โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โอลิมปิกฤดูร้อน 1988

ดัชนี โอลิมปิกฤดูร้อน 1988

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21 ประจำปี..

77 ความสัมพันธ์: ชิน แท-ช็อลฟลอเรนซ์ กริฟฟิท จอยเนอร์ฟุตบอลทีมชาติสหภาพโซเวียตฟุตบอลทีมชาติอิรักฟุตบอลทีมชาติอินเดียฟุตบอลโอลิมปิกทีมชาติเยอรมนีพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018กุสุมา วาร์ดานีกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – ทีมชาย – กลุ่มเอกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988กีฬาแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988กีฬาในโอลิมปิกกีฬาโอลิมปิกกีฬาเทควันโดในโอลิมปิกฤดูร้อนกีฬาเทเบิลเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988มวยสากลในเอเชียนเกมส์ 2014รอย โจนส์ จูเนียร์รายชื่อตุ๊กตาสัญลักษณ์โอลิมปิกรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิกรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกรายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิกรางวัลโทรทัศน์ทองคำริดดิค โบว์ลีลีเอส ฮันดายานีวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรูศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติสหภาพโซเวียตในโอลิมปิกสาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิกสนามกีฬาโอลิมปิกสนามกีฬาโอลิมปิก (โซล)อุทยานโอลิมปิกอุทยานโอลิมปิกโซลอูเว โพรส์เคอี จิน-อกฮิโระชิ โฮะเคะสึผจญ มูลสันจิกมี เชอริงดมิทรี คารีนคำปฏิญาณโอลิมปิกคิม กวัง-ซ็อนคิม ฮย็อง-ชิลต่อศักดิ์ ศศิประภายิมฉัตรชัย สาสะกุลซูว็อน...ประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกประเทศมาเลเซียในโอลิมปิกประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิกประเทศแอลจีเรียในโอลิมปิกประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิกประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1988ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988ประเทศเวียดนามในโอลิมปิกประเทศเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016ปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮันนูร์ฟีตรียานา ซัลมันแบนตั้มเวทโยะชิฮิโระ สึมุระยะโรมารีอูโลรองต์ บูดูอานีโอ ควัง-ซูโอลิมปิก 1988โอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูหนาว 2018โซลโซลแลนด์โน แท-อูไมเคิล คาร์บาฮาลไซมอน แฟร์เวเธอร์เบแบตูเกร็ก ลูเกนิส ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »

ชิน แท-ช็อล

น แท-ช็อล (신대철; Sin Dae-cheol) เป็นอดีตนักจักรยานชาวเกาหลีใต้ เขาเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 และโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และเอเชียนเกมส์ 1986.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และชิน แท-ช็อล · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์ กริฟฟิท จอยเนอร์

ฟลอเรนซ์ เดลอเรซ กริฟฟิท จอยเนอร์ (Florence Delorez Griffith Joyner) หรือที่รู้จักในชื่อ โฟล-โจ (Flo-Jo) เป็นนักกรีฑาชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นสตรีที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก โดยเป็นเจ้าของสถิติโลก และเหรียญทองประเภทวิ่ง 100 เมตร และ 200 เมตรในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ สถิติของเธอยังไม่มีนักกีฬาหญิงคนใดทำลายได้มาจนถึงปัจจุบัน ฟลอเรนซ์ จอยเนอร์เสียชีวิตด้วยวัยเพียง 38 ปี แพทย์วินิจฉัยว่าเธอเสียชีวิตจากการขาดอากาศ เนื่องจากอาการชักขณะกำลังนอนหลั.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฟลอเรนซ์ กริฟฟิท จอยเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติสหภาพโซเวียต

ฟุตบอลทีมชาติสหภาพโซเวียต (сбо́рная Сове́тского Сою́за по футбо́лу) เป็นอดีตทีมฟุตบอลตัวแทนของสหภาพโซเวียต ต่อมาในปี..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฟุตบอลทีมชาติสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก (منتخب العراق لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐอิรัก อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก (IFA) ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1948 และได้เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกของฟีฟ่า ในปี 1950 จากนั้นได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ในปี 1970 และเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) ในปี 2000 ทีมชาติอิรักถือว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จอย่างมากชาติหนึ่งในกลุ่มประเทศแถบอาหรับ เคยเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก 4 ครั้ง (1980,1984,1988,2004) โดยผลงานดีที่สุดของทีมชาติอิรักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกคือการคว้าอันดับ 4 ในโอลิมปิก 2004 ที่ประเทศกรีซ และเคยผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย 1 ครั้ง ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1986 ที่ประเทศเม็กซิโก สำหรับผลงานในระดับทวีปเอเชียนั้นทีมชาติอิรักเคยได้เหรียญทองในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1982 ที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย และสามารถสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเชียนคัพ ซึ่งเป็นรายการใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียได้ 1 สมัย ในปี 2007 ส่วนในการแข่งขันในระดับภูมิภาค ทีมชาติอิรักเคยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก ในปี 2002 รวมถึงคว้าแชมป์ฟุตบอลรายการ อาหรับ เนชันส์คัพ ได้ถึง 4 สมัย (ปี 1964,1966,1984,1988) นอกจากนี้ทีมชาติอิรักยังเคยได้รับเลือกจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ให้เป็นทีมชาติยอดเยี่ยมประจำทวีปเอเชียถึง 2 ครั้ง (ปี 2003 และ 2007) โดยเป็นชาติเดียวในเอเชียตะวันตกที่เคยได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฟุตบอลทีมชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย

ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอินเดีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลออลอินเดีย และยังเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลฟุตบอลเอเชียใต้ ทีมชาติมีช่วงที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1950-60 ภายใต้การคุมทีมของ Syed Abdul Rahim อินเดียได้เหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ปี 1951 และ 1962 และจบอันดับที่สี่ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 อินเดียไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลก แม้ว่าจะเคยได้สิทธิ์เข้าแข่งขันแทนที่ทีมอื่นในกลุ่มที่ถอนตัวไปในปี 1950 แต่อินเดียก็ถอนตัวก่อนที่จะเปิดการแข่งขัน ทีมชาติอินเดียเข้าร่วมแข่งขันเอเชียนคัพ 3 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือ อันดับรองชนะเลิศในปี 1964 อินเดียยังได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียใต้ โดยชนะเลิศ 6 สมัย นับตั้งแต่มีการแข่งขันในปี..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฟุตบอลทีมชาติอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโอลิมปิกทีมชาติเยอรมนี

ฟุตบอลโอลิมปิกทีมชาติเยอรมนี (Deutsche Fußballolympiamannschaft) เป็นฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีในการลงแข่งขันกีฬาโอลิมปิก อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเยอรมนี.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฟุตบอลโอลิมปิกทีมชาติเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018

ีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 กำหนดจัดขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 · ดูเพิ่มเติม »

กุสุมา วาร์ดานี

กุสุมา วาร์ดานี (Kusuma Wardhani) นักยิงธนูชาวอินโดนีเซีย เกิดเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกุสุมา วาร์ดานี · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988

การแข่งขันบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 เป็นการแข่งขันบาสเกตบอลโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในโซล ประเทศเกาหลีใต้ กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 17-30 กันยายน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาบาสเกตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิก (Football) การแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกเริ่มขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 โดยกำหนดให้นักกีฬามาจากนักฟุตบอลสมัครเล่น เริ่มแรกอังกฤษได้เหรียญทองในปี 1900 1908 และ 1912 หลังจากนั้นก็ไม่ได้เหรียญทองอีกเลย ฮังการีเคยครองเหรียญทองปี 1964 และ 1968 โดยทำสถิติชนะรวด 18 นัด อุรุกวัยก็เป็นอีกทีมที่ชนะสองครั้งติดต่อกันในปี 1924 และ 1928 ในปี 1996 ไนจีเรียสามารถครองเหรียญทองได้ ส่วนฟุตบอลหญิงในกีฬาโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นในปี 1996 ที่สหรัฐอเมริกา และเจ้าภาพก็ได้ครองเหรียญทองเป็นประเทศแรก ในปี 1984 คณะกรรมการโอลิมปิกสากลอนุญาตให้นักกีฬาอาชีพลงแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ ดังนั้นกีฬาฟุตบอลจึงเปลี่ยนกฎให้นักกีฬาอาชีพลงเล่นได้ โดยมีข้อบังคับว่า ทีมชายจะต้องมีอายุต่ำกว่า 23 ปี และอนุญาตให้แต่ละทีมมีผู้เล่นที่อายุเกินได้ 3 คนเท่านั้นจากจำนวนรายชื่อผู้เล่น 18 คน ที่ส่งมา ส่วนฟุตบอลหญิงมีกฎบังคับว่า ผู้เล่นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปี กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – ทีมชาย – กลุ่มเอ

ป็นการแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ที่ประเทศบราซิล โดยมี 4 ทีมคือ บราซิล แอฟริกาใต้ อิรัก เดนมาร์กแต่ละทีมแข่ง 3 นัด ทีมที่คะแนนมากที่สุด 2 อันดับแรก จะผ่านเข้า รอบก่อนรองชนะเลิศ ต่อไป.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – ทีมชาย – กลุ่มเอ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาวอลเลย์บอล (Volleyball) ในกีฬาโอลิมปิกนั้น องค์กรที่ควบคุมดูแลการแข่งขันคือ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (Federation Internationale De Volleyball - FIVB) ในปี 1949 คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee-IOC) ได้ประกาศรับรองกีฬาชนิดนี้ แต่ยังอยู่ในฐานะกีฬาที่ไม่ได้มีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก และในปีเดียวกันนั้นเองก็ได้มีการจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลกขึ้นเป็นครั้งแรก ส่วนประเภทหญิงนั้นเกิดขึ้นอีก 3 ปีต่อมา และโซเวียตก็ครองความเป็นจ้าว ในปี 1964 วอลเลย์บอลได้รับการบรรจุในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ญี่ปุ่นซึ่งเป็นเจ้าภาพได้เหรียญทองประเภทหญิง ทั้งโซเวียตและญี่ปุ่นก็ครองดับอันดับต้นๆมาตลอดจนถึงทศวรรษที่ 80 อเมริกาเริ่มทวงความเป็นจ้าวกลับคืนมาด้วยการคว้าเหรียญทองวอลเลย์บอลประเภทชายในโอลิมปิก 2 สมัยติดต่อกัน ในปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และในปี 1988 ที่โซล ส่วนวอลเลย์บอลชายหาดมีการแข่งขันครั้งแรกในโอลิมปิก ที่แอตแลนตา สหรัฐอเมริกา ในปี 1996.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988

การแข่งขันว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 เป็นการแข่งขันว่ายน้ำโอลิมปิกที่จัดขึ้นในโซล ประเทศเกาหลีใต้ กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 18-25 กันยายน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาว่ายน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988

การแข่งขันแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 เป็นการแข่งขันแบดมินตันโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในโซล ประเทศเกาหลีใต้ กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาแบดมินตันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาในโอลิมปิก

กีฬาในโอลิมปิก (Olympic Sports) คือกีฬาชนิดต่างๆที่บรรจุไว้ในกำหนดการโอลิมปิก (Olympic program) เพื่อแข่งขันกันในการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศขนาดใหญ่ที่สุด เรียกว่าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic Games) กีฬาเหล่านี้มีสหพันธ์โลกหรือสหพันธ์กีฬาระหว่างประเทศของแต่ละกีฬาควบคุม สหพันธ์เหล่านี้เรียกเป็นทางการว่า สหพันธ์ระหว่างประเทศ (Internationales Federations) และขึ้นกับคณะกรรมการโอลิมปิกสากล โดยในตารางต่อจากนี้ ตัวจุด()จะหมายถึงว่าในปีนั้นๆกีฬาชนิดนี้เป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเทควันโดในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาเทควันโด้ในโอลิมปิก (Taekwondo) เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของชาวเกาหลีที่มีการกระโดดเตะและหมุนตัวเตะเป็นเอกลักษณ์ ในปี ค.ศ. 1973 ได้มีการจัดแข่งขันเทควันโด้ชิงแชมป์โลกขึ้นเป็นครั้งแรก และเข้ามาเป็นกีฬาสาธิตในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 เมื่อเกาหลีใต้ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพที่โซล และโอลิมปิกครั้งที่ 25 โอลิมปิกฤดูร้อน 1992 ที่บาร์เซโลนา ประเทศสเปน ส่วนที่แอตแลนต้าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 นั้น ไม่มีการแข่งขันเทควันโด้ จนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ที่ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เทควันโด้กลายเป็นกีฬาชิงเหรียญทองอย่างเต็มตัว.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาเทควันโดในโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเทเบิลเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988

การแข่งขันเทเบิลเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 เป็นการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในโซล ประเทศเกาหลีใต้ กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 23 กันยายน - 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และกีฬาเทเบิลเทนนิสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

มวยสากลในเอเชียนเกมส์ 2014

มวยสากลในเอเชียนเกมส์ 2014 ได้รับการจัดขึ้น ณ ซอนฮักยิมเนเซียม อินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน ถึงวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และมวยสากลในเอเชียนเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

รอย โจนส์ จูเนียร์

รอย โจนส์ จูเนียร์ (Roy Jones, Jr.) มีชื่อจริงว่า รอย ลีเวสต้า โจนส์ จูเนียร์ (Roy Levesta Jones, Jr.) เกิดวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1969 ที่เมืองเพนซาโคล่า รัฐฟลอริดา นักมวยสากลชาวอเมริกัน เขาคืออดีตแชมป์โลกสี่รุ่น และได้รับการยอมรับอย่างมากว่าเป็นหนึ่งในนักมวยที่เก่งที่สุดตลอดกาล รอย โจนส์ จูเนียร์ มีชื่อเสียงโด่งดังมาตั้งแต่ยังชกมวยสากลสมัครเล่นอยู่ เมื่อติดทีมชาติสหรัฐอเมริกา ในรุ่นไลท์มิดเดิลเวท ในการแข่งขันโอลิมปิคที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ โจนส์สามารถผ่านไปจนถึงรอบชิงชนะเลิศได้ แต่ปรากฏว่าเมื่อต้องพบกับ ปาร์ค ซี-ฮัน นักมวยเจ้าภาพ โจนส์ถูกปล้นชัยชนะไปอย่างหน้าตาเฉย โดยแพ้คะแนนไปอย่างขัดสายตาคนดูทั้งโลก ซึ่งผลการชกในครั้งนี้ถือเป็นข้อครหาข้อหนึ่งของการแข่งขันโอลิมปิคครั้งนี้เลยทีเดียว หลังจากนั้น จึงหันมาชกมวยสากลอาชีพ มีสถิติชนะรวด โดยไม่มีแพ้หรือเสมอ จนได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกรุ่นมิดเดิลเวท สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ที่ว่างอยู่กับ เบอร์นาร์ด ฮอปกินส์ นักมวยเพื่อนร่วมชาติ ผลปรากฏว่าโจนส์เป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้อย่างเอกฉันท์เมื่อครบ 12 ยก เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 ในรุ่นนี้โจนส์ป้องกันแชมป์เพียงครั้งเดียว โดยชนะน็อกไปในยกที่ 2 จากนั้นจึงสละเข็มขัดขึ้นไปชกในรุ่นที่ใหญ่กว่าเดิม คือ ซูเปอร์มิดเดิลเวท และได้ชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ของ IBF กับ เจมส์ โทนีย์ ยอดนักชกไร้พ่ายในเวลานั้น ปรากฏว่าโจนส์ก็สามารถเอาชนะได้อย่างขาดลอยอีกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 รอย โจนส์ จูเนียร์ ป้องกันตำแหน่งแชมป์ซูเปอร์มิดเดิลเวทไว้ได้ทั้งหมด 5 ครั้ง แล้วจึงสละแชมป์ขยับขึ้นไปชกในรุ่นไลท์เฮฟวี่เวท จนได้โอกาสชิงแชมป์ที่ว่างของ WBC กับ ไมค์ แม็คคัลลัม ก็ปรากฏว่าโจนส์ก็เป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้อีกเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 ที่เมืองแทมปา แต่แล้วนักมวยไร้พ่ายอย่าง รอย โจนส์ จูเนียร์ ก้ต้องมาพบกับความพ่ายแพ้เป็นครั้งแรก เมื่อป้องกันตำแหน่งแชมป์ไลท์เฮฟวี่เวทนี้ครั้งแรก เมื่อแพ้ฟาลว์ต่อ มอนเทล กริฟฟิน ไปอย่างไม่มีใครคาดคิดมาก่อน เพราะชกติดพันขณะที่กริฟฟินทรุดลงไปในยกที่ 9 กรรมการห้ามบนเวทีเห็นว่าเป็นการชกซ้ำ จึงตัดสินให้โจนส์แพ้ไป รอย โจนส์ จูเนียร์ จึงเก็บความแค้นนี้ไว้ และมาระบายออกเมื่อได้โอกาสล้างตากับกริฟฟินอีกครั้ง คราวนี้โจนส์น็อกกริฟฟินแย่งเข็มขัดแชมป์คืนมาได้แค่ยกแรกเท่านั้นเอง เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1997 รอย โจนส์ ป้องกันตำแหน่งในรุ่นไลท์เฮฟวี่เวทนี้ไว้ได้ถึง 12 ครั้ง โดยทำการรวบแชมป์ของทั้ง 3 สถาบันใหญ่ และสถาบันเล็ก ๆ อย่าง IBO และ IBA และรวมถึงสถาบันระดับภูมิภาคอย่าง NBA ด้วย ซึ่งในช่วงนี้ รอย โจนส์ จูเนียร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นนักมวยที่เก่งกาจที่สุดในโลกเมื่อเทียบกันปอนด์ต่อปอนด์ จนเรียกได้เลยว่า ไม่มีใครที่จะเป็นคู่ปรับกับโจนส์ได้ในรุ่นระหว่างนี้ บวกกับการออกหมัดที่ว่องไวมาก จนกล่าวได้ว่าเป็นสปีดหมัดที่ไวที่สุดในวงการมวยโลกเท่าที่เคยมีมาเลยทีเดียว จากนั้น รอย โจนส์ จึงข้ามไปชกในรุ่นเฮฟวี่เวท ซึ่งโจนส์ก็ประสบความสำเร็จเมื่อเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนน จอห์น รุยซ์ แชมป์โลกเฮฟวี่เวทชาวอเมริกัน ของ WBA ไปได้เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทั้งที่ก่อนการชกโจนส์ชั่งน้ำหนักได้เพียงแค่ 193 ปอนด์เท่านั้น (88 กิโลกรัม) ขณะที่รุยซ์หนักถึง 226 ปอนด์ (103 กิโลกรัม) และนับว่าโจนส์เป็นนักมวยที่ขึ้นมาจากรุ่นมิดเดิลเวทเป็นคนแรกในรอบ 106 ปี ที่สามารถเอาชนะในรุ่นเฮฟวี่เวทได้ และเป็นคนแรกด้วยที่ขึ้นมาจากรุ่นมิดเดิลเวทที่ได้แชมป์โลกในรุ่นเฮฟวี่เวท จากนั้นโจนส์ก็ได้สละแชมป์โลกไปโดยไม่ได้ป้องกันตำแหน่งกับใคร เพื่อลดกลับไปชกในรุ่นไลท์เฮฟวี่เวทที่เหมาะสมกับตนเองตามเดิม และโจนส์ก็สามารถเอาชนะคะแนน อันโตนิโอ ทาร์เวอร์ นักมวยเพื่อนร่วมชาติเจ้าของเหรียญทองแดงในโอลิมปิคที่แอตแลนต้า ได้เป็นแชมป์โลกไลท์เฮฟวี่เวทของ WBC และ IBO อีกครั้ง แต่ผลการชกครั้งนี้หลายฝ่ายเห็นว่าทาร์เวอร์ทำได้ดีกว่าและน่าจะเป็นฝ่ายชนะคะแนนมากกว่า ทั้งคู่จึงได้ล้างตากันอีกครั้ง ในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 2004 คราวนี้ปรากฏว่าเป็นฝ่ายเทรเวอร์ที่เอาชนะทีเคโอโจนส์ได้ไปอย่างหายสงสัย จากนั้นรอย โจนส์ ได้หวนกลับมาชิงแชมป์โลกอีกครั้งของ IBF กับ เกล็น จอห์นสัน นักชกชาวจาเมก้า ปรากฏว่าโจนส์เป็นฝ่ายแพ้น็อกจอห์นสันไปอีกในยกที่ 9 เมื่อเดือนกันยายน ปีเดียวกัน หลังจากนั้นในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2005 โจนส์ก็ได้มีโอกาสชกล้างตาอีกครั้งกับทาร์เวอร์ คราวนี้โจนส์ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยกไปอีก ท่ามกลางเสียงกล่าวขานว่า หมดยุคของเขาแล้ว รอย โจนส์ จูเนียร์ ยังคงชกทำฟอร์มไปอีก 3 ครั้ง รวมทั้งการเอาชนะคะแนน เฟลิกซ์ ทรินิแดด อดีตยอดนักมวยชาวเปอร์โตริกันที่หวนกลับชกอีกครั้งในรุ่นไลท์เฮฟวี่เวทด้วย และรอย โจนส์ ก็ได้พบกับ โจ คัลซากี้ ยอดนักชกชาวเวลส์ ผู้เป็นเจ้าของสถิติไม่แพ้ใครและเป็นแชมป์ไลท์เฮฟวี่เวทผู้ป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากมายของ WBO เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 และเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปเมื่อครบ 12 ยก ท่ามกลางหน้าตาที่แตกยับเยิบ และรอย โจนส์ ก็ยังไม่ได้ขึ้นเวทีอีกเลยนับจากนี้ ในช่วงที่รุ่งเรือง รอย โจนส์ จูเนียร์ นอกจากถูกยกย่องว่าเป็นนักมวยที่เก่งที่สุดในโลกเมื่อเทียบกันปอนด์ต่อปอนด์แล้ว เขายังใช้เวลาว่างจากการชกมวยเล่นบาสเก็ตบอลด้วย โดยเล่นในทีมของรัฐฟลอริดาบ้านเกิดในลีกระดับรองมาจาก NBA และยังเป็นศิลปินเพลงแร็พ ได้ออกอัลบั้มถึงหลายชุด และยังเป็นนักแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดในบทตัวประกอบอีกด้วย ผลงานการแสดงของโจนส์ก็ได้แก่ ''The Devil's Avocate'' ในปี ค.ศ. 1996 และ ''The Matrix Reloaded'' ในปี ค.ศ. 2003 เป็นต้น.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรอย โจนส์ จูเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตุ๊กตาสัญลักษณ์โอลิมปิก

ตุ๊กตาสัญลักษณ์โอลิมปิก (Olympic mascot) เป็นตุ๊กตาสัญลักษณ์ในกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกเมื่อปี 1968 เว็นล็อก และ แมนด์วิลล์ ตุ๊กตาสัญลักษณ์โอลิมปิกฤดูร้อน 2012และพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรายชื่อตุ๊กตาสัญลักษณ์โอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก

ตามธรรมเนียมการนำเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปียไปยังประเทศเจ้าภาพได้นำมาใช้เป้นครั้งแรกในปี 1936 ซึ่งผู้ถือคบเพลิงคนสุดท้ายในพิธีเปิดโอลิมปิก นั้นอาจจะเป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียง (เลิกเล่น หรือยังเล่นอยู่ก็ได้) ซึ่งเป็นผู้สร้างผลงานทางด้านกีฬาให้แก่ประเทศเจ้าภาพ หรืออาจจะเป็นเยาวชน หรือบุคคลทางสัญลักษณ.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรายพระนามและรายนามผู้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิก

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นกิจกรรมที่มีการแข่งขันหลายกีฬาใหญ่ที่สุด มีการคว่ำบาตรอยู่ทั้งหมด 7 ครั้งของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน การคว่ำบาตรครั้งแรกเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และการคว่ำบาตรครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ประเทศโรดีเชียเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีสิทธิ์ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เกิดเหตุเมื่อการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติยกเลิกการให้ประเทศโรดีเชียเข้าร่วม เนื่องจากบางประเทศในกลุ่มแอฟริกันประท้วง.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ริดดิค โบว์

ริดดิค ลามอนท์ โบว์ (Riddick Lamont Bowe) เกิดวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1967 ที่บรุกลิน นครนิวยอร์ก เป็นนักมวยสากลระดับอาชีพชาวอเมริกัน เขาเป็นอดีตแชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทสองสมัย โดยชนะรายการสมาคมมวยโลก, สภามวยโลก และสหพันธ์มวยนานาชาติเป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และริดดิค โบว์ · ดูเพิ่มเติม »

ลีลีเอส ฮันดายานี

ลีลีเอส ฮันดายานี (Lilies Handayani) นักยิงธนูชาวอินโดนีเซีย เกิดเมื่อ 15 เมษายน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และลีลีเอส ฮันดายานี · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย

เอคาเตรีนา กาโมวา หนึ่งในอดีตสมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซียhttp://www.siamsport.co.th/column/120811_181.html วอลเลย์บอลไทย: เมื่อ ''กาโมว่า'' หันหลังให้กับทีมชาติ วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย (Женская сборная России по волейболу) เป็นทีมชาติของประเทศรัสเซีย ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลรัสเซีย และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ ทีมนี้ลงแข่งขันในช่วง..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน

มาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน (中國國家女子排球隊) เป็นตัวแทนของประเทศจีนในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้จัดได้ว่าเป็นหนึ่งในทีมวอลเลย์บอลหญิงระดับแถวหน้าของโลก โดยเป็นฝ่ายชนะการแข่งขันโอลิมปิกถึง 2 สมัย (ค.ศ. 1984 และ 2004) ทีมชาติหญิงของจีนเคยครองแชมป์การแข่งขันวอลเลย์บอลชิงแชมป์โลกในช่วงทศวรรษ 1980 ได้ถึงห้าสมัยติดต่อกัน ทีมนี้ยังได้สั่งสมประสบการณ์และการพัฒนาฝีมือในช่วงทศวรรษ 1990 ก่อนที่จะครองแชมป์รายการเวิลด์คัพใน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู (Selección femenina de voleibol del Perú) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศเปรู ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเปรู และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ ทีมนี้เป็นหนึ่งในทีมระดับแถวหน้าของโลกในช่วงยุคทศวรรษที่ 1980 และเคยได้รับรางวัลเหรียญเงินจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ

ทางเข้าไอบีซีในฟุตบอลโลก 2010 ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcasting Center; อักษรย่อ: IBC) เป็นศูนย์กลางสำหรับการกระจายเสียงและการแพร่ภาพ ซึ่งรวมเรียกว่าวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงระหว่างการแข่งขันกีฬารายการสำคัญ มักจะเปิดทำการควบคู่ไปกับ ศูนย์สื่อมวลชนหลัก (Main Press Center; อักษรย่อ: MPC) ซึ่งเป็นศูนย์กลางสำหรับข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการแข่งขันครั้งนั้น เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับผู้สื่อข่าว ในสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อประสม สื่อดิจิตอล และสื่อประเภทอื่น.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียตในโอลิมปิก

หภาพโซเวียต เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1952.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และสหภาพโซเวียตในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิก

รณรัฐคองโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในนาม"ประเทศคองโก"เป็นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1964และเป็นการส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันมากที่สุดจากทุกครั้ง และสาธารณรัฐคองโกยังไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว จนถึงโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 คองโกก็ยังไม่สามารถคว้าเหรียญรางวัลมาได้ สรุปแล้วมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกทุกครั้งรวม 66 คน แบ่งเป็นชาย 39 คน หญิง 27 คน.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และสาธารณรัฐคองโกในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ไม่ได้จัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ที่เคยเป็นสนามกีฬาหลักในครั้งที่ 14 เมื่อปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แต่เป็นที่สนามกีฬาแห่งใหม่ในแขวงสแตรตเฟิร์ด อย่างไรก็ตาม เวมบลีย์คงเป็นสนามแข่งขันฟุตบอลบางนัด และกลายเป็นสนามกีฬาแห่งที่สอง ซึ่งใช้แข่งขันในโอลิมปิกสองครั้ง แต่เป็นศูนย์กลางเพียงครั้งเดียว ต่อจากสนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ซึ่งใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑา ฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ กับฮอกกีในครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และเป็นสนามเหย้านัดแรก ของการแข่งขันฟุตบอลในครั้งที่ 27 เมื่อปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และสนามกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก (โซล)

นามกีฬาโอลิมปิก (โซล) หรือที่รู้จักกันในชื่อ สนามกีฬาโอลิมปิกแจมซิล ตั้งอยู่ที่เมืองโซล เกาหลีใต้ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และสนามกีฬาโอลิมปิก (โซล) · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานโอลิมปิก

อุทยานโอลิมปิก (Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก โดยปกติจะประกอบด้วย สนามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) และ ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcast Center) นอกจากนี้ อาจมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก หรือสนามจัดการแข่งขันกีฬาอื่นๆ อีกบางส่วน อย่างเช่นศูนย์กีฬาทางน้ำในกรณีโอลิมปิกฤดูร้อน หรือลานฮอกกีน้ำแข็งสำหรับโอลิมปิกฤดูหนาว นับเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งตกทอด ซึ่งยังประโยชน์แก่นครเจ้าภาพภายหลังการแข่งขันสิ้นสุดลง ทั้งนี้อาจหมายรวมถึงสวนสาธารณะในเขตเมือง และพิพิธภัณฑ์หรืออนุสรณ์ของการเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน อุทยานโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 4 ในกรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) โดยคณะกรรมการจัดการแข่งขันระบุว่า การแข่งขันทั้งหมดเท่าที่เป็นไปได้ ซึ่งประกอบด้วย ว่ายน้ำ ยิงธนู ฟันดาบ เป็นต้น จะจัดขึ้นบนทำเลเดียวกัน ซึ่งจะมีการจัดสร้างอัฒจันทร์ สำหรับกรีฑาประเภทลู่และกีฬาจักรยาน แต่การจัดตั้งศูนย์กีฬารวมในลักษณะนี้ มิได้ปรากฏในการแข่งขันทุกครั้งแต่อย่างใด โดยในโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) และครั้งที่ 21 เมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) มีการกระจายสนามแข่งขันออกไปในวงกว้าง อนึ่ง ในปีหลังนี้มีสนามแข่งขันรายการนอร์ดิกสกีใช้ชื่อว่า “อุทยานโอลิมปิกวิสต์เลอร์” (Whistler Olympic Park) สำหรับในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 31 ที่กรุงริโอเดจาเนโรของบราซิล ในปี พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) จะแบ่งสนามแข่งขันออกเป็น 4 กลุ่ม มากกว่าจะรวมกันอยู่ในอุทยานแห่งเดียว.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และอุทยานโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานโอลิมปิกโซล

อุทยานโอลิมปิกโซล (Seoul Olympic Park) เป็น อุทยานโอลิมปิก สร้างขึ้นเพื่อรองรับการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ตั้งอยู่ที่แขวงพังกี, เขตซงพา โซล ประเทศเกาหลีใต้ สระว่ายน้ำโอลิมปิกในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และอุทยานโอลิมปิกโซล · ดูเพิ่มเติม »

อูเว โพรส์เค

อูเว โพรส์เค (เกิด 10 ตุลาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักกีฬาฟันดาบ อูเว เคยเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาฟันดาบ ประเภทเดี่ยวที่ประเทศเยอรมนีตะวันออก ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และ 4 ปี ภายหลัง อูเว ได้รับเหรียญทอง จากการแข่งขัรประเภททีม ที่ประเทศเยอรมนี ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1992.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และอูเว โพรส์เค · ดูเพิ่มเติม »

อี จิน-อก

อี จิน-อก (Lee Jin-ok) เป็นอดีตนักจักรยานชาวเกาหลีใต้ เขาเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 และโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และเอเชียนเกมส์ 1986.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และอี จิน-อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระชิ โฮะเคะสึ

ระชิ โฮะเคะสึ (法華津寛; Hiroshi Hoketsu; 28 มีนาคม ค.ศ. 1941 —) เป็นนักกีฬาขี่ม้าชาวญี่ปุ่นผู้เข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 โดยอยู่ในอันดับที่ 40 ของรายการแสดงการกระโดด โฮะเคะสึยังผ่านการคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 แต่ก็ไม่สามารถเข้าแข่งขันเมื่อม้าของเขาถูกกักกัน ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 เขาได้อยู่ในอันดับที่ 9 ในประเภทเดรสซาจทีมกรังด์ปรีซ์ และอันดับที่ 35 ในประเภทเดรสซาจอินดิวิดวลกรังด์ปรีซ์ ใน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฮิโระชิ โฮะเคะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ผจญ มูลสัน

ผจญ มูลสัน นักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย ที่ได้เหรียญทองแดงโอลิมปิกเมื่อ..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และผจญ มูลสัน · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี เชอริง

กมี เชอริง (เกิด 18 ตุลาคม ค.ศ. 1959), เป็นนักยิงธนูชาวภูฏาน จิกมี เชอริง ได้เป็นตัวแทนประเทศภูฏานเข้าร่วมการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่ โซล, โดยได้อันดับที่ 22 ในการแข่งขัน.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และจิกมี เชอริง · ดูเพิ่มเติม »

ดมิทรี คารีน

มิทรี วิคโตโรวิช คารีน (Дмитрий Викторович Харин; Dmitri Viktorovich Kharine) เกิดวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1968 ที่กรุงมอสโก เป็นทั้งอดีตนักฟุตบอลระดับอาชีพและผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตูชาวรัสเซีย ในรายการคอนเฟอเรนซ์เนชันแนลให้แก่ทีมเอฟซีลูตันทาวน์ ในฐานะผู้เล่น เขาได้เป็นผู้รักษาประตูตั้งแต..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และดมิทรี คารีน · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

คิม กวัง-ซ็อน

ม กวัง-ซ็อน (Kim Kwang-sun; อักษรฮันกึล: 김광선; อักษรฮันจา: 金光善) เกิดเมื่อ 8 มิถุนายน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และคิม กวัง-ซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

คิม ฮย็อง-ชิล

ม ฮย็อง-ชิล (김형칠; Kim Hyung-chil; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 — 7 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักขี่ม้าชาวเกาหลีใต้ เขาได้รับรางวัลเหรียญเงินจากการแข่งขันอีเวนต์สามวันในเอเชียนเกมส์ 2002 ที่ปูซาน และเป็นสมาชิกที่มีอายุมากที่สุดของทีมนักกีฬาขี่ม้าชาวเกาหลีใต้ คิมยังได้เข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน ที่กรุงโซลใน ค.ศ. 1988 และบาร์เซโลนาใน ค.ศ. 1992 ตลอดจนมีผลงานที่โดดเด่นในการแข่งขันขี่ม้าชิงแชมป์โลก เขาเสียชีวิต ณ วันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และคิม ฮย็อง-ชิล · ดูเพิ่มเติม »

ต่อศักดิ์ ศศิประภายิม

ต่อศักดิ์ ศศิประภายิม มีชื่อจริงว่า ต่อศักดิ์ ผ่องสุภา เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ที่ย่านลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร มีชื่อเล่นว่า "สิงห์" เป็นลูกชายคนที่ 2 ของ ร้อยเอกไฉน ผ่องสุภา อดีตผู้จัดการทีมมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย เจ้าของฉายา "ผู้หมวดเจ้าน้ำตา" ต่อศักดิ์จบการศึกษาระดับอนุบาลจากโรงเรียนมิสกวัน มัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนปานะพันธุ์วิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2526 มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนบางกะปิ อุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ในระหว่างนี้ต่อศักดิ์ได้ขึ้นชกมวยสากลสมัครเล่นในระดับเยาวชน โดยชกในนามสถาบันการศึกษา มีผลงานดีได้รับหลายรางวัลในระดับเยาวชน จนกระทั่งได้ติดทีมชาติคัดเลือกตัวไปชกในโอลิมปิคที่โซล ประเทศเกาหลีใต้ โดยต้องพบกับ วิชัย ขัดโพธิ์ ผลการชกปรากฏว่าต่อศักดิ์เป็นฝ่ายแพ้แตก จึงเบนเข็มมาชกมวยสากลอาชีพ ชกชนะรวด 7 ครั้ง มีแพ้เพียงครั้งเดียวแก่ ถนอมศักดิ์ ศิษย์โบ๊เบ๊ นักมวยดาวรุ่งด้วยกันในขณะนั้น ต่อมาต่อศักดิ์ได้เป็นแชมป์เงาของ WBC ในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท ด้วยการเอาชนะน็อค ดาดอย แอนดูจาร์ นักมวยชาวฟิลิปปินส์ จึงได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกกับ มูน ซัง กิล นักมวยชาวเกาหลีใต้ผู้เคยชนะ เขาค้อ แกแล็คซี่ มาแล้ว ซึ่งในการชกครั้งนี้ ต่อศักดิ์เปิดเผยว่าถูกฝ่ายมูน ซัง กิล เอาเปรียบสารพัด เช่น นำไปปล่อยให้อยู่ในโรงยิมฯในสภาพอากาศที่หนาวเหน็บ โดยที่ไม่มีฮีตเตอร์ พร้อมกับริคาร์โด โลเปซ แชมป์โลกรุ่นสตอร์วเวท WBC ที่ชกในรายการเดียวกัน ซึ่งผลการชกต่อศักดิ์ก็เป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 6 หลังจากนั้นมา เส้นทางสู่แชมป์โลกของต่อศักดิ์ก็ดูเหมือนว่าจะปิดลง ต่อศักดิ์ได้เข้าทำงานในบริษัทโอสถสภาในตำแหน่ง ประชาสัมพันธ์ อีกหลายปีต่อมา คือ ในกลางปี พ.ศ. 2539 ต่อศักดิ์ก็ได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกเป็นครั้งที่ 2 แม้จะเป็นเพียงสถาบันเล็ก ๆ อย่าง WBF กับนักมวยชาวออสเตรเลีย ซึ่งต่อศักดิ์ก็สามารถทำได้แม้การชกจะเป็นไปอย่างทุลักทุเล ซึ่งต่อศักดิ์ต้องการจะเป็นแชมป์โลกสักครั้ง เพราะค่ายมวยศศิประภายิมของครอบครัว เคยมีนักมวยได้แชมป์มาทุกรายการแล้ว ไม่ว่าจะเป็นมวยไทย มวยสากลสมัครเล่น ขาดแต่เพียงแชมป์โลกมวยอาชีพอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งต่อศักดิ์ก็เคลื่อนไหวชกหลังจากนี้อีก 2 ครั้งก็แขวนนวมไปในที่สุด ปัจจุบันทำงานเป็นเทรนเนอร์ในค่ายศศิประภายิม มีสถิติการชกทั้งหมด 30 ครั้ง ชนะ 27 (น็อค 17) แพ้ 3.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และต่อศักดิ์ ศศิประภายิม · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย สาสะกุล

ฉัตรชัย สาสะกุล อดีตนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยและอดีตแชมเปี้ยนโลกมวยสากลอาชีพในรุ่นฟลายเวท ของสภามวยโลก (WBC).

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และฉัตรชัย สาสะกุล · ดูเพิ่มเติม »

ซูว็อน

ซูว็อน (ฮันกึล: 수원, ฮันจา: 水原, เสียงอ่าน) เป็นเมืองเอกของจังหวัดคย็องกี เป็นหนึ่งในเมืองสำคัญของเกาหลีใต้มีประชากรมากกว่าหนึ่งล้านคน ซูว็อนตั้งอยู่ทางตอนใต้ของโซล โดยห่างจากโซลประมาณ 30 กิโลเมตร ซูว็อนเป็นเมืองที่ยังคงกลิ่นอายของวัฒนธรรมโบราณของเกาหลี โดยเริ่มจากการเป็นหมู่บ้านเล็กๆจนในปัจจุบันเป็นเมืองอุตสาหกรรมและวัฒนธรรมที่สำคัญของเกาหลีใต้ในปัจจุบัน โดยซูว็อนเป็นเมืองเดียวในเกาหลีใต้ที่ยังคงมีกำแพงเมืองที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่ โดยกำแพงเมืองนี้ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักที่นักท่องเที่ยวอยากมาชมของจังหวัดคย็องกี เช่นเดียวกับการเป็นเมืองอุตสาหกรรม ซูว็อนเป็นที่ตั้งของโรงงานใหญ่ของซัมซุง อิเล็กทรอนิกส์ ซูว็อนมีทางด่วนสองสาย, เครือข่ายรถไฟของชาติและรถไฟไต้ดินของนครพิเศษโซล ซึ่งทำให้เกิดความสะดวกในการเดินทาง การท่องเที่ยว และการขนส่ง ซูว็อนถือเป็นเมืองศูนย์กลางแห่งการศึกษา โดยมีมหาวิทยาลัยถึง 11 แห่ง จากสิ่งนี้พร้อมด้วยเครือข่ายการขนส่งมวลชนสามารถดึงดูดผู้อยู่อาศัยจากทั่วประเทศและชาวต่างประเทศเป็นจำนวนประชากรถึง 1.85% ซูว็อนยังมีสโมสรฟุตบอลที่มีเชื่อเสียงอย่างซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ ซึ่งเป็นแชมป์เค-ลีก 4 สมัย และเป็นแชมป์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2 สมั.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และซูว็อน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก

ประเทศฟิลิปปินส์ ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ.1924 นับเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ณ สหภาพโซเวียต ที่ฟิลิปปินส์ได้ร่วมบอยคอตต์ระบอบคอมมิวนิสต์ ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ยังได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว ในปี1972,1988 และ 1992 นักกีฬาฟิลิปปินส์ได้เหรียญทั้งหมด 9 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 2 เหรียญเงิน และ 7 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศฟิลิปปินส์ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศฟิลิปปินส์ในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิก

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรก ในปี 1912.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซียในโอลิมปิก

ประเทศมาเลเซีย ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1956 (สหพันธรัฐมาลายาเข้าร่วมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 1960) จากนั้นประเทศประเทศมาเลเซียได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ณ สหภาพโซเวียต ที่มาเลเซียได้ร่วมบอยคอตต์ระบอบคอมมิวนิสต์ ซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกา นักกีฬามาเลเซียได้เหรียญทั้งหมด 4 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 2 เหรียญเงิน และ 2 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศมาเลเซียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศมาเลเซียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก

ประเทศอินโดนีเซีย ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) พร้อมกับประเทศไทย และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่โตเกียว และโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ที่ สหภาพโซเวียต นักกีฬาอินโดนีเซียได้เหรียญทั้งหมด 25 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 6 เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 10 เหรียญทองแดง ตั้งแต่ประเทศอินโดนีเซียส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศอินโดนีเซียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรียในโอลิมปิก

ประเทศแอลจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรก ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 แต่ได้รับเหรียญรางวัลครั้งแรก จากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ณ ลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศแอลจีเรียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิก

ประเทศแอลเบเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1972 พวกเขาพลาดไปถึง 4 เกม แต่ได้กลับมาเพื่อเกมส์โอลิมปิกฤดูร้อน 1992ในบาร์เซโลนา และตั้งแต่นั้นพวกเขาได้ปรากฏตัวขึ้นในทุกเกมตั้งแต่นั้นม.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศแอลเบเนียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1988 ในประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศเกาหลีใต้ใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988

ประเทศเกาหลีใต้ เป็นเจ้าภาพและได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 17 กันยายน - 2 ตุลาคม ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ณ โซล ประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามในโอลิมปิก

ประเทศเวียดนาม ได้เข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ.1952-1972 เป็นการเข้าร่วมการแข่งขันของเวียดนามใต้,1980-ปัจจุบัน เป็นการเข้าร่วมการแข่งขันของประเทศเวียดนาม) ซึ่งเวียดนามได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมตลอดทุกการแข่งขัน ยกเว้นใน โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ที่มอนทรีอัล และโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ ลอสแอนเจลิส นักกีฬาเวียดนามได้เหรียญทั้งหมด 2 เหรียญเงิน นับตั้งแต่ประเทศเวียดนามส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศเวียดนามในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

ประเทศเซเชลส์ ได้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ในเมืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิลระหว่างวันที่ 5-21 สิงหาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และประเทศเซเชลส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮัน

รษฐกิจเกาหลีใต้เติบโตไม่หยุดจากระดับใกล้ศูนย์เป็นกว่าล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐในเวลาไม่ถึงครึ่งศตวรรษ ปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮัน (한강의 기적, ฮันจา:漢江의 奇蹟, Hangangui Gijeok; Miracle on the Han River) เป็นการอ้างถึงการเจิญเติบโตอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ที่มีปัจจัยจากการส่งออก ซึ่งประกอบด้วยการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยี การตื่นตัวทางด้านการศึกษา คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง การขยายตัวอย่างรวดเร็วของชุมชนเมือง การขยายตัวของตึกระฟ้า ความทันสมัย ความประสบความสำเร็จในการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และเจ้าภาพร่วมฟุตบอลโลก 2002 การกลายเป็นประชาธิปไตยและโลกาภิวัตน์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงประเทศเกาหลีใต้จากเถ้าถ่านในช่วงสงครามเกาหลีจนกลายเป็นประเทศที่ร่ำรวยและประเทศพัฒนาแล้วในปัจจุบัน ซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจระดับล้านล้านดอลลาร์สหรัฐและมีบรรษัทข้ามชาติ ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลกอย่าง ซัมซุง แอลจี และกลุ่มบริษัทฮุนได นอกจากนี้ คำว่า "ปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮัน" ยังหมายถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของโซล ซึ่งเป็นสถานที่ที่แม่น้ำฮันไหลผ่าน และยังหมายถึงช่วงระยะเวลาระหว่าง..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และปาฏิหาริย์แห่งแม่น้ำฮัน · ดูเพิ่มเติม »

นูร์ฟีตรียานา ซัลมัน

นูร์ฟีตรียานา ซัลมัน (Nurfitryana Salman) หรือ นูร์ฟีตรียานา ไซมัน (Nurfitriyana Saiman) นักยิงธนูชาวอินโดนีเซีย เกิดเมื่อ 7 มีนาคม..2505 เข้าแข่งขันยิงธนูประเภททีมหญิงในกีฬาโอลิมปิก..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และนูร์ฟีตรียานา ซัลมัน · ดูเพิ่มเติม »

แบนตั้มเวท

แบนตั้มเวท (Bantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นเล็กที่เคยเป็นรุ่นเล็กเป็นอันดับ 2 ของโลกมาก่อน โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักตัวมากกว่า 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) และไม่เกิน 118 ปอนด์ (53.524 กิโลกรัม) โดยทุกสถาบันจะเรียกชื่อนี้เหมือนกันหมด แชมป์โลกที่ทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้มากที่สุดของรุ่นนี้คือ ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส นักมวยชาวอเมริกัน โดยทำสถิติป้องกันตำแหน่งไว้ได้ทั้งหมด 15 ครั้ง สำหรับนักมวยไทยแล้ว รุ่นแบนตั้มเวทนี้ได้ชื่อว่าเป็นรุ่นอาถรรพ์ เพราะเคยมีนักมวยไทยหลายรายที่ขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้แล้วไม่ประสบความสำเร็จ ถึงได้เป็นแชมป์ไปก็ป้องกันตำแหน่งไว้ได้ไม่นาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแชมป์ของสมาคมมวยโลก (WBA) เช่น จำเริญ ทรงกิตรัตน์ ที่เคยชิงแชมป์โลกในรุ่นนี้ถึง 3 ครั้ง แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ นักมวยไทยที่เคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 7 ราย ได้แก่ เขาค้อ แกแล็คซี่, ดาวรุ่ง ช.ศิริวัฒน์, ศิริมงคล สิงห์มนัสศักดิ์, วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น, รัตนชัย ส.วรพิน, พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม (เป็นเพียงแชมป์เฉพาะกาล) และ ผึ้งหลวง ส.สิงห์อยู่ และในส่วนของมวยสากลสมัครเล่น มีนักมวยไทย 3 คนที่ได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก คือ ผจญ มูลสัน เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1988 ที่โซล ประเทศเกาหลีใต้, วิชัย ราชานนท์ เหรียญทองแดงจากโอลิมปิก 1996 ที่นครแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา และ วรพจน์ เพชรขุ้ม เหรียญเงินจากโอลิมปิก 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ นอกจาก ออร์ลันโด้ คาร์นิซาเลส แล้ว ได้แก่ จิมมี่ คาร์รัทเธอร์, โรแบร์ โคฮัง, ไฟติ้ง ฮาราด้า, อีดอร์ โจเฟร่, หลุยส์ ซีโต้ เอสปิโนซา, อิสราเอล คอนเทรรัส, โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ, มุน ซังกิล, นานา คอนาดู, พอล อยาล่า, โฮซูมิ ฮาเซกาว่า, เฟอร์นันโด มอนเทียล, โกกิ คาเมดะ เป็นต้น.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และแบนตั้มเวท · ดูเพิ่มเติม »

โยะชิฮิโระ สึมุระยะ

ระ สึมุระยะ เป็นอดีตนักจักรยานชาวญี่ปุ่น เขาเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 และโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 และเอเชียนเกมส์ 1986.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโยะชิฮิโระ สึมุระยะ · ดูเพิ่มเติม »

โรมารีอู

รมารีอู จี โซซา ฟาเรีย (Romário de Souza Faria) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ โรมารีอู เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโรมารีอู · ดูเพิ่มเติม »

โลรองต์ บูดูอานี

ลรองต์ บูดูอานี นักมวยสากลชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโลรองต์ บูดูอานี · ดูเพิ่มเติม »

โอ ควัง-ซู

อ ควัง-ซู (오광수, Oh Kwang-Soo; เกิดเมื่อ: 30 ตุลาคม ค.ศ. 1965 ที่เมืองโคฮึง จังหวัดช็อลลาใต้ ประเทศเกาหลีใต้) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้ และติดทีมชาติเกาหลีใต้เข้าแข่งขันในกีฬาเอเชียนเกมส์ และมวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลก รวมถึงเป็นนักมวยสากลอาชีพด้วย ใน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโอ ควัง-ซู · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิก 1988

อลิมปิก 1988 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโอลิมปิก 1988 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโอลิมปิกฤดูร้อน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2018

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 (2018년 동계 올림픽) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 23 (평창 동계 올림픽) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ พย็องชัง 2018 เป็นมหกรรมกีฬาฤดูหนาวที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งจัดขึ้น ณ เมืองพย็องชัง, จังหวัดคังว็อน ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 9 - 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโซล · ดูเพิ่มเติม »

โซลแลนด์

ซลแลนด์ (Seoul Land) เป็นสวนสนุกที่ตั้งอยู่ในประเทศเกาหลีใต้ ตั้งอยู่ใน Seoul Grand Park เปิดทำการก่อนโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 โดยในในแต่ละฤดูกาลกาลจะมีเทศกาลจัดขึ้นในสวนสนุกแห่งนี้ มีขนาดเล็กกว่าเอเวอร์แลนด์ มีนักท่องเที่ยวประมาณ 3–3.5 ล้านคนต่อปี และประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ 300,000 ตารางเมตรเป็นพื้นที่สีเขียว.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโซลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โน แท-อู

น แท-อู (Roh Tae-woo; 4 ธันวาคม พ.ศ. 2475 -) เป็นอดีตนายพลของกองทัพบกเกาหลีใต้และนักการเมือง เขาเป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ลำดับที่ 6 (2531-2536) โนเป็นเพื่อนกับช็อน ดู-ฮวัน ตั้งแต่อยู่สมัยมัธยมปลายที่เมืองแดกู และในสมัยวัยรุ่นเขายังเป็นผู้เล่นรักบี้ที่ยอดเยี่ยมของสมาคมอีกด้วย, retrieved 19 August 2009.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และโน แท-อู · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คาร์บาฮาล

มเคิล คาร์บาฮาล (Michael Carbajal) เกิดวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2510 ที่เมืองฟีนิกซ์ รัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา คาร์บาฮาลได้เหรียญเงินจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ปี พ.ศ. 2531 ที่ประเทศเกาหลีใต้ ครองแชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นจูเนียร์ฟลายเวท IBF ด้วยการเอาชนะน็อกเมืองชัย กิตติเกษม ในปี พ.ศ. 2533 ในยกที่ 7 ไมเคิล คาร์บาฮาล เป็นนักมวยที่ความว่องไว ออกหมัดได้เร็ว ชกสนุก มักจะน็อกคู่ต่อสู้อยู่เสมอ ๆ ต่อมาคาร์บาฮาลได้ชกเดิมพันตำแหน่งแชมป์รุ่นนี้กับยอดแชมป์ของ WBC คือ ฮุมเบอร์โต กอนซาเลซ ในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งคาร์บาฮาลได้ถูกชกล้มในยกที่ 2 และยกที่ 5 แต่สามารถพลิกกับมาเอาชนะน็อกได้ในยกที่ 7 แต่ภายหลังเมื่อได้แก้มือกันอีกถึง 2 ครั้ง กลับเป็นฝ่ายกอนซาเลซที่เอาชนะคะแนนไปได้ โดยเฉพาะในการพบกันครั้งที่ 3 การชกทั้ง 12 ยก ดำเนินไปอย่างจืดชืด เมื่อครบยกผู้ชมทั่วสนามถึงกลับเขวี้ยงเบาะปูรองนั่งด้วยความไม่พอใจ แต่ต่อมา คาร์บาฮาลก็ยังกลับมาครองแชมป์ของ IBF ได้ด้วยการเอาชนะคะแนน เมลชอร์ ค็อป คัสโตร นักมวยชาวเม็กซิกัน ไปได้ โปสเตอร์โปรโมทการชกกับกอนซาเลซ ครั้งแรก (สังเกต มี ออสการ์ เดอ ลา โฮยา ชกร่วมรายการด้วย) จากนั้นในปี พ.ศ. 2539 คาร์บาฮาลได้แพ้คะแนนแก่นักมวยโนเนมชาวโคลัมเบีย มัวริซิโอ พาสตราน่า เสียแชมป์ IBF และจากนั้นการชกของคาร์บาฮาลก็ตกต่ำลงเรื่อย ๆ การชกมวยครั้งสุดของคาร์บาฮาลคือการได้ชิงแชมป์ WBO กับฮอร์เก้ อาร์เช่ นักมวยชาวเปอร์โตริโก ในปี พ.ศ. 2542 และเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 11 จากนั้นคาร์บาฮาลก็แขวนนวมในเวลาต่อมา ไมเคิล คาร์บาฮาล มีเชื้อสายอินเดียนแดง นับได้ว่าเป็นนักมวยรุ่นเล็กที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก และเป็นนักมวยรุ่นเล็กคนแรกที่ได้ค่าตัวมากกว่า 1 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในการชกที่พบกับฮุมเบอร์โต กอนซาเลซ ครั้งแรก จึงได้ฉายาว่า "เจ้าหนูเงินล้าน" (Million Dollar Baby).

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และไมเคิล คาร์บาฮาล · ดูเพิ่มเติม »

ไซมอน แฟร์เวเธอร์

ซมอน แฟร์เวเธอร์, โอเอเอ็ม (Simon Fairweather; 9 ตุลาคม ค.ศ. 1969 —) เป็นนักยิงธนูที่เกิดในแอดิเลด รัฐเซาท์ออสเตรเลีย เขามีส่วนสูงที่ 175 ซม.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และไซมอน แฟร์เวเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบแบตู

แซ โรแบร์ตู กามา จี โอลีเวย์รา (José Roberto Gama de Oliveira) หรือ เบแบตู (Bebeto) เกิดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และเบแบตู · ดูเพิ่มเติม »

เกร็ก ลูเกนิส

กร็ก ลูเกนิส เกรกอรี เอฟธิมิออส ลูเกนิส (Gregory Efthimios Louganis) เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1960 เป็นนักกระโดดน้ำชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของเหรียญทองโอลิมปิกฤดูร้อนจากประเภทสปริงบอร์ด 3 เมตร และแพลตฟอร์ม 10 เมตร ได้ถึง 2 สมัยติดต่อกันเมื่อปี 1984 ที่ลอสแอนเจลิส และ 1988 ที่โซล จากประเภทเดิม.

ใหม่!!: โอลิมปิกฤดูร้อน 1988และเกร็ก ลูเกนิส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

1988 Summer Olympics

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »