สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2548กรมศุลกากรกัปตันภาษามลายูภาษาไทยภาษาเปอร์เซียทหารเรือต้นกลต้นหนเรือรบ
- การขนส่งทางน้ำ
- คำศัพท์การเดินเรือ
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
กรมศุลกากร
"หอรัษฎากรพิพัฒน์" ในพระบรมมหาราชวัง ปัจจุบัันปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรมศุลกากร (The Customs Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.
กัปตัน
กัปตัน อาจหมายถึง.
ภาษามลายู
ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ.
ภาษาไทย
ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.
ภาษาเปอร์เซีย
ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.
ทหารเรือ
ทหารเรือชาวจีน ทหารเรือ (Navy) เป็นทหารที่ทำการรบโดยใช้เรือ การเรียงลำดับอาวุโสของทหาร 3 เหล่าทัพ ถ้าเป็นแบบสหราชอาณาจักร จะเรียงจาก ทหารเรือ ทหารอากาศ ทหารบก เพราะเป็นมหาอำนาจทางทะเลมาก่อน ทหารเรือจึงเป็นพี่ใหญ่ ทหารเรือ จะมีเรือหลากหลายชนิด ในกองทัพ เช่น เรือดำน้ำ เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือประจัญบาน เป็นต้น.
ต้นกล
ต้นกล คือพลประจำเรือที่มีวุฒิบัตรรับรองให้รับผิดชอบงานวิศวกรรมบนเรือ ทั้งใช้งานและการบำรุงรักษาเครื่องยนต์ ตลอดจนอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมทั้งเรือ นอกจากนี้ ต้นเรือยังมีหน้าที่ในการพิจารณาน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่น ตลอดจนวัสดุสิ้นเปลืองอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเดินทาง ดูแลวัสดุคงคลังสำหรับอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องเก็บสำรอง ดูแลการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่น เตรียมพร้อมห้องเครื่องยนต์สำหรับการตรวจสอบ ดูแลการบำรุงรักษาส่วนสำคัญระหว่างการเดินเรือ และรับผิดชอบห้องเครื่องยนต์ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ต้นกลของกองทัพเรือไทยคือนายทหารพรรคกลิน หมวดหมู่:พลประจำเรือ.
ต้นหน
ต้นหนเรือกำลังอ่านแผนที่ ต้นหน คือ เจ้าหน้าที่ชี้ทิศทางเดินเรือทะเลหรือเดินอากาศยาน มีหน้าที่เบื้องต้นในการอยู่ประจำเรือทะเลหรืออากาศยานเพื่อหาตำแหน่งของยานพาหนะตลอดเวลา กับทั้งวางแผนการเดินทาง และให้คำแนะนำแก่ผู้บังคับการเรือหรือผู้บังคับการอากาศยาน เกี่ยวกับเวลาถึงที่หมายโดยประมาณระหว่างการเดินทางและให้หลีกเลี่ยงการใช้เส้นทางอันตราย นอกจากนี้ ต้นหนยังมีหน้าที่ี่ดูแลรักษาแผนที่สมุทร วารสารการเดินเรือ อุปกรณ์การเดินเรือ รวมตลอดถึงอุปกรณ์อื่นทางอุตุนิยมวิทยาและอุปกรณ์สื่อสารทั้งปวง สำหรับในกองทัพอากาศในปัจจุบัน ต้นหนมักจะได้รับหน้าที่ระบบอาวุธและบังคับร่วมขึ้นอยู่กับชนิด, แบบและรุ่นของเครื่องบิน สำหรับกองทัพเรือไทย ต้นหนเรือคือนายทหารสังกัดพรรคนาวิน ส่วนยศนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของเรือที่ประจำการ คำ "ต้นหน" ยังเป็นคำโบราณมีความหมายว่า คนนำทาง.
เรือรบ
เรือรบในศตวรรษที่ 17 เรือรบ (Warship) คือเรือที่ถูกสร้างมาสำหรับใช้ในการสงคราม เรือรบนั้นจะถูกสร้างให้แตกต่างจากเรือสินค้าอย่างสิ้นเชิง โดยออกแบบมาให้บรรทุกอาวุธ และสามารถทนต่อการยิงของลูกกระสุนของฝ่ายตรงข้ามได้ดี เรือรบถูกใช้มากในสงครามโลกครั้งที่สอง และพัฒนาขึ้นมากจากแต่ก่อน เรือรบอาจจะแบ่งได้หลายลักษณะตามการใช้งาน โดยมีวิวัฒนาการตามรูปแบบของสงครามทางเรือที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย กล่าวคือในยุคสมัยแรกเรือรบ มีหน้าที่เพียงบรรทุกทหาร เสบียง อาวุธยุทโธปกรณ์ เพื่อนำไปส่งอีกที่หนึ่ง แล้วจึงทำการรบกันบนบกเท่านั้น เช่นเรือแกลเลย์ของกรีกในยุคโบราณ ต่อมาได้มีการติดอาวุธไปกับเรือ คือ ปืนใหญ่ชนิดบรรจุท้าย ทำให้เกิดยุทธนาวีหรือการรบกันกลางทะเลขึ้นมา โดยมีอาวุธปืนเป็นปัจจัยสำคัญในการรบ ในสมัยศตวรรษที่ 16 การเดินเรือด้วยเรือใบมีความสำคัญมาก เทคโนโลยีการต่อเรือสมัยนั้นสามารถต่อเรือที่มีขนาดใหญ่พอที่จะใช้เดินทางข้ามมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ไพศาลได้ สำหรับเรือรบของประเทศไทยนั้นจะมีการเรียกว่า เรือหลวง (รล.) มาจาก เรือของในหลวง โดยจะมีหลักการตั้งชื่อตามการใช้งาน และประเภทของเรือ เช่น เรือดำน้ำ ผู้มีอิทธิฤทธิ์ในการดำน้ำ เรือพิฆาต พระมหากษัตริย์ เรือทุ่นระเบิด สมรภูมิที่สำคัญ เรือเร็วโจมตี ชื่อเรือโบราณ เรือฟริเกตต์ แม่น้ำสำคัญ เรือช่วยรบ ชื่อเกาะ รบ หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ์ หมวดหมู่:เรือรบ.