สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)กัปปิยะภิกษุราชบัณฑิตวัดราชโอรสารามราชวรวิหารอาบัติ
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)
ระมหาโพธิวงศาจารย์ นามเดิม ทองดี สุรเดช ฉายา สุรเตโช เป็นราชบัณฑิต พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.
ดู กัปปิยการกและพระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)
กัปปิยะ
กัปปิยะ หรือ กัปปิยภัณฑ์ แปลว่า เหมาะสม, สมควร หมายถึงสิ่งของเครื่องใช้ที่สมควรแก่สมณะคือภิกษุสามเณร เป็นสิ่งของที่ภิกษุสามเณรบริโภคใช้สอยได้ ไม่ผิดพระวินัย เรียกเต็มว่า กัปปิยภัณฑ์ ได้แก่ ปัจจัย ๔ คือ ผ้า อาหาร ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค สิ่งของที่ภิกษุสามเณรไม่ควรจะบริโภคใช้สอยหรือบริโภคใช้สอยไม่ได้ เช่น เสื้อ กางเกง เครื่องประดับ เป็นต้น เรียกว่า อกัปปิยะ หรือ อกัปปิยภัณฑ์ ปัจจัยบางอย่างที่เป็นอกัปปิยะนิยมทำให้เป็นกัปปิยะเสียก่อนจึงถวายพระ เช่น ผลไม้ที่มีเปลือกหนา นิยมปอกหรือใช้มีดใช้เล็บกรีดให้เป็นรอยเสียก่อน ทำดังนี้เรียกว่า "ทำกัปปิยะ" เรียกผู้ทำกัปปิยะนั้นว่า กัปปิยการก.
ภิกษุ
กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.
ราชบัณฑิต
ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาก่อนการสร้างกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อวัดจอมทอง ต่อมาพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสถาปนาวัดจอมทองขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม เนื่องจากเมื่อครั้งที่ทรงยกทัพไปสกัดทัพพม่าที่ด่านเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรีใน พ.ศ.
ดู กัปปิยการกและวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
อาบัติ
อาบัติ แปลว่า การต้อง, การล่วงละเมิด หมายถึงโทษที่เกิดจาการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ ใช้เรียกความผิดทางวินัยของพระภิกษุว่า ต้องอาบัติ อาบัติ มี 7 อย่าง แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ.