โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไตรไนโตรโทลูอีน

ดัชนี ไตรไนโตรโทลูอีน

ทีเอ็นที (TNT; ย่อจาก "ไตรไนโตรโทลูอีน" (Trinitrotoluene)) มีสารเคมีซึ่งมีสูตรคือ C6H2(NO2)3CH3 เป็นของแข็งสีเหลืองซึ่งบ้างใช้เป็นตัวเร่งในการสังเคราะห์เคมี แต่รู้จักกันดีที่สุดว่าเป็นวัตถุระเบิดที่มีประโยชน์โดยมีคุณสมบัติจัดการได้สะดวก สารเคมีดังกล่าวนี้ มีการสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยโจเซฟ วิลแบรนด์ (Joseph Wilbrand) เมื่อ..

28 ความสัมพันธ์: พลูโทเนียมการระเบิดที่ตุงกุสคามอธแมนมีนาคม พ.ศ. 2549รังหมาป่าสมมูลทีเอ็นทีอันดับของขนาด (มวล)อาวุธนิวเคลียร์อาถรรพณ์นิทรานครทรูสปาร์กทีเอ็นที (แก้ความกำกวม)ดวงอาทิตย์ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตรป่าโลกล้านปีนาสคาร์คัพ ซีรีส์แบ็กแรลแฟตแมนแครชแบนดิคูต (วิดีโอเกม)เมกะเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554เหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556เอซี/ดีซีเทรเวอร์ สมันดิชเทอร์เนอร์บรอดแคสทิงซิสทัม6 มิถุนายน

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

การระเบิดที่ตุงกุสคา

การระเบิดที่ตุงกุสคา หรือ เหตุการณ์ตุงกุสคา (Tunguska explosion, Tunguska event) เป็นการระเบิดอย่างรุนแรง ที่เกิดขึ้นบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำพอดกาเมนนายาตุงกุสคา (Podkamennaya Tunguska River) ไซบีเรีย จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือ กราสโนยาร์คไคร ตอนกลางของรัสเซีย) เมื่อเวลาประมาณ 7.12 น. วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2451 ตามเวลาท้องถิ่น (GMT+7 ตามเวลาในประเทศไทย) แม้ว่าสาเหตุยังคงเป็นประเด็นถกเถียง แต่การระเบิดคล้ายมากกับการระเบิดคลื่นอัดอากาศจากการแตกตัวของอุกกาบาตหรือดาวหางขนาดใหญ่ ที่ความสูงเหนือพื้นผิวโลก 5-10 กิโลเมตร (3-6 ไมล์) แม้ว่าการระเบิดของอุกกาบาตกลางอากาศก่อนถึงพื้นผิวเกิดขึ้นน้อยกว่าการชนพื้นผิว แต่ก็ยังจัดเป็นการปะทะของอุกกาบาตอีกลักษณะหนึ่ง การศึกษาต่างวาระแสดงหลักฐานตรงกันว่ามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 10-30 เมตร แต่ขนาดที่แน่นอนอ้างไม่ตรงกัน ประมาณการว่า การระเบิดนี้มีความรุนแรงเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที ระหว่าง 5 เมกะตัน ถึง 30 เมกะตัน หรือประมาณ 1,000 เท่า _ ของระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่น การระเบิดเกิดขึ้นกลางอากาศที่ความสูงประมาณ 5-10 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน การระเบิดทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนแผ่ออกเป็นวงกว้าง เทียบเท่ากับแผ่นดินไหวที่แมกนิจูด 5.0 ทำลายต้นไม้ประมาณ 80 ล้านต้น กินอาณาบริเวณประมาณ 2,150 ตารางกิโลเมตร แม้เชื่อกันว่าเหตุการณ์ตุงกุสคาเป็นการปะทะของอุกกาบาตขนาดใหญ่ที่สุดที่มนุษย์สังเกตพบในช่วงประวัติศาสตร์มนุษย์ แต่การปะทะขนาดคล้ายกันนี้พบได้ในพื้นที่มหาสมุทรที่ห่างไกล ซึ่งพลาดการสังเกตพบในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และคริสต์ทศวรรษ 1970 เพราะยังไม่มีการคิดค้นระบบตรวจการณ์ทางดาวเทียม.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและการระเบิดที่ตุงกุสคา · ดูเพิ่มเติม »

มอธแมน

วาดมอธแมน ประติมากรรมมอธแมนที่เมืองพอยต์เพลสเซนต์ มอธแมน หรือ มอธแมนแห่งพอยต์เพลสเซนต์ หรือ เบิร์ดแมน (อังกฤษ: Mothman, The Mothman of Point Pleasant, Birdman) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่มีผู้อ้างว่าพบเห็นที่เมืองพอยต์เพลสเซนต์ ในรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1966 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1967 โดยมอธแมนนั้นแปลว่า "มนุษย์ผีเสื้อกลางคืน" อ้างอิงตามลักษณะของผู้ที่อ้างว่าพบเห็น.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและมอธแมน · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รังหมาป่า

ซากของบังเกอร์ที่ใหญ่ที่สุด (ของฮิตเลอร์) ในรังหมาป่า รังหมาป่า (Wolfsschanze โวลฟส์ชันเซอ) เป็นกองบัญชาการใหญ่ทางทหารแห่งแรกในแนวรบด้านตะวันออก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นหนึ่งในกองบัญชาการฟือเรอร์ทั่วทวีปยุโรป กองบัญชาการดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเตรียมการสำหรับปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งถูกพบในป่ามัสอูเริน (Masuren) ใกล้กับเมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก ซึ่งปัจจุบัน คือ เมือง Kętrzyn ในประเทศโปแลนด์ ฮิตเลอร์เดินทางมาถึงรังหมาป่าเป็นครั้งแรกในคืนวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและรังหมาป่า · ดูเพิ่มเติม »

สมมูลทีเอ็นที

มมูลทีเอ็นที (TNT equivalent) เป็นวิธีวัดพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาในการระเบิด ตันของทีเอ็นทีเป็นหน่วยพลังงานเทียบเท่ากับ 4.184 จิกะจูล ซึ่งประมาณเท่ากับปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาในการระเบิดทีเอ็นทีหนึ่งตัน เมกะตันเป็นหน่วยพลังงานเท่ากับ 4.184 พีตาจูล กิโลตันและเมกะตันของทีเอ็นที เดิมใช้วัดอัตราพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา และใช้วัดอำนาจทำลายล้างของอาวุธนิวเคลียร์ หน่วยนี้ถูกเขียนไว้ในสนธิสัญญาควบคุมอาวุธนิวเคลียร์หลายฉบับ และระบุอำนาจทำลายล้างเมื่อเทียบกับระเบิดธรรมดาอย่างทีเอ็นที ล่าสุด สมมูลทีเอ็นทีใช้อธิบายพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาในเหตุการณ์ทำลายล้างสูงอื่น อาทิ การพุ่งชนของอุกกาบาต อย่างไรก็ตาม ทีเอ็นทีมิใช่ระเบิดตามแบบที่มีพลังงานมากที่สุด ตัวอย่างเช่น ไดนาไมต์มีความหนาแน่นของพลังงานมากกว่าทีเอ็นที 60%.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและสมมูลทีเอ็นที · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (มวล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและอันดับของขนาด (มวล) · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธนิวเคลียร์

ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและอาวุธนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาถรรพณ์นิทรานคร

อาถรรพณ์นิทรานคร เป็นตอนที่สี่ของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่อาถรรพณ์นิทรานคร เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและอาถรรพณ์นิทรานคร · ดูเพิ่มเติม »

ทรูสปาร์ก

ทรู สปาร์ก เป็นช่องรายการสำหรับเด็ก โดยเฉพาะภาพยนตร์การ์ตูน ของบริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่อง 36 (ในระบบดิจิทัล) และช่อง 28 (ในระบบแอนะล็อก) โดยมีการ์ตูนทั้งจากญี่ปุ่น สหรัฐฯ และยุโรป รวมถึงรายการสาระน่ารู้สำหรับเด็ก เช่น รายการสอนศิลปะ ทดลองวิทยาศาสตร์หรือรายการสอนภาษาอังกฤษ โดยออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและทรูสปาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ทีเอ็นที (แก้ความกำกวม)

TNT หรือ T.N.T. อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและทีเอ็นที (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและดวงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร

ับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร (WCW Monday Nitro) เป็นรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับมวยปล้ำอาชีพ ของ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง (ดับเบิลยูซีดับเบิลยู) โดยออกอากาศทุกวันจันทร์ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1995-26 มีนาคม ค.ศ.2001 ทางช่องTNT.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร · ดูเพิ่มเติม »

ป่าโลกล้านปี

ป่าโลกล้านปี เป็นตอนที่ห้าของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่ป่าโลกล้านปี เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและป่าโลกล้านปี · ดูเพิ่มเติม »

นาสคาร์คัพ ซีรีส์

มอนส์เตอร์ เอนเออะจิ นาสคาร์คัพ ซีรีส์ (Monster Energy NASCAR Cup Series) คือการแข่งขันรถยนต์ในระดับสูงสุดของ สมาคมการแข่งรถสต็อกคาร์แห่งชาติ (นาสคาร์) ซึ่งชื่อของรายการแข่งขันนั้นตั้งตามผู้สนับสนุนปัจจุบันคือ มอนส์เตอร์ เอนเออะจิ ตราประจำการแข่งขันนาสคาร์สปรินท์คัพ ซีรี.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและนาสคาร์คัพ ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

แบ็กแรล

็กเคอเรลในวงการวิทยาศาสตร์ไทยไม่นิยมอ่าน แบ็กแรล เหมือนในภาษาฝรั่งเศส นิยมใช้การอ่านภาษาอังกฤษคือ เบ็กเคอเรล ทำนองเดียวกันกับชื่อหน่วยของกระแสไฟฟ้า แอมแปร์ ซึ่งตั้งตามชื่อของ อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ โปรดดู และเอกสารวิชาการอื่นประกอบ (สัญลักษณ์: Bq) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอของกัมมันตภาพ หรือการแผ่่กัมมันตรังสี ตามนิยามของสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ หนึ่งเบ็กเคอเรลหมายถึงกัมมันตภาพหรือการแผ่รังสีที่ได้จากการสลายนิวเคลียสหนึ่งตัวภายในหนึ่งวินาที เขียนในรูปหน่วยฐานได้เป็น s−1 หน่วยเบ็กเคอเรลตั้งชื่อตามอ็องรี แบ็กแรล นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและแบ็กแรล · ดูเพิ่มเติม »

แฟตแมน

แบบจำลองของแฟตแมน หลังสงคราม แฟตแมน (Fat Man) หรือ มาร์กทรี (Mark 3) เป็นชื่อรหัสของระเบิดปรมาณูที่ถล่มเมืองนะงะซะกิ ประเทศญี่ปุ่น โดยสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดลูกนี้เป็นอาวุธนิวเคลียร์ลูกที่สองที่เคยใช้ในสงครามและเป็นระเบิดนิวเคลียร์ลูกที่สามที่มนุษย์สร้างขึ้น "Fat Man" เป็นระเบิดนิวเคลียร์ชนิดแกนพลูโตเนียม มีอานุภาพทำลายล้างเท่ากับระเบิดทีเอ็นที (TNT) 21 กิโลตัน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตทันทีกว่า 750,000 คน แฟตแมนถูกปล่อยจากระดับความสูง 1,800 ฟุต (550 เมตร) เหนือเมืองนะงะซะกิ จากเครื่องบินรุ่น B-29 Superfortress ชื่อว่า Bockscar ขับโดย พันตรี ชาร์ลส์ สวีนีย์ (Charles W. Sweeney) ลูกระเบิดนั้นมีพลังทำลายล้างเทียบเท่าระเบิดทีเอ็นทีหนักประมาณ 21,000 ตัน หรือ 8.78×1013 จูล หมวดหมู่:อาวุธนิวเคลียร์.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและแฟตแมน · ดูเพิ่มเติม »

แครชแบนดิคูต (วิดีโอเกม)

แครชแบนดิคูต (Crash Bandicoot) เป็นวิดีโอเกมแพลตฟอร์มพัฒนาโดยทีมนอตีด็อก และจำหน่ายโดยโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ลงเครื่องเพลย์สเตชัน เกมถูกรวมในเกมฉบับรีมาสเตอร์ชื่อ แครชแบนดิคูต เอ็นเซนทริโลจี มีกำหนดวางจำหน่ายลงเครื่องเพลย์สเตชัน 4 ในปี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและแครชแบนดิคูต (วิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

เมกะ

มกะ (Mega, สัญลักษณ์ M) เป็นคำนำหน้าหน่วยที่ใช้ในระบบเมตริก ที่เรียกกันว่า คำอุปสรรคเอสไอ แสดงถึงค่าหนึ่งล้าน (106 หรือ 1000000) คำดังกล่าวเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในระบบเอสไอตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเมกะ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554

หตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมิน..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554

หตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556

้นทางที่อุกกาบาตตกและจุดที่ระเบิด เปรียบเทียบขนาดอุกกาบาตกับโบอิง 747 (มีชื่อกำกับว่า Chelyabinsk meteor) เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

เอซี/ดีซี

อซี/ดีซี (AC/DC) เป็นวงร็อกออสเตรเลีย ก่อตั้งวงในซิดนีย์ ในปี 1973 โดยพี่น้องมัลคอล์มและแอนกัส ยัง ถึงแม้ว่าโดยทั่วไปจะจำแนกวงนี้ว่าเป็นแนวฮาร์ดร็อกและถือว่าเป็นผู้บุกเบิกดนตรีเฮฟวีเมทัล แต่พวกเขาก็มักจะจำแนกแนวเพลงพวกเขาว่าเป็น "ร็อกแอนด์โรล" เอซี/ดีซี เผชิญกับการเปลี่ยนสมาชิกในวงหลายหน ก่อนที่จะออกอัลบั้มชุดแรก High Voltage ในปี 1975 สมาชิกของวงเริ่มคงตัวเมื่อมือเบส มาร์ก อีแวนส์มาแทนที่ คลิฟ วิลเลียมส์ ในปี 1977 ต่อมาในปี 1979 วงได้บันทึกเสียงอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในชื่อชุด Highway to Hell นักร้องนำและผู้ร่วมเขียนเพลง บอน สก็อต เสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเอซี/ดีซี · ดูเพิ่มเติม »

เทรเวอร์ สมันดิช

ทรเวอร์ สมันดิช (Trevor Smandych) หรือฉายา ทีเอ็นที เกิดวันที่ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเทรเวอร์ สมันดิช · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์เนอร์บรอดแคสทิงซิสทัม

ทอร์เนอร์ บรอดคาซติง ซิสเตม (Turner Broadcasting System) เป็นกลุ่มสื่อมวลชนอเมริกันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของไทม์วอร์เนอร์ และจัดการการรวบรวมเครือข่ายเคเบิลทีวี ที่ริเริ่มหรือได้มาโดย เท็ด เทอร์เนอร์ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและเทอร์เนอร์บรอดแคสทิงซิสทัม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ไตรไนโตรโทลูอีนและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

T.N.T.TNTระเบิดทีเอ็นทีทีเอ็นที

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »