เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ไทร์ (ประเทศเลบานอน)

ดัชนี ไทร์ (ประเทศเลบานอน)

ทร์ (Tyre) หรือ ศูร (صور; ฟินิเชีย: צור,; צוֹר, Tzor; ฮีบรูไทบีเรียส,; แอกแคด: 𒋗𒊒,; กรีก:, Týros; Sur; Tyrus) เป็นเมืองในเขตผู้ว่าการใต้ ทางตอนใต้ของประเทศเลบานอน มีประชากรราว 117,000 คน ในปี..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 13 ความสัมพันธ์: การล้อมกาซาการล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187)การล้อมไซดอนการสำรวจยุทธการที่ไอโคเนียม (ค.ศ. 1190)ยูโรปา (ดาวบริวาร)รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันตกสนธิสัญญารามลาออริเจนน้ำตาลไซดอน

การล้อมกาซา

การล้อมกาซา (Siege of Gaza) เป็นการสู้รบระหว่างพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งราชอาณาจักรมาซิโดเนียกับฝ่ายจักรวรรดิเปอร์เซียอะคีเมนิด เกิดขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม 332 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่เมืองกาซา บาติส (Batis) ผู้บัญชาการเมืองกาซาต้องการยึดอียิปต์จนกว่าผู้ปกครองเปอร์เซียจะส่งกองทัพมารบกับมาซิโดเนียที่นี่ เมืองกาซาเป็นเมืองชายขอบทะเลทรายและมีถนนจากซีเรียไปถึงอียิปต์ ตั้งอยู่สูงกว่า 60 ฟุต (18.29 เมตร) ท่ามกลางชุมชนเปอร์เซีย บาติสรู้ด้วยว่าพระเจ้าอเล็กซานเดอร์จะยกทัพมาที่นี่หลังจากยึดเมืองไทร์ได้ เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ยกทัพมาถึง พระองค์พบว่ากำแพงเมืองด้านใต้เป็นจุดที่เหมาะจะโจมตีที่สุด จึงสั่งให้มีการสร้างเนินขึ้นเพื่อใช้เป็นทางเข้าเมือง วันหนึ่งฝ่ายเปอร์เซียพยายามตีฝ่าวงล้อม พระเจ้าอเล็กซานเดอร์สั่งให้ทหารใช้โล่เป็นแนวป้องกันจนพระองค์ได้รับบาดเจ็บ อาร์ริอัน นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกบันทึกว่า "เนินถูกสร้างรอบ ๆ กำแพงเมืองและใช้เครื่องทุ่นแรงจากไทร์ร่วมด้วย" หลังจากความพยายามสามครั้ง ทหารมาซิโดเนียก็ทลายกำแพงและบุกเข้าเมืองได้สำเร็จ ผู้ชายถูกฆ่า ส่วนผู้หญิงและเด็กถูกจับไปเป็นทาส กวินตุส กูร์ตีอุส รูฟุส (Quintus Curtius Rufus) นักประวัติศาสตร์ชาวโรมันบันทึกว่า "บาติสถูกลากไปรอบกำแพงเมืองจนเสียชีวิตเช่นเดียวกับเจ้าชายเฮกเตอร์แห่งทรอย" หลังเมืองถูกยึด พระเจ้าอเล็กซานเดอร์สามารถเดินทัพไปที่อียิปต์ได้โดยไม่มีผู้ใดขัดขวาง.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และการล้อมกาซา

การล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187)

การล้อมไทร์ (Siege of Tyre) เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายนักรบครูเสดกับมุสลิมราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) ที่เมืองไทร์ เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และการล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187)

การล้อมไซดอน

การล้อมไซดอน (Siege of Sidon) เป็นการสู้รบที่เมืองไซดอน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเลบานอน) ระหว่างฝ่ายนักรบครูเสดกับฝ่ายมุสลิมแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม–5 ธันวาคม ค.ศ.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และการล้อมไซดอน

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และการสำรวจ

ยุทธการที่ไอโคเนียม (ค.ศ. 1190)

ทธการที่ไอโคเนียม (Battle of Iconium) เป็นการสู้รบในสงครามครูเสดครั้งที่ 3 ระหว่างฝ่ายนักรบครูเสด นำโดยจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์กับฝ่ายมุสลิม เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และยุทธการที่ไอโคเนียม (ค.ศ. 1190)

ยูโรปา (ดาวบริวาร)

ูโรปา (Europa; Ευρώπη) เป็นดาวบริวารดวงหนึ่งของดาวพฤหัสบดี ค้นพบในปี..

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และยูโรปา (ดาวบริวาร)

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ

มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในรัฐอาหรับ ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเลบานอนทั้งสิ้น 5 แหล่ง.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเลบานอน

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันตก

องค์การยูเนสโกไขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 18 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเป็นมรดกโลก, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันตก

สนธิสัญญารามลา

นธิสัญญารามลา (Treaty of Ramla) คือสนธิสัญญาระหว่างศอลาฮุดดีน และ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ที่ลงนามกันในเดือนมิถุนายน..

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และสนธิสัญญารามลา

ออริเจน

ออริเจน (Origen; Ὠριγένης, Ōrigénēs) เป็นนักพรตและนักเทววิทยาชาวอะเล็กซานเดรีย ผู้มีบทบาทสำคัญในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผลงานของเขาแสดงถึงการวิจารณ์ตัวบท นัยวิเคราะห์คัมภีร์ไบเบิล อรรถปริวรรตศาสตร์ ปรัชญา และการใช้ชีวิตทางศาสนา และถือเป็นผู้มีอิทธิพลต่อมากที่สุดต่อวิถีพรตนิยมในศาสนาคริสต์ยุคแรก ออริเจนไม่ได้รับการประกาศเป็นนักบุญอย่างปิตาจารย์ท่านอื่น ๆ เพราะคำสอนบางอย่างของเขาขัดกับคำสอนของเปาโลอัครทูตและยอห์นอัครทูต เช่น สอนว่าวิญญาณมีอยู่ก่อนการปฏิสนธิ สิ่งสร้างทั้งหมด (อาจรวมถึงปีศาจ) จะคืนดีกับพระเป็นเจ้าในวาระสุดท้าย พระเจ้าพระบุตรมีสถานะต่ำกว่าพระเจ้าพระบิดา เป็นต้น ซึ่งคำสอนเหล่านี้ศาสนาคริสต์กระแสหลักไม่ยอมรั.

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และออริเจน

น้ำตาล

องน้ำตาลดิบ (ไม่ขัดและไม่ฟอกขาว) น้ำตาล เป็นชื่อเรียกทั่วไปของคาร์โบไฮเดรตชนิดละลายน้ำ โซ่สั้น และมีรสหวาน ส่วนใหญ่ใช้ประกอบอาหาร น้ำตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีน้ำตาลหลายชนิดเกิดมาจากที่มาหลายแหล่ง น้ำตาลอย่างง่ายเรียกว่าโมโนแซ็กคาไรด์และหมายรวมถึงกลูโคส (หรือ เด็กซ์โตรส) ฟรุกโตส และกาแลกโตส น้ำตาลโต๊ะหรือน้ำตาลเม็ดที่ใช้เป็นอาหารคือซูโครส เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง (ในร่างกาย ซูโครสจะรวมตัวกับน้ำแล้วกลายเป็นฟรุกโตสและกลูโคส) ไดแซ็กคาไรด์ชนิดอื่นยังรวมถึงมอลโตส และแลกโตสด้วย โซ่ของน้ำตาลที่ยาวกว่าเรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์ สสารอื่น ๆ ที่แตกต่างกันเชิงเคมีอาจมีรสหวาน แต่ไม่ได้จัดว่าเป็นน้ำตาล บางชนิดถูกใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลที่มีแคลอรีต่ำ เรียกว่าเป็น วัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล (artificial sweeteners) น้ำตาลพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อของพืช แต่มีเพียงอ้อย และชูการ์บีตเท่านั้นที่พบน้ำตาลในปริมาณความเข้มข้นเพียงพอที่จะสกัดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้อยหมายรวมถึงหญ้ายักษ์หลายสายพันธุ์ในสกุล Saccharum ที่ปลูกกันในเขตร้อนอย่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยโบราณ การขยายการผลิตเกิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 18 พร้อมกับการสร้างไร่น้ำตาลในเวสต์อินดีส และอเมริกา เป็นครั้งแรกที่คนทั่วไปได้ใช้น้ำตาลเป็นสิ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำผึ้ง ชูการ์บีต โตเป็นพืชมีรากในที่ที่มีอากาศเย็นกว่าและเป็นแหล่งที่มาส่วนใหญ่ของน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 หลังจากมีวิธีสกัดน้ำตาลเกิดขึ้นหลายวิธี การผลิตและการค้าน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการก่อตั้งอาณานิคม การมีอยู่ของทาส การเปลี่ยนผ่านไปสู่สัญญาแรงงาน การย้ายถิ่นฐาน สงครามระหว่างชาติที่ครอบครองน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 การรวมชนชาติและโครงสร้างทางการเมืองของโลกใหม่ โลกผลิตน้ำตาลประมาณ 168 ล้านตันในปี..

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และน้ำตาล

ไซดอน

ซดอน (Sidon) หรือ ศ็อยดา (صيدا; ฟินิเชีย: צדן, Ṣydwn; Σιδών; Sidon; צידון, Ṣīḏōn, Sayda) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเลบานอน ในเขตผู้ว่าเลบานอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ห่างจากเมืองไทร์ไปทางเหนือราว 40 กิโลเมตร และห่างจากเมืองเบรุต เมืองหลวงของประเทศทางทิศใต้ราว 40 กิโลเมตร เป็นเมืองท่าทางทะเล ท่าเรือประมง ศูนย์กลางการค้าในเขตเกษตรกรรม และเป็นสถานีปลายทางของท่อขนส่งน้ำมันจากบ่อน้ำมันในประเทศซาอุดีอาระเบีย เมืองมีประชากรราว 200,000 คน เมืองนี้เป็นเมืองโบราณที่ตั้งขึ้นราว 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ตกอยู่ใต้การปกครองของกลุ่มชนต่าง ๆ ที่มีอำนาจในสมัยโบราณ ได้แก่ ชาวอัสซีเรีย ชาวบาบิโลเนีย และชาวเปอร์เซีย ต่อมาราว 330 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช ได้เข้ายึดครองเมือง ตกอยู่ใต้การปกครองของชาวโรมันเมื่อราว 100 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงสงครามครูเสดเปลี่ยนผู้ยึดครองหลายครั้ง จนชาวมุสลิมเข้ายึดครองประมาณ..

ดู ไทร์ (ประเทศเลบานอน)และไซดอน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Tyre, Lebanon