โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

ดัชนี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

54 ความสัมพันธ์: ชุบ กาญจนประกรพ.ศ. 2522พ.ศ. 2535พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พรชัย รุจิประภากรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมมลพิษกรุงเทพมหานครรองศาสตราจารย์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยรัฐวิสาหกิจราชกิจจานุเบกษาศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดชศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน)สมชาย เทียมบุญประเสริฐสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)สำนักงานรัฐมนตรีสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)สุวิทย์ เมษินทรีย์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)สง่า สรรพศรีองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติองค์การมหาชนองค์การจัดการน้ำเสียจังหวัดชลบุรีจังหวัดสงขลาจังหวัดขอนแก่นจังหวัดเชียงใหม่คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54ประเทศไทยไพรัช ธัชยพงษ์เขตราชเทวี1 ตุลาคม...24 มีนาคม3 ตุลาคม30 กันยายน4 เมษายน ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชุบ กาญจนประกร

ตราจารย์ ชุบ กาญจนประกร เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นอดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และชุบ กาญจนประกร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย รุจิประภา

รชัย รุจิประภา เป็น ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน และอดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และพรชัย รุจิประภา · ดูเพิ่มเติม »

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นตาม.ร..ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

กรมควบคุมมลพิษ

กรมควบคุมมลพิษ (Pollution Control Department) เป็นหน่วยงานประเภทกรม อยู่ในสังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ดูแลจัดการ, ควบคุม, ดูแล และรักษาสิ่งแวดล้อมไม่ให้เกิดมลพิษ บทบาทและภารกิจทั่วไป ซึ่งถือปฏิบัติตามบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาต..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และกรมควบคุมมลพิษ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รองศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ (associate professor) ใช้อักษรย่อว่า ร. เป็นตำแหน่งทางวิชาการ ต่อมาจากตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อนจะเป็น ศาสตราจารย์ โดยต้องมีชั่วโมงสอน มีผลงานเอกสารคำสอนอย่างน้อย 1 รายวิชา คุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ คุณภาพดี หรือผลงานวิจัย คุณภาพดี หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เป็นที่ยอมรับ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์แสดงถึงผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีหน้าที่หลักในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง คือ มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและมีความชำนาญพิเศษในการสอนและ ทำการสอนโดยใช้เอกสารคำสอน ประกอบการสอนมาแล้ว ทำการวิจัย ทำประโยชน์แก่สาธารณะ อาจมีงานแต่ง เรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก..อ. กำหนด ในประเทศไทย ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จะต้องดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และได้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามปกติ หรือได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาบางส่วน (อย่างมากไม่เกิน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) ซึ่งตำแหน่งรองศาสตราจารย์จะต้องผ่านการกลั่นกรองและประเมินผลงานอย่างเคร่งครัดและเข้มงวดในความถูกต้องของวิชา เมื่อผ่านการประเมินแล้วจึงจะได้รับการแต่งตั้งของสภามหาวิทยาลัย การเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ผู้เสนอขอสามารถดำเนินการเพื่อขอแต่งตั้งได้ 2 วิธี คือ วิธีปกติ และวิธีพิเศษ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และรองศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐวิสาหกิจ

รัฐวิสาหกิจ เป็นองค์การที่เป็นเจ้าของหรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ อาจมีโครงสร้างเช่นเดียวกับหน่วยธุรกิจเอกชนหรือมีโครงสร้างอย่างหน่วยงานของราชการ แต่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาผลกำไร.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และรัฐวิสาหกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช

ักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช (13 ตุลาคม พ.ศ. 2493 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553) อดีตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน)

ูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (Thailand Centre of Excellence for Life Sciences (Public Organisation)) เป็นองค์การมหาชน มีหน้าที่ในการจัดทำและเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมด้านชีววิทยาศาสตร์และประสานความร่วมมือด้านชีววิทยาศาสตร์ ตลอดจนให้บริการทางวิชาการ เผยแพร่ความรู้ และพัฒนาบุคลากรด้านชีววิทยาศาสตร.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เทียมบุญประเสริฐ

มชาย เทียมบุญประเสริฐ อดีตรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสมชาย เทียมบุญประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.) (Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) - GISTDA) เป็นหน่วยงานรัฐที่บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ และวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เลขที่ 120 อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 6 และชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานรัฐมนตรี

ำนักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มิได้มีฐานะเป็นกรม เพราะไม่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นกรม อยู่ในสังกัดกระทรวงต่างๆ ของประเทศไทย เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี" ในอดีตเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทั่วไปซึ่งมิใช่งานของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวง หรือเปรียบเสมือนกับสำนักงานรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม และมีการจัดตั้งให้สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี ใช้ชื่อว่า "สำนักงานรัฐมนตรี".

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (Office of Atoms for Peace: OAP) เป็นส่วนราชการระดับรม ในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ รวมทั้งการบริหารจัดการด้านการใช้พลังงานนิวเคลียร์ตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาประเท.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ำนักงานปลัดกระทรวง (Office of the Permanent Secretary: OPS) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ เป็นองค์การมหาชน สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ มีหน้าที่หลักในการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในประเท.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ เมษินทรีย์

ัชกร สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เลขานุการคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบัน SIGA.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสุวิทย์ เมษินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

ันมาตรวิทยาแห่งชาติ เป็นองค์การมหาชน ได้รับการสถาปนาขึ้นตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พุทธศักราช 2540 ให้เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีระบบบริหารงานเป็นอิสระอยู่ภายใต้การกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีพันธกิจสำคัญคือ การพัฒนามาตรฐานการวัดแห่งชาติให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และถ่ายทอดความถูกต้องของการวัดไปสู่กิจกรรมการวัดต่างๆ ในประเทศ รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านมาตรวิทยาแก่สังคมไทย เริ่มเปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พุทธศักราช 2541 โดยมีที่ทำการชั่วคราว ณ อาคารมาตรวิทยาและศูนย์สารนิเทศวิทยาศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ถนนพระรามที่หก ในวันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

ันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เป็นสถาบันวิจัยของรัฐที่มุ่งเน้นผลิตเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ ก่อตั้งเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 สถาบันฯ มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิสัยทัศน์   เป็นองค์กรชั้นนำในการบูรณาการวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและนวัตกรรม  เพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน พันธกิจ 1.วิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์และบริการ ตอบสนองการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ 2.ให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ ตรวจสอบ รับรองระบบคุณภาพ อบรมและที่ปรึกษา เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม 3.ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมสู่อุตสาหกรรมและวิสาหกิจชุมชน และผลักดันให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม 4.พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 มีหน้าที่ในการค้นคว้า วิจัย และส่งเสริมทางด้านดาราศาสตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

ันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) (Synchrotron Light Research Institute (Public Organization)) เป็นองค์การมหาชนไทย ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สืบทอดจาก "ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนแห่งชาติ" ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2539 มีสำนักงานตั้งอยู่ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

ันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (Hydro and Agro Informatics Institute) เป็นองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2547 ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 จึงได้เปลี่ยนสถานะมาเป็นองค์การมหาชน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สทน.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

สง่า สรรพศรี

ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และสง่า สรรพศรี · ดูเพิ่มเติม »

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.หรือ NSM) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัด กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่ เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี บริเวณที่ตั้งนี้ประกอบด้วยอาคาร 3 หลัง ได้แก่ อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์มหาราชินี (อาคารรูปลูกบาศก์ซึ่งรู้จักทั่วไปในชื่อ ตึกลูกเต๋า) อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา กับอาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเท.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การมหาชน

องค์การมหาชน เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทยประเภทที่สาม นอกเหนือจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ เริ่มตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และองค์การมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การจัดการน้ำเสีย

องค์การจัดการน้ำเสีย (Wastewater Management Authority) เป็นรัฐวิสาหกิจของไทย ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การจัดการน้ำเสี..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และองค์การจัดการน้ำเสีย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39

นายธานินทร์ กรัยวิเชียร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 14 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 39 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 39 ของไทย (8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 - 19 ตุลาคม พ.ศ. 2520) นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 39 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40

ลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 15 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 40 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 40 ของไทย (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2521) พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 40 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

ันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น)นายกรัฐมนตรีคนที่ 23หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช ธัชยพงษ์

ตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ศาสตราจารย์ ไพรัช ธัชยพงษ์ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 —) เป็นนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย ผู้บุกเบิกการจัดตั้งสถาบันวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับผู้บุกเบิกท่านอื่นๆ และทำให้ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีแบบแผนเป็นระบบ ปัจจุบันยังเป็นกรรมการอิสระในธนาคารกสิกรไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และไพรัช ธัชยพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กระทรวงวิทยาศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงานกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »