สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: การ์โบนาราฝอยทองสโตรปวาเฟิลทองหยิบทาร์ตไข่ซีอาแซนทินนาซีโกเร็งไข่ไข่เจียวเบเกิลเกษตรกรรมในประเทศอิหร่าน
การ์โบนารา
การ์โบนารา (Carbonara) เป็นอาหารพาสตาชนิดหนึ่งตามแบบฉบับของแคว้นลาซีโอGosetti (1967), pg.
ฝอยทอง
ฝอยทอง (fios de ovos, ฟีอุชดือโอวุช, "เส้นด้ายที่ทำจากไข่") เป็นขนมโปรตุเกส ลักษณะเป็นเส้นฝอยสีทอง ทำจากไข่แดงของไข่เป็ด เคี่ยวในน้ำเดือดและน้ำตาลทราย ชาวโปรตุเกสใช้รับประทานกับขนมปัง กับอาหารมื้อหลักจำพวกเนื้อสัตว์ และใช้รับประทานกับขนมเค้ก โดยมีกำเนิดจากเมืองอาไวรู (Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส ฝอยทองเป็นที่รู้จักในประเทศสเปนว่า อูเอโบอิลาโด (huevo hilado "ไข่ที่ปั่นเป็นเส้นด้าย"), ญี่ปุ่นว่า เครังโซเม็ง ("เส้นไข่ไก่")Kyoto Foodie,.
สโตรปวาเฟิล
ตรปวาเฟิล (stroopwafel, แปลตรงตัวว่า ขนมรังผึ้งน้ำเชื่อม) เป็นขนมชนิดหนึ่งของเนเธอร์แลนด์ ทำจากแผ่นแป้งกลมบางประกบกัน ตรงกลางสอดไส้น้ำเชื่อมข้นหนืดเหมือนน้ำตาลเคี่ยว.
ทองหยิบ
ทองหยิบ (trouxas das Caldas, โตรชัชดัชกัลดัช) เป็นขนมโปรตุเกสที่เผยแพร่ในประเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยท้าวทองกีบม้า จนเป็นที่แพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ทำจากไข่แดงตีจนฟู ก่อนนำไปหยอดลงในน้ำเชื่อมเดือดเพื่อทำให้สุก เมื่อสุกแล้วจึงนำมาจับจีบ ใส่ถ้วยตะไล ปัจจุบัน มักใช้เป็นของหวานในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานมงคลสมรส งานขึ้นบ้านใหม่ ฯลฯ.
ทาร์ตไข่
ทาร์ตไข่ (egg tart) หรือ ทาร์ตสังขยาไข่ (egg custard tart) เป็นขนมอบชนิดทาร์ตสังขยานิยมรับประทานในโปรตุเกส อังกฤษ ฮ่องกง และประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย มีส่วนประกอบหลักคือแป้งพายรอบนอก ส่วนตรงกลางมีไข่สังขยา แล้วนำไปอ.
ซีอาแซนทิน
ซีอาแซนทิน (zeaxanthin) เป็นสารกลุ่มแคโรทีนอยด์และแซนโทฟิลล์ที่พบในธรรมชาติ พบมากที่ใบพืชโดยทำหน้าที่ปรับพลังงานแสงและเป็นสารระงับพลังงานส่วนเกินจากการสังเคราะห์ด้วยแสง (non-photochemical quenching) สัตว์รับซีอาแซนทินจากการรับประทานพืช คำว่า "zeaxanthin" มาจากชื่อวิทยาศาสตร์ของข้าวโพด (Zea mays) และคำในภาษากรีก ξανθός (xanthos) ที่แปลว่าเหลือง ซีอาแซนทินมีสูตรเคมีคือ C40H56O2 เช่นเดียวกับลูทีน แต่ต่างกันตรงตำแหน่งพันธะคู่ของวงแหวนสุดท้าย ทำให้ลูทีนมีตำแหน่งไครัล 3 ตำแหน่ง ในขณะที่ซีอาแซนทินมี 2 ตำแหน่ง ซีอาแซนทินและลูทีนเป็นสารแคโรทีนอยด์สองชนิดที่พบมากในจอตา โดยซีอาแซนทินพบมากที่ส่วน macula ส่วนลูทีนพบมากที่ขอบจอตา ซีอาแซนทินช่วยกรองแสงและเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดโอกาสการเกิดจอตาเสื่อมและต้อกระจก แหล่งที่พบซีอาแซนทินมากคือสาหร่าย Spirulina จึงนิยมนำมาผลิตเป็นอาหารเสริม นอกจากนี้ยังพบในไข่ ปวยเล้ง ผักกาดหอม บรอกโคลี กีวีฟรุต หญ้าฝรั่นและเก๋ากี่ เมื่อใช้ซีอาแซนทินเป็นวัตถุเจือปนอาหาร จะมีเลขอีคือ E161h.
นาซีโกเร็ง
นาซีโกเร็ง (มาเลเซียและnasi goreng) หรือที่ในภาษามลายูปัตตานีเรียกว่า นาซิ กฺอแรฺ็ง (ออกเสียง) มีความหมายตรงตัวว่า "ข้าวผัด" เป็นอาหารที่นำข้าวสุกไปผัดกับน้ำมันหรือเนยเทียม ปรุงรสด้วยซีอิ๊วหวาน (kecap manis) หอมแดง กระเทียม มะขาม และพริก อาจมีส่วนผสมอื่นด้วย เช่น ไข่ ไก่ กุ้ง.
ไข่
อาจหมายถึง.
ไข่เจียว
ียวโมรอกโกใส่ชีสฮัลลูมี มะเขือเทศ และพริกขี้หนู ไข่เจียว เป็นอาหารทอดจากไข่ที่ทำได้ง่าย นิยมใช้ไข่ไก่หรือไข่เป็ด นำไข่มากะเทาะเปลือก ตีไข่ขาวและไข่แดงให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วเติมเครื่องปรุงรสคือ น้ำปลา ซอสหอยนางรม นม หรือ น้ำมะนาว ด้วย จากนั้นตั้งกระทะบนเตา และใส่น้ำมันหมูหรือน้ำมันพืช พอร้อน ก็นำลงทอด จนสุกจะได้แผ่นไข่สีเหลืองรับประทานได้ ถ้านํ้ามันมากจนไข่ที่เจียวฟู เรียกว่า ไข่ฟู หากนำไข่เจียวใส่ลงไปในน้ำซุป เรียกว่า ไข่น้ำ ไข่เจียวหนึ่งฟองให้พลังงานประมาณ 90 แคลอรี.
เบเกิล
กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.
เกษตรกรรมในประเทศอิหร่าน
อิหร่านเป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่เริ่มต้นทำการเกษตร แผ่นดินของอิหร่านมีประมาณ 1 ใน 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถรองรับเกษตรกรรมได้ แต่เนื่องจากสภาพดินและการชลประทานที่ไม่เพียงพอทำให้ไม่สามารถประกอบการเกษตรบนแผ่นดินเหล่านั้นได้ มีแค่ 12 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่สามารถทำเกษตรกรรมได้ (รวมถึงสวนผลไม้ ไร่องุ่นและที่ดินเพาะปลูก) แต่น้อยกว่าหนึ่งในสามของที่ดินที่เหมาะแก่การเกษตรมีระบบส่งน้ำได้ส่วนที่เหลือเป็นการเกษตรแบบแห้งแล้ง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านมีสภาพที่ดินอุดมสมบูรณ.