สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: การสงครามเคมีมะกล่ำตาหนูรายชื่อสารประกอบอินทรีย์ละหุ่งสารที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
การสงครามเคมี
ทหารแคนาดาที่ถูกรมด้วยแก๊สมัสตาร์ดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามเคมี หรือ อาวุธเคมี (Chemical warfare หรือ CW) คือการใช้คุณสมบัติอันเป็นพิษของสารเคมีในการเป็นอาวุธเพื่อการสังหาร, สร้างความบาดเจ็บ หรือ สร้างความพิการให้แก่ศัตรู ประเภทของสงครามนี้แตกต่างจากการใช้อาวุธสามัญ (conventional weapons) หรือ อาวุธนิวเคลียร์ เพราะการทำลายโดยสารเคมีมิได้เกิดจากแรงระเบิด อาวุธเคมีจัดอยู่ในประเภทอาวุธเพื่อการทำลายล้างสูงโดยสหประชาชาติและการผลิตก็เป็นการผิดกฎอนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี (Chemical Weapons Convention) ของปี ค.ศ.
มะกล่ำตาหนู
''Abrus precatorius'' มะกล่ำตาหนู มะกล่ำเครือ หรือ ก่ำเคือ (Jequirity) เป็นพืชไม้เถาในวงศ์ถั่ว เมล็ดมีพิษ หรือที่รู้จักกันในชื่อ "Gunja" ในภาษาสันสกฤต เป็นพื้นพื้นเมืองของประเทศอินโดนีเซีย เติบโตได้ดีในเขตร้อนและใกล้เขตร้อน ทำให้มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นวัชพืชต่างถิ่นที่รุกรานในพื้นที่ที่มะกล่ำตาหนูถูกนำเข้ามา มะกล่ำตาหนูยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กล่ำเครือ กล่ำตาไก่ มะกล่ำเครือ มะกล่ำแดง มะแค๊ก (เชียงใหม่) เกมกรอม (สุรินทร์) ชะเอมเทศ ตากล่ำ (กลาง) มะขามเถา ไม้ไฟ (ตรัง) หมากกล่ำตาแดง (ตะวันออกเฉียงเหนือ).
รายชื่อสารประกอบอินทรีย์
รายชื่อสารประกอบอินทรีย์ (List of organic compounds) โดยสังเขป.
ดู ไรซินและรายชื่อสารประกอบอินทรีย์
ละหุ่ง
ละหุ่ง เป็นพืชในวงศ์ยางพารา (Euphorbiaceae) และเป็นพืชชนิดเดียวในสกุล Ricinus มีถิ่นกำเนิดในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนและแอฟริกาตะวันออก.
สารที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
alt.