประทับฟ้อง

ดัชนี การประทับฟ้อง

thumb การประทับฟ้อง (acceptance หรือ admission) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "รับฟ้องไว้พิจารณาต่อไป" กล่าวคือ เป็นการที่ศาลมีคำสั่งให้รับคำฟ้องไว้พิจารณา หลังจากที่ศาลพิเคราะห์แล้ว ซึ่งอาจจะโดยไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ลงความเห็นว่า คดีที่ฟ้องนั้นมีมูลพอที่จะว่ากล่าวตัดสินให้ได้ คำว่า "ประทับฟ้อง" ในภาษาไทยนั้น มีเบื้องหลังมาจากวิธีพิจารณาคดีตามกฎหมายไทยแต่โบราณ คือ พระธรรมศาสตร์ หรือที่ในสมัยต่อมาได้รับการประชุมเข้าเป็น ประชุมกฎหมายรัชกาลที่ 1 ซึ่งมาตรา 1 แห่งพระธรรมนูญ ในประชุมกฎหมายดังกล่าว บัญญัติว่าราชบัณฑิตยสถาน, 2553: 58.

สารบัญ

  1. 9 ความสัมพันธ์: พระธรรมศาสตร์พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542กฎหมายตราสามดวงกระสือกระหังศาลสำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะกละคำสั่งศาล

พระธรรมศาสตร์

ระธรรมศาสตร์ หรือ มนูธรรมศาสตร์ ถือเป็นคัมภีร์กฎหมายเก่าแก่ของอินเดียโบราณ ตามแนวคิดของฮินดู ทั้งยังถือเป็นคัมภีร์กฎหมายดังเดิมที่ไทยเรายึดถือมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยผ่านคัมภีร์ภาษามอญอีกทอดหนึ่ง.

ดู การประทับฟ้องและพระธรรมศาสตร์

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

หน้าปกพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ดู การประทับฟ้องและพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ.

ดู การประทับฟ้องและกฎหมายตราสามดวง

กระสือ

กระสือ กระสือ เป็นชื่อผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้หญิงและชอบกินของโสโครก คู่กับ "กระหัง" ซึ่งเข้าสิงในตัวผู้.

ดู การประทับฟ้องและกระสือ

กระหัง

กระหัง หรืออีกชื่อหนึ่งเรียกว่า กระหาง เป็นผีตามความเชื่อของคนไทย เป็นผีผู้ชาย คู่กับผีกระสือ ซึ่งเป็นผู้หญิง เชื่อกันว่าผู้ที่เป็นผีกระหังนั้น จะเป็นผู้ที่เล่นไสยศาสตร์ เมื่ออาคมแกร่งกล้าไม่สามารถควบคุมได้ก็จะเข้าตัว กลายเป็นผีกระหังไป คติความเชื่อเรื่องผีกระหังมีขึ้นเมื่อใดไม่เป็นที่ทราบ และไม่ปรากฏในพระอัยการลักษณะรับฟ้องในกฎหมายตราสามดวง ผีกระหัง จะบินได้ในเวลากลางคืน จะใช้กระด้งฝัดข้าวติดกับแขนแทนปีก และใช้สากตำข้าวหรือสากกระเบือผูกติดกับขา แทนหาง หรือขา ออกหากินของโสโครก เช่นเดียวกับ ผีกระสือ หรือผีโพง.

ดู การประทับฟ้องและกระหัง

ศาล

ล เป็นองค์กรสาธารณะที่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับพลเมือง แรงงาน กิจการ และอาชญากรรมภายใต้กฎหมาย ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายพลเมือง ศาลนับว่าเป็นทางออกของข้อพิพาทต่างๆ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ทุกๆ คนมีสิทธิ์ที่จะนำข้อกล่าวหามาใช้ในศาลได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ถูกกล่าวหาก็มีสิทธิ์ที่จะแก้ต่างในศาลได้เช่นกัน.

ดู การประทับฟ้องและศาล

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ดู การประทับฟ้องและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

จะกละ

กละ เป็นผีชนิดหนึ่งของประเทศไทย มีลักษณะคล้ายแมวป่า เป็นผีที่หมอผีเลี้ยงเอาไว้ เพื่อใช้ในการทำร้ายศัตรูหรือคู่อริ ทางภาคใต้เรียกกันว่า ผีล้วง ลักษณะโดยทั่วไปจะเหมือนกับแมวบ้านทุกประการ แต่ขนจะมีสีดำสนิทกระด้างไม่มีเงา ขนจะทวนไปด้านหน้าฟูฟ่อง ดวงตาสีแดงเลือ.

ดู การประทับฟ้องและจะกละ

คำสั่งศาล

ำสั่งศาล (court order หรือ court ruling) เป็นคำประกาศอย่างเป็นทางการของผู้พิพากษาหรือองค์คณะผู้พิพากษา ที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณีในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การอุทธรณ์ การฎีกา หรือกระบวนการอื่น ๆ ในทางยุติธรรม โดยกำหนดให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดกระทำการหรืองดเว้นกระทำการใด ๆ ตามที่ศาลสั่ง ซึ่งในบางท้องที่ในโลกนี้ คำสั่งศาลต้องมีการลงลายมือชื่อของผู้พิพากษาที่สั่ง มีการประทับตราประจำตำแหน่งของเขา และอาจต้องประกาศต่อสาธารณะหรือลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ราชการ เช่น ราชกิจจานุเบกษา ด้ว.

ดู การประทับฟ้องและคำสั่งศาล

หรือที่รู้จักกันในชื่อ การรับฟ้องรับฟ้อง