โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กวาง

ดัชนี กวาง

กวางเรนเดียร์ หรือกวางแคริบู (''Rangifer tarandus'') ซึ่งเป็นกวางที่มีขนาดใหญ่พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกทางเหนือ กวาง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ (อันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง) ที่จัดอยู่ในวงศ์ Cervidae มีลักษณะขนยาวหยาบสีน้ำตาล ตัวผู้มีเขาเป็นแขนง ผลัดเขาปีละครั้ง ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและไม่มีเขา ลักษณะเขาตัน ไม่กลวง เป็นเกลียว บางชนิดอาจแตกแขนงได้มากเหมือนกิ่งไม้ ไม่มีถุงน้ำดี ชอบอยู่ตามลำพังตัวเดียวยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ กินใบไม้อ่อน หญ้าอ่อน.

40 ความสัมพันธ์: ชื่อสามัญชนิดย่อยพ.ศ. 2363พ.ศ. 2481กระจงกวางบึงกวางรูซากวางผากวางดาวกวางคุณพ่อดาวีดกวางซีกากวางป่ากวางแฟลโลว์กวางแดงกวางเรนเดียร์กวางเอลก์การสูญพันธุ์การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์การตั้งชื่อทวินามละองละมั่งวิวัฒนาการเบนเข้าวงศ์กวางชะมดวงศ์ย่อยกวางสัตว์สัตว์มีแกนสันหลังสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหญ้าอันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้องอันดับสัตว์กีบคู่ฮก ลก ซิ่วถุงน้ำดีแผนที่เก้งเก้งยักษ์เก้งหม้อเก้งอินโดจีนเก้งธรรมดาเก้งเจื่องเซินเนื้อทรายCervus

ชื่อสามัญ

ื่อสามัญ (Common name) หมายถึง ชื่อที่เรียกกันทั่วไปในการอนุกรมวิธานสิ่งมีชีวิต ใช้ชื่ออาจให้ชื่อตามลักษณะรูปร่างของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ เช่น ต้นแปรงขวด, ว่านหางจระเข้ หรืออาจเรียกชื่อตามถิ่นกำเนิด เช่น ผักตบชวา, มันฝรั่ง หรืออาจเรียกตามชื่อที่อยู่ เช่น ดาวทะเล, ทากบก นอกจากนี้ในแต่ละถิ่นยังเรียกชื่อต่างกันเช่น แมลงปอ ภาคใต้เรียกว่า "แมงพี้" ภาคเหนือเรียก "แมงกะบี้" เป็นต้น ซึ่งชื่อสามัญอาจจะซ้ำซ้อนกันได้ จึงเป็นที่มาของการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ เพื่อระบุให้ถูกต้อง.

ใหม่!!: กวางและชื่อสามัญ · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดย่อย

นิดย่อย หรือ พันธุ์ย่อย หรือ สปีชีส์ย่อย (subspecies) หมายถึง สิ่งมีชีวิตในสกุล (genus) เดียวกัน และจัดอยู่ในชนิด (species) เดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยซึ่งไม่สามารถแยกแยะออกเป็นชนิดใหม่ได้ จึงจัดเป็นชนิดย่อย โดยใช้ชื่อไตรนาม เช่น เต่าปูลู (Platysternon megacephalum pequense) เต่าปูลูเหนือ (Platysternon megacephalum megacephalum) เต่าปูลูใต้ (Platysternon megacephalum vogeli) เป็นต้น ความแตกต่างของชนิดย่อยมักอยู่ที่ลวดลาย สีสัน หรือขนาดลำตัว อันเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่อยู่ที่แตกต่างกัน ปกติชนิดย่อยของสัตว์นิยมเรียกว่า subspecies ส่วนพืชเรียกว่า variety.

ใหม่!!: กวางและชนิดย่อย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กวางและพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: กวางและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

กระจง

กระจง หรือ ไก้ (Mouse-deer, Chevrotain) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเคี้ยวเอื้องขนาดเล็กสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Tragulus (/ทรา-กู-ลัส/) ในวงศ์ Tragulidae โดยคำว่า Tragulus มาจากคำว่า Tragos หมายถึง "แพะ" ในภาษากรีก ขณะที่ ulus ในภาษาละตินหมายถึง "เล็ก" มีน้ำหนักตัวประมาณ 0.7–8.0 กิโลกรัม (1.5–17.6 ปอนด์) มีความยาวประมาณ 40–75 เซนติเมตร (16–30 นิ้ว) จัดเป็นสัตว์กีบคู่ที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก แต่ชนิดที่เล็กที่สุดของกระจงก็ยังมีขนาดใหญ่กว่าแอนทีโลปในสกุล Neotragus ในทวีปแอฟริกาNowak, R. M. (eds) (1999).

ใหม่!!: กวางและกระจง · ดูเพิ่มเติม »

กวางบึง

กวางบึง หรือ บาราซิงก้าGrubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: กวางและกวางบึง · ดูเพิ่มเติม »

กวางรูซา

กวางรูซา (Rusa) เป็นสกุลของกวางในสกุล Rusa พบกระจายพันธฺุ์ในทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย มักจะได้รับการจัดให้อยู่ในสกุล Cervus แต่จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่า สมควรจัดให้อยู่ในสกุลนี้ แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด โดย 3 ชนิดมีการกระจายค่อนข้างแคบในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย แต่จะมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทางด้านอินเดียตะวันออกและทางตอนใต้ของจีนและทิศใต้ของหมู่เกาะซุนดา ทั้งหมดกำลังถูกคุกคามจากการสูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยและการล่าสัตว.

ใหม่!!: กวางและกวางรูซา · ดูเพิ่มเติม »

กวางผา

กวางผา (Gorals) เป็นสกุลของสัตว์กีบคู่จำพวกแอนทีโลปสกุลหนึ่ง ในวงศ์ Bovidae ใช้ชื่อสกุลว่า Naemorhedus.

ใหม่!!: กวางและกวางผา · ดูเพิ่มเติม »

กวางดาว

กวางดาว หรือ กวางทอง (Chital, Cheetal, Spotted deer, Axis deer)Grubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: กวางและกวางดาว · ดูเพิ่มเติม »

กวางคุณพ่อดาวีด

กวางคุณพ่อดาวีด หรือ กวางปักกิ่ง (Père David's deer) เป็นกวางชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Elaphurus กวางคุณพ่อดาวีด เป็นกวางชนิดที่พบได้เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น โดยกระจายพันธุ์อยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของลุ่มน้ำแยงซี ได้ชื่อว่า "ดาวีด" มาจากชื่อของบาทหลวงชาวฝรั่งเศส อาร์ม็อง ดาวีด ซึ่งเป็นชาวตะวันตกคนแรกที่พบเห็นและรู้จักกวางชนิดนี้ ชาวจีนมองว่า กวางคุณพ่อดาวีดเป็นสัตว์ที่แปลก โดยมีลักษณะ 4 ประการที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกับสัตว์ชนิดต่าง ๆ ผสมผสานกัน (ญี่ปุ่น: shifuzō) คือ มีส่วนหัวเหมือนม้า, มีตีนเหมือนวัว, มีหางเหมือนลา และมีเขาเหมือนกวางแต่งองุ้มไปข้างหลัง กวางคุณพ่อดาวีดตัวเมีย กวางคุณพ่อดาวีด เป็นกวางที่หากินในที่ราบลุ่มที่น้ำท่วมขังหรือสภาพพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น หนอง, บึง โดยกินหญ้าและตะไคร่น้ำเป็นอาหาร ในฤดูผสมพันธุ์ เมื่อเป็นสัด กวางตัวผู้จะตกแต่งเขาตัวเองด้วยใบไม้ต่าง ๆ ห้อยย้อยลงมา กวางตัวผู้จะต่อสู้กันด้วยความดุเดือดเพื่อแย่งชิงตัวเมีย ขณะที่กวางตัวเมียจะไม่มีเขา กวางคุณพ่อดาวีดจะผสมพันธุ์กันปีต่อปี ในขณะที่ลูกกวางที่เกิดขึ้นจากการผสมพันธุ์เมื่อปีที่แล้วยังไม่หย่านม แต่จะอยู่รวมกันเป็นฝูงในหมู่ลูกกวางด้วยกัน จึงทำให้หลีกเลี่ยงที่จะเผชิญกับกวางตัวผู้ที่ก้าวร้าว ปัจจุบัน สถานะของกวางคุณพ่อดาวีดได้สูญพันธุ์ไปแล้วจากธรรมชาติ ในจีนคาดว่ามีจำนวนประชากรราว 2,500 ตัว ในเขตอนุรักษ์ การที่ยังมีกวางคุณพ่อดาวีดหลงเหลืออยู่นั้นเกิดจากในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 กวางในธรรมชาติได้สูญพันธุ์ลงแล้ว แต่ยังมีการนำไปเลี้ยงและได้ขยายพันธุ์ในโบสถ์ของประเทศอังกฤษ ในทวีปยุโรป และได้นำส่งกลับมายังจีนจำนวน 40 ตัว ในปี..

ใหม่!!: กวางและกวางคุณพ่อดาวีด · ดูเพิ่มเติม »

กวางซีกา

กวางซีกา (Sika deer, Spotted deer, Japanese deer) เป็นกวางที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกและถูกนำเข้าไปเป็นสัตว์เลี้ยงในหลายพื้นที่บนโลก อดีตพบในตอนใต้ทางภาคเหนือของประเทศเวียดนามไปจนถึงทางเหนือของรัสเซียตะวันออกไกล ปัจจุบันเกือบจะสูญพันธุ์แล้วในทุกพื้นที่ ยกเว้นในประเทศญี่ปุ่นที่มีประชากรหนาแน่น โดยชื่อ "ซีกา" มาจากภาษา แปลว่า "กวาง" กวางซีกาเป็นกวางขนาดกลางมีความสูงจรดหัวไหล่ 50-95 เซนติเมตร หนัก 30-70 กิโลกรัม เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนตามลำตัวสีน้ำตาลส้ม มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วไป หางสั้นมีสีน้ำตาลอ่อน ก้นมีสีขาว สีขนบริเวณด้านบนและด้านข้าง ลำตัวอาจมีสีที่เข้มกว่าสีขนบริเวณท้องและด้านในของขา มีเขาเฉพาะเพศผู้ เขามีกิ่งก้านแผ่อแอกมาเพียงข้างละ 4 ก้าน มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในป่าเบญจพรรณ หรือทุ่งหญ้า ในฝูงมักประกอบไปด้วยเพศเมียเป็นส่วนใหญ่ กวางเพศผู้มีการผลัดเขาทิ้งทุกปี กวางซีกา เป็นสัตว์ที่ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าเป็นสัตว์ที่รับใช้เทพเจ้า ในจังหวัดนะระ โดยเฉพาะใกล้ ๆ วัดโทได กวางซีกาที่อาศัยอยู่ที่นี่ ใช้ชีวิตอย่างเสรี โดยปะปนกับผู้คนทั่วไปโดยไม่มีผู้ใดทำอันตร.

ใหม่!!: กวางและกวางซีกา · ดูเพิ่มเติม »

กวางป่า

กวางป่า หรือ กวางม้า หรือ กวางแซมบาร์ (Sambar deer; หรือ Cervus unicolor) เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา, อินเดีย, พม่า, ไทย, จีน, ไต้หวัน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลี.

ใหม่!!: กวางและกวางป่า · ดูเพิ่มเติม »

กวางแฟลโลว์

กวางแฟลโลว์ (fallow deer) เป็นกวางขนาดเล็ก มีความสูงที่ไหล่ประมาณ 1 เมตร ลักษณะเด่นที่แตกต่างจากกวางชนิดอื่นๆ คือ ปลายลำเขาแบนจนมีลักษณะเป็นแผ่นคล้ายกับกวางมูส ซึ่งมีแผ่นแบนกว้าง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแต้มด้วยจุดสีขาว แต่จุดเหล่านี้จะหายไปช่วงฤดูหนาว เดิมทีกวางชนิดนี้มีถิ่นกำเนิดในป่าบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่ได้ถูกนำไปเลี้ยงในยุโรปและอเมริกา ในที่สุดกวางในถิ่นอาศัยดั้งเดิมก็สูญพันธุ์ คงเหลือแต่กวางที่เปลี่ยนถิ่นฐานไปแล้ว จนบางตัวมีสีเผือก เนื่องจากผสมพันธุ์ในสายเลือดเดียวกันจนเกิดข้อด้อยดังกล่าว.

ใหม่!!: กวางและกวางแฟลโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

กวางแดง

กวางแดง (Red Deer) เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ตามอนุกรมวิธาน กวางแดงมีถิ่นอาศัยในทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส เอเชียน้อย บางส่วนทางตะวันตกของเอเชีย และเอเชียกลาง สามารถพบในเทือกเขาแอตลาสระหว่างประเทศโมร็อกโกและประเทศตูนิเซียทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา เป็นกวางเพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา มีการนำกวางแดงไปยังพื้นที่ส่วนอื่นบนโลก ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศนิวซีแลนด์ และ ประเทศอาร์เจนตินา ในหลายส่วนของโลกกินเนื้อของกวางแดงเป็นอาหาร กวางแดงเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะ 4 ห้อง กีบเท้าคู่ ตัวผู้สูง 175 - 230 ซม.

ใหม่!!: กวางและกวางแดง · ดูเพิ่มเติม »

กวางเรนเดียร์

กวางเรนเดียร์ หรือ กวางแคริบู (Reindeer, Caribou) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่จำพวกกวาง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rangifer มีนิสัยดุร้าย มีลักษณะคล้ายคลึงกับกวางเอลก์ จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใหญ่ที่สุดของแคนาเดียนทุนดรา ตัวเมียมีน้ำหนักประมาณ 60–170 กิโลกรัม ส่วนสูงประมาณ 162– 205 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่า มีน้ำหนักประมาณ 100–318 กิโลกรัม ส่วนสูงประมาณ 180–214 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 14– 20 เซนติเมตร ตัวผู้ที่มีอายุมากจะผลิเขาในเดือนธันวาคม ตัวผู้ที่อายุน้อยจะผลิเขาในฤดูใบไม้ผลิ ส่วนตัวเมียจะผลิเขาในฤดูร้อน เขาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เขาที่อยู่สูงกว่า และเขาที่อยู่ต่ำกว่า เขากวางเรนเดียร์ตัวผู้ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากกวางมูส คือ กว้างประมาณ 100 เซนติเมตร ยาวประมาณ 135 เซนติเมตร ถือเป็นกวางที่มีขนาดเขาใหญ่ที่สุดในโลก ขนตามลำตัวยามปกติจะมีสีน้ำตาล แต่เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ขนจะเปลี่ยนไปเป็นสีอ่อนขึ้น หรือสีขาว กวางเรนเดียร์ มีกีบเท้าที่แยกออกเป็น 2 ง่ามชัดเจน ใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยว่ายได้เร็วถึง 10 กิโลเมตร/ชั่วโมง และเมื่อเดินกระดูกตรงข้อเท้าและเส้นเอ็นจะทำให้เกิดเสียงไปตลอด สันนิษฐานว่ามีไว้เพื่อติดต่อกับระหว่างฝูงในยามที่อยู่ในที่ ๆ ภาวะวิสัยมองเห็นไม่ชัด เช่น ยามเมื่อหิมะตกหนัก เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวในโลกที่สามารถมองเห็นรังสีอัลตราไวโอเลตได้TUNDRA, "Wildest Arctic".

ใหม่!!: กวางและกวางเรนเดียร์ · ดูเพิ่มเติม »

กวางเอลก์

กวางเอลก์ (elk) เป็นกวางขนาดใหญ่ หัวยาว คอและหางสั้น ขายาว เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีเขาเฉพาะตัวผู้ กวางเอลก์โตเต็มที่เขาจะมีแขนงข้างละประมาณ 10-12 กิ่ง ขนลำตัวหยาบสีน้ำตาล หางสั้น ลำตัวจากปลายปากถึงโคนหางยาวประมาณ 2.5 เมตร หางยาวประมาณ 20 เซนติเมตร สูงช่วงไหล่ประมาณ 1.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 250-450 กิโลกรัม มีนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินอพยพไปเรื่อย ๆ ชอบอยู่ในทุ่งโล่ง ๆ ตัวผู้จะดุเมื่อเขาแก่ขวิดแย่งตัวเมีย ว่ายน้ำเก่ง.

ใหม่!!: กวางและกวางเอลก์ · ดูเพิ่มเติม »

การสูญพันธุ์

ียน นกโดโด้ ตัวอย่างของการสูญพันธุ์ยุคใกล้ การสูญพันธุ์ (Extinction) ในทางชีววิทยาและนิเวศวิทยา คือการสิ้นสุดของการดำรงอยู่ของสปีชีส์หรือของสิ่งมีชีวิต ซึ่งทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง โดยทั่วไปแล้ว ถือว่าชั่วขณะของการสูญพันธุ์คือชั่วขณะความตายของสิ่งมีชีวิตตัวสุดท้ายในสปีชีส์นั้น แม้ว่าความสามารถในการผสมพันธุ์และฟื้นตัวอาจจะสูญเสียไปแล้วก่อนหน้านั้นก็ตาม.

ใหม่!!: กวางและการสูญพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

ใหม่!!: กวางและการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อทวินาม

ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแบบทวินาม (Binomial nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ชื่อแต่ละชื่อในระบบนี้เรียกว่า ชื่อทวินาม (Binomial name) หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) คือชื่อที่ใช้เรียกแทนสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ ชื่อทวินามจะเป็นภาษาละติน ประกอบด้วยคำศัพท์ 2 คำ คือ สกุล และ สปีชีส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ต้องการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกันออกไปบ้าง.

ใหม่!!: กวางและการตั้งชื่อทวินาม · ดูเพิ่มเติม »

ละองละมั่ง

thumb thumb ละองละมั่ง (Eld's deer, Thamin, Brow-antlered deer; Pitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004). Evolution and phylogeny of old world deer. Molecular Phylogenetics and Evolution 33: 880–895.) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดูสั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" (រេបីស) ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย ในประเทศไทยพบ 2 ชนิดได้แก่ ละองละมั่งพันธุ์ไทยที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ซันไก.

ใหม่!!: กวางและละองละมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒนาการเบนเข้า

วิวัฒนาการเบนเข้า (Convergent evolution) คือการวิวัฒนาการแบบที่สิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้มีบรรพบุรุษร่วมกัน แต่มีลักษณะที่วิวัฒนาการได้ผลลัพธ์ที่คล้ายกัน แต่ต้องกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายที่ใช้ในการสังเกต และเปรียบเทียบกลไกการวิวัฒนาการที่เกิดขึ้น ปีกเป็นตัวอย่างวิวัฒนาการเบนเข้าที่ยอดเยี่ยม แมลงบินได้ นก และค้างคาว ต่างมีวิวัฒนาการการบินที่อิสระ แต่มาบรรจบกันตรงคุณลักษณะที่มีประโยชน์นี้.

ใหม่!!: กวางและวิวัฒนาการเบนเข้า · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กวางชะมด

กวางชะมด (Musk deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Moschidae และสกุล Moschus.

ใหม่!!: กวางและวงศ์กวางชะมด · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยกวาง

วงศ์ย่อยกวาง หรือ วงศ์ย่อยกวางโลกเก่า (Old World deer, Plesiometacarpal deer) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกีบคู่ ในวงศ์ Cervidae หรือ กวาง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cervinae โดยกวางในวงศ์ย่อยนี้ จะเป็นกวางชนิดที่พบในซีกโลกที่เรียกว่าโลกเก่า คือ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา, ยุโรป โดยเป็นสัตว์ที่อาศัยและปรับตัวอยู่ได้ในหลายภูมิประเทศ เช่น ทุ่งหญ้า, ทะเลทราย, ที่ราบต่ำ หรือแม้แต่พื้นที่ชุ่มน้ำ สมาชิกในวงศ์ย่อยนี้ แบ่งออกได้เป็น 2 เผ่าใหญ่ ๆ คือ Cervini หรือ กวางแท้ และ Muntiacini หรือ เก้ง.

ใหม่!!: กวางและวงศ์ย่อยกวาง · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ใหม่!!: กวางและสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

ใหม่!!: กวางและสัตว์มีแกนสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ใหม่!!: กวางและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ใหม่!!: กวางและหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง

ัตว์เคี้ยวเอื้อง (ruminant) เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ruminantia สัตว์เคี้ยวเอื้องประกอบไปด้วยสัตว์ส่วนใหญ่ในอันดับนี้ ได้แก่ วัว, ควาย, แพะ, แกะ, กวาง และแอนทิโลป ลักษณะร่วมของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ก็คือ มี กระเพาะ 4 ห้อง ที่เมื่อกินอาหารไปแล้ว คือ หญ้า คายออกมาเคี้ยวอย่างช้า ๆ อีกครั้งในเวลากลางคืน ก่อนจะถูกนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย โดยกระเพาะของสัตว์เคี้ยวเอื้องจะแบ่งออกเป็น 4 ห้อง คือ Rumen (ผ้าขี้ริ้ว), Reticulum (รังผึ้ง), Omasum (สามสิบกลีบ) และ Abomasum (กระเพาะแท้ หรือกระเพาะจริง).

ใหม่!!: กวางและอันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสัตว์กีบคู่

อันดับสัตว์กีบคู่ เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artiodactyla (/อา-ทิ-โอ-แดค-ทิ-ล่า/) มีลักษณะเด่น คือ มีนิ้วเท้าที่เป็นกีบที่เป็นคู่ แตกต่างไปจากสัตว์ที่อยู่ในอันดับสัตว์กีบคี่ (Perissodactyla) ซึ่งมีกีบนิ้วเท้าเป็นจำนวนคี่ ทั้งสองอันดับล้วนแต่เป็นสัตว์กินพืช ที่จะกินพืชลักษณะแตกต่างกันออกไปตามสกุลและวงศ์ หรือชนิด กระจายพันธุ์ออกไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นโอเชียเนีย ปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 10 วงศ์ ราว 220 ชนิด โดยแบ่งออกได้เป็น 3 อันดับย่อย โดยแบ่งตามลักษณะของกระเพาะอาหาร โดยแบ่งออกเป็นห้อง ๆ หรือส่วน คือ.

ใหม่!!: กวางและอันดับสัตว์กีบคู่ · ดูเพิ่มเติม »

ฮก ลก ซิ่ว

ก ลก ซิ่ว (พินอินกวางตุ้ง: Fuk1 Luk6 Sau6; Fu Lu Shou) เป็น 3 เทพเจ้าจีน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนความเป็นมงคล 3 ประการของจีน แห่งการอวยพร ปัจจุบันนิยมสร้างเป็นเทวรูปประดับตั้งวางอยู่ภายในบ้าน คนไทยส่วนมากรวมถึงคนจีนส่วนหนึ่งก็มักเข้าใจผิด คิดว่าเทพฮก คือเทพองค์กลางที่เป็นขุนนาง แท้จริงเทพฮกคือเทพองค์ที่อุ้มเด็ก เพราะคำว่า ลก หมายถึง ยศถาบรรดาศักดิ์ จึงหมายถึงเทพองค์กลางที่เป็นขุนนาง บางทีจะถูกวาดคู่กับกวาง เพราะในภาษาจีน คำว่ากวางพ้องเสียงกับคำว่า ยศถาบรรดาศักดิ์ ส่วนเทพฮกจะอุ้มเด็ก หมายถึงความสุขต่างๆในชีวิต พึงระวังการจำสับสนกัน.

ใหม่!!: กวางและฮก ลก ซิ่ว · ดูเพิ่มเติม »

ถุงน้ำดี

รงสร้างของถุงน้ำดีและระบบท่อน้ำดี ถุงน้ำดี (Gallbladder) เป็นอวัยวะในช่องท้องที่ทำหน้าที่ในการเก็บสะสมน้ำดี (bile) เพื่อช่วยในการย่อยอาหาร โดยจะมีโครงสร้างที่ติดต่อกับตับซึ่งเป็นอวัยวะที่ผลิตน้ำดี และลำไส้เล็กตอนต้น ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการปล่อยน้ำดีออกสู่ทางเดินอาหาร.

ใหม่!!: กวางและถุงน้ำดี · ดูเพิ่มเติม »

แผนที่

231x231px แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจำลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่อยู่ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิต ยกตัวอย่างเช่น แผนที่ทางภูมิศาสตร์ นอกจากนี้เรายังสามารถวาดแผนที่แสดงคุณสมบัติของบริเวณต่าง ๆ บนพื้นโลก เช่น ความหนาแน่นของประชากร ความสูงของพื้นที่ ดัชนีการพัฒนาของมนุษย์ในแต่ละประเทศ เป็นต้น.

ใหม่!!: กวางและแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

เก้ง

ก้ง หรือ อีเก้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: กวางและเก้ง · ดูเพิ่มเติม »

เก้งยักษ์

ก้งยักษ์ (Giant muntjac) มีรูปร่างหน้าตาคล้ายเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่มีขนาดลำตัวใหญ่กว่ามาก สีขนตามลำตัวมีหลากหลาย ทั้งสีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลดำ มีเขาเฉพาะตัวผู้ มีลักษณะเด่นคือ เขามีขนาดใหญ่ บางตัวอาจมีกิ่งเขาถึง 3 กิ่ง บางตัวอาจมีแค่ 2 โคนเขาหนากว่าโคนเขาของเก้งธรรมดา เก้งยักษ์ถือเป็นสัตว์ป่าลึกลับที่ไม่ค่อยปรากฏตัวจึงมีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก แม้แต่รูปถ่ายก็ยังไม่เคยมี จนกระทั่งกลางปี ค.ศ. 2008 ที่เวียดนามสามารถใช้กล้องวงจรปิดจับภาพเก้งยักษ์ขณะหากินในเวลากลางคืนได้เป็นครั้งแรกในโลก พบว่ามีการกระจายพันธุ์อยู่ในพรมแดนระหว่างลาว เวียดนาม และกัมพูชา ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน คาดว่าคงกินอาหารจำพวกเดียวกับเก้งทั่วไป ชาวพื้นเมืองที่เก้งยักษ์อาศัยอยู่มักล่าได้ในป่าดิบชื้นและป่าดิบแล้ง หรือป่าผสมผลัดใบ ในพื้นที่ที่มีความสูงประมาณ 800 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: กวางและเก้งยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เก้งหม้อ

ก้งหม้อ หรือ กวางเขาจุก หรือ เก้งดำ หรือ เก้งดง (Fea's muntjac, Tenasserim muntjac) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่จำพวกกวาง มีลักษณะคล้ายเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่ต่างกันเก้งหม้อจะมีขนบริเวณลำตัวที่เข้มกว่า ใบหน้ามีสีน้ำตาลเข้ม บริเวณกระหม่อมและโคนขามีสีเหลืองสด ด้านล่างของลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อน ขาทั้ง 4 ข้างมีสีดำ จึงเป็นที่มาของอีกชื่อสามัญที่เรียก ด้านหน้าด้านหลังมีสีขาวเห็นได้ชัดเจน หางสั้น หางด้านบนมีสีเข้ม แต่ด้านล่างมีสีขาว มีเขาเฉพาะตัวผู้ เขาของเก้งหม้อสั้นกว่าเก้งธรรมดา ผลัดเขาปีละ 1 ครั้ง มีความยาวลำตัวและหัว 88 เซนติเมตร ความยาวหาง 10 เซนติเมตร น้ำหนัก 22 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของพม่า, มาเลเซีย, ภาคตะวันตกและภาคใต้ของไทย เป็นเก้งที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าเหลือเพียงตัวเดียวในโลก ที่สวนสัตว์ดุสิต แต่ปัจจุบัน ยังพอหาได้ตามป่าธรรมชาติและวัดในพรมแดนไทยพม่า ที่พระสงฆ์เลี้ยงอยู่ เก้งหม้ออาศัยอยู่ในป่าที่มีความชื้นสูง เช่น บริเวณหุบเขาหรือป่าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำ อดน้ำได้ไม่เก่งเท่าเก้งธรรมดา ออกหาอาหารตามลำพังในช่วงเย็นหรือพลบค่ำ แต่ในบางครั้งอาจพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ในฤดูผสมพันธุ์ จะผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว ตั้งท้องนาน 6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: กวางและเก้งหม้อ · ดูเพิ่มเติม »

เก้งอินโดจีน

ก้งอินโดจีน หรือ เก้งโรสเวลต์ (Roosevelt's muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muntiacus rooseveltorum เป็นเก้งที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก โดยถูกพบตัวครั้งแรกในปี พ.ศ. 2475 ใกล้กับเมืองพงสาลี แขวงหลวงพระบาง ทางตอนเหนือของลาว และในปี พ.ศ. 2539 พบซากที่สันนิษฐานของเก้งที่เชื่อว่าน่าจะเป็นเก้งอินโดจีนอีกครั้ง ในแขวงเชียงขวาง โดยสันนิษฐานว่า อาจกระจายพันธุ์อยู่ในป่าดิบเขา หรือพื้นที่ที่ราบสูงทางตะวันออกของแม่น้ำโขง และอาจมีการกระจายพันธุ์ในเวียดนามด้วย โดยมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับเก้งหม้อ (M. feae) ต่อมน้ำตามีขนาดเล็กคล้ายกับเก้งธรรมดา (M. muntjak) โดยในบางข้อมูลจะจัดให้เป็นชนิดย่อยของเก้งหม้อด้วยซ้ำ.

ใหม่!!: กวางและเก้งอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

เก้งธรรมดา

ก้งธรรมดา หรือ อีเก้ง หรือ ฟาน หรือที่นิยมเรียกกันว่า เก้ง (Indian muntjac, Common barking deer, Red muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง นับเป็นเก้งชนิดที่รู้จักและมีถิ่นกระจายพันธุ์กว้างขวางที่สุด มีส่วนหลังโก่งเล็กน้อย ลำตัวสีน้ำตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างสีขาว เก้งตัวผู้มีเขาสั้น ฐานเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกะโหลกยื่นยาวขึ้นไปเป็นแท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสีดำขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็นรูปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่วนปลายเขาสั้น แต่เป็นง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตกเป็นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปีละครั้ง ส่วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บนหน้าก็มีขนรูปตัววีเหมือนกัน เก้งตัวที่อายุมากผู้มีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พ้นขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะยกขาสูงทุกย่างก้าว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรือหัวค่ำ และตอนเช้ามืดจนถึงช่วงสาย อดน้ำไม่เก่ง จึงมักอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และรวมถึงเปลือกไม้ด้วย ไม่ค่อยกินหญ้า พบแพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ ศรีลังกา, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะไหหลำ และหมู่เกาะซุนดา มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตกลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พุ่มไม้ ลูกเก้งมีจุดสีขาวตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6 เดือน จุดสีขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขัยประมาณ 15 ปี ในประเทศไทย ถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: กวางและเก้งธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

เก้งเจื่องเซิน

ก้งเจื่องเซิน หรือ เก้งอันนัม (Truong Son muntjac, Annamite muntjac; Mang Trường Sơn) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Muntiacus truongsonensis เป็นเก้งชนิดหนึ่งที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก เหมือนเก้งอินโดจีน (M. rooseveltorum) โดยถูกพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ในเวียดนาม เป็นหัวกะโหลกที่นำมาวางขายเท่านั้น ทำให้สันนิษฐานว่ามีรูปร่างคล้ายกับเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่มีขนาดเล็กกว่า ใบหน้าและขาทั้ง 4 ข้างมีสีดำคลายเก้งหม้อ (M. feae) เชื่อว่าอาศัยอยู่ตามป่าดิบเขาของเทือกเขาอันนัมซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างเวียดนามกับลาว และสถานะของเก้งชนิดนี้ในปัจจุบันกำลังแย่ลงทุกขณะเพราะการบุกรุกทำลายป่าและล่าสัตว์อย่างรุนแรงใน 2 ประเทศนี้.

ใหม่!!: กวางและเก้งเจื่องเซิน · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อทราย

thumb เนื้อทราย หรือ ทราย หรือ ตามะแน (Hog deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกกวางชนิดหนึ่ง มีรูปร่างอ้วนป้อม ขาสั้น เนื้อทรายจะมีสีขนเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิอากาศ thumb thumb.

ใหม่!!: กวางและเนื้อทราย · ดูเพิ่มเติม »

Cervus

Cervus (/เซอ-วัส/) เป็นสกุลของกวาง ที่พบกระจายพันธุ์ในยูเรเชีย, แอฟริกาเหนือ และบางส่วนของอเมริกาเหนือ เดิมสกุลนี้เคยถูกจัดให้เป็นสกุลหลักของกวาง ร่วมกับสกุลอื่น ๆ คือ Dama, Elaphurus และ Hyelaphus และจนถึงปลายปี..

ใหม่!!: กวางและCervus · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Cervidaeวงศ์กวาง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »