เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กงซุน เช่อ

ดัชนี กงซุน เช่อ

กงซุน เช่อ จาก ''เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม'' ฉบับพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2433 กงซุน เช่อ เป็นตัวละครจากวรรณกรรมจีนเรื่อง เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (Seven Heroes and Five Gallants).

สารบัญ

  1. 10 ความสัมพันธ์: จอหงวนจอห์น เอช. วอตสันฆ่าก่อน รายงานทีหลังแมยิสเตร็ดไคเฟิงเชอร์ล็อก โฮมส์เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรมเปาบุ้นจิ้นเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)เปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ดู กงซุน เช่อและจอหงวน

จอห์น เอช. วอตสัน

นายแพทย์จอห์น เอ.

ดู กงซุน เช่อและจอห์น เอช. วอตสัน

ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง

รื่องประหารของเปาบุ้นจิ้น รัฐบาลจีนได้จำลองขึ้นและจัดแสดงไว้ที่ศาลไคฟงในปัจจุบัน "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" หรือ "ประหารก่อน รายงานทีหลัง" (kill first, report later) เป็นสำนวนจีน ใช้อุปมาอุปไมยถึงการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ใดให้ลุล่วงไปก่อนแล้วจึงค่อยรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาทีหลัง ที่มาของสำนวนนี้ ว่ากันไว้สองทาง ทางแรกว่าในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในวันที่ขุนนางตงซวน ได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการนครลั่วหยาง เมืองหลวงของประเทศจีนในสมัยนั้น เขาพบว่ามีคดีหนึ่งค้างอยู่ในศาลซึ่งที่ผ่านมาไม่มีทางจะลุล่วงได้ โดยคดีมีว่าข้าราชบริพารคนหนึ่งของพระราชธิดาหูหยาง เป็นคนหยาบช้าและได้กระทำฆาตกรรมขึ้น แต่ไม่มีผู้ได้กล้าลงโทษเพราะเกรงพระราชหฤทัยและอิทธิพลของพระราชธิดา ขุนนางตงซวนนั้นเป็นคนใจซื่อมือสะอาด ไม่เกรงกลัวอิทธิพลของผู้ใด จึงสั่งให้ตำรวจไปจับกุมข้าราชบริพารผู้นั้นขณะที่โดยเสด็จพระราชธิดา และสั่งลงโทษประหารชีวิตทันที พระราชธิดาทรงพระพิโรธ เสด็จไปกราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้มีรับสั่งประหารขุนนางตงซวน ขุนนางตงซวนได้เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและกราบบังคมทูลรายงานเกี่ยวกับคดี ซึ่งเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงสดับแล้วเห็นว่าการกระทำของขุนนางตงซวนมิได้เป็นผิดเป็นโทษแต่อย่างใด ก็มิได้ทรงเอาโทษ เป็นที่มาของสำนวนว่า "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" อีกทางหนึ่งเกี่ยวข้องกับเปาบุ้นจิ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งมีที่มาจากวรรณกรรมจีนเกี่ยวกับเปาบุ้นจิ้นเรื่อง "เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม" โดยกล่าวว่าเปาบุ้นจิ้นได้รับพระราชทานชุดเครื่องประหารจากสมเด็จพระจักรพรรดิ ประกอบด้ว.

ดู กงซุน เช่อและฆ่าก่อน รายงานทีหลัง

แมยิสเตร็ด

แมยิสเตร็ด หรือทับศัพท์อย่างปัจจุบันได้ว่า แมจิสเตรต (magistrate) เป็นชื่อตำแหน่งข้าราชการประเภทหนึ่ง ในสมัยโบราณ เช่น ในครั้งโรมันโบราณและจักรวรรดิจีน เป็นข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ทั้งในทางบริหารและตุลาการ ในปัจจุบัน หมายถึง ตุลาการ โดยเฉพาะตุลาการศาลแขวง (Justice of the Peace) ตามระบบกฎหมายฝ่ายซีวิลลอว์ หรือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองซึ่งมีอำนาจหน้าที่จำกัด ตามระบบกฎหมายฝ่ายคอมมอนลอว์ และในความหมายทั่วไป เป็นไวพจน์ของคำว่า "ตุลาการ" ในภาษาอังกฤษ คำ "แมยิสเตร็ด" ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากคำ "magistrat" ในภาษาอังกฤษสมัยกลางราว..

ดู กงซุน เช่อและแมยิสเตร็ด

ไคเฟิง

ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นเมืองในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น หมวดหมู่:เมืองในมณฑลเหอหนาน.

ดู กงซุน เช่อและไคเฟิง

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช.

ดู กงซุน เช่อและเชอร์ล็อก โฮมส์

เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม

มผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (The Three Heroes and Five Gallants) เป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์จีนแนวสืบสวนสอบสวนและกำลังภายใน ฉือ ยฺวี่คุน (Shí Yùkūn) แต่งขึ้น และได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเผยแพร่เมื่อปลายศตวรรษที่ 19 นิยายเรื่องนี้ได้รับความนิยมมาก ต่อมา หยู เยฺว่ (Yú Yuè) ปรับปรุงจนเป็นวรรณกรรมชั้นสูง เรียกชื่อเสียใหม่ว่า เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม (Qī Xiá Wǔ Yì; The Seven Heroes and Five Gallants) เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี 1889.

ดู กงซุน เช่อและเจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ดู กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น

เปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)

ปาบุ้นจิ้น (包青天; Justice Pao) เป็นละครชุดทางโทรทัศน์ จำนวน 236 ตอน ของประเทศไต้หวัน ฉายช่องทีวีหัวซื่อของไต้หวัน สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำมาฉายในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ดู กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2536)

เปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม

ปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม เป็นละครชุดที่ออกฉายครั้งแรกในปี 2008 ทางช่องทีวีบีของไต้หวัน ในประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำมาออกอากาศระหว่างวันที่ 30 กันยายน 2008 จนถึงวันที่ 11 มีนาคม 2009 (รวมถึงตอน หนูหยกขาวแผลงฤทธิ์ ในภาค 5 หนูยุทธจักร) ส่วนสิทธิจัดจำหน่ายเป็นของบริษัทโกลเดนทาวน์ฟิล์ม จำกัด (Golden Town Film) นอกจากนี้ ไทยรัฐทีวียังนำมาพากย์ใหม่ฉายซ้ำในชื่อ เปาบุ้นจิ้น ตำนานศาลไคฟง เมื่อปี 2015.

ดู กงซุน เช่อและเปาบุ้นจิ้น เทพผู้ทรงธรรม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Gongsun Ceกงซุนเช่อ