สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: ÊÎĤŦŬĴภาษาอังกฤษภาษาทาจิกภาษาคอร์นวอลล์ภาษาตุรกีภาษาเอสเปรันโตสัทอักษรสากลอักษรละตินจŽŜĈÔÇÛCDzs (สัทศาสตร์)GJQXh (ทวิอักษร)Џ
Ê
ตัวอักษร Ê (ตัวเล็ก: ê) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน E ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียง.
ดู ĜและÊ
Î
ตัวอักษร Î (ตัวเล็ก: î) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน ได้ถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.
ดู ĜและÎ
Ĥ
ตัวอักษร Ĥ (ตัวเล็ก: ĥ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน H ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ ซึ่งมักจะใช้แทนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง Ĥ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.
ดู ĜและĤ
Ŧ
Ŧ/ŧ เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน T ที่มีแถบเส้น (bar, stroke sign) อยู่ด้านหน้า โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น ตัวอักษร Ŧ ที่ใช้ในซามิเหนือ.
ดู ĜและŦ
Ŭ
ตัวอักษร Ŭ (ตัวเล็ก: ŭ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มี บรีฟ (breve) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลาย Ŭ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.
ดู ĜและŬ
Ĵ
ตัวอักษร Ĵ (ตัวเล็ก: ĵ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน J ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ĵ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.
ดู ĜและĴ
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ภาษาทาจิก
ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.
ภาษาคอร์นวอลล์
ษาคอร์นวอลล์ (Kernowek หรือ Kernewek; Cornish) เป็นภาษาเคลต์บริตตันที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษาบริตตันตะวันตกเฉียงใต้ ในอดีตผู้พูดคือชาวคอร์นวอลล์ ภาษาคอร์นวอลล์ได้รับการฟื้นคืนชีพจากการที่เป็นภาษาที่สูญพันธุ์ไปแล้วมาเป็นภาษาพูดอีกครั้ง ภาษาคอร์นวอลล์มีความสำคัญต่อชาวคอร์นวอลล์มาก เป็นภาษาที่รัฐบาลสหราชอาณาจักรระบุให้ใช้เป็นหนึ่งในภาษาทางการของคอร์นวอลล์ ปกป้องโดยกฎบัตรยุโรปของภาษาชนกลุ่มน้อยหรือภาษาท้องถิ่น (European Charter for Regional or Minority Languages) โดยทำให้ภาษาคอร์นวอลล์มีผู้พูดเพิ่มขึ้นเรื่อ.
ภาษาตุรกี
ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ.
ภาษาเอสเปรันโต
ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล.
สัทอักษรสากล
ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.
อักษรละติน
อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).
จ
จ (จาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 8 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ง (งู) และก่อนหน้า ฉ (ฉิ่ง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “จ จาน” อักษร จ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /t͡ɕ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /t̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย.
ดู Ĝและจ
Ž
right ตัวอักษร Ž (ตัวเล็ก: ž) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน Z ที่มีแครอน (caron) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ สำหรับการใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ Ž และ ž อยู่ที่ยูนิโคด U+017D และ U+017E ตามลำดับ สำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ สามารถพิมพ์ได้โดยกด Alt+0142 และ Alt+0158 ตามลำดับ ส่วนใหญ่ Ž เป็นตัวอักษรสุดท้ายในพยัญชนะของภาษาที่มีการใช้ตัวอักษรนี้ โดยมีข้อยกเว้นในภาษาเอสโตเนีย และ ภาษาของชาวเติร์ก.
ดู ĜและŽ
Ŝ
ตัวอักษร Ŝ (ตัวเล็ก: ŝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน S ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ŝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.
ดู ĜและŜ
Ĉ
ตัวอักษร Ĉ (ตัวเล็ก: ĉ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ Ĉ เป็นอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.
ดู ĜและĈ
Ô
Ô เป็นอักษรละตินปัจจุบันได้นำไปใช้กับภาษาเวียดนามที่เพิ่มเติมเครื่องหมายเสริมอักษรและวรยุกต์ในเวียดนามการใส่เครื่องหมายได้นำไปใช้ด้วยกัน เช่น (Ồ/ồ, Ố/ố, Ỗ/ỗ, Ổ/ổ, Ộ/ộ) อักษร Ô จะออกเสียงเป็น /o/ โอ ที่ใช้ในภาษาเวียดนามอย่างดี และหลักจากเปรียบเทียบภาษาตังไฉ.
ดู ĜและÔ
Ç
ตัวอักษร Ç (ตัวเล็ก: ç) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีซิดิลลา (cedilla) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดย (ช/ตช) Ç เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาตุรกี ภาษาเติร์กเมน ภาษาซาซากิ ภาษาแอลเบเนีย ภาษาตาตาร์ ภาษาเคิร์ด และ ภาษาอาเซอร์ไบจาน.
ดู ĜและÇ
Û
ตัวอักษร Û (ตัวเล็ก: û) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากล.
ดู ĜและÛ
C
C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.
ดู ĜและC
Dzs (สัทศาสตร์)
ตัวอักษร Dzs (ตัวเล็ก: dzs) เป็นรูปแบบสามของอักษรละติน D Z S ที่มี Dzs Dzs เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาฮังการีและจะออกเสียงเป็น ในสัทอักษรสากล.
G
G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.
ดู ĜและG
J
J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.
ดู ĜและJ
Q
Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.
ดู ĜและQ
Xh (ทวิอักษร)
ตัวอักษร Xh/xh เป็นหนึ่งทวิอักษร ที่มี อักษรละติน X และ H ที่ใช้ในภาษาแอลเบเนีย จะออกเสียงเป็น /d͡ʒ/ Xh ตัวที่ 33 ของภาษาแอลเบเนี.
Џ
Dzhe (Џ, џ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้ในภาษาเซอร์เบียและภาษามาซิโดเนีย ใช้แทนเสียง เหมือนเสียงของ j ในภาษาอังกฤษ อักษรนี้เป็นอักษรที่ควบคู่ไปกับ ДЖ, ЧЖ, Ӂ, Җ หรือ Ӌ ในภาษาอื่นที่ใช้อักษรซีริลลิกเหล่านี้ สำหรับชื่อ Dzhe เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า และในบางครั้งก็ใช้ชื่อว่า Dzherv ตามแบบอย่างของชื่ออักษร Cherv (Ч) หรือ Djerv (Ћ) จุดเริ่มต้นของอักษร Dzhe มาจากอักษรซีริลลิกโรมาเนียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และชาวเซอร์เบียเริ่มนำมาใช้ในภาษาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17.
ดู ĜและЏ