สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเลพ.ศ. 2448การศึกษาทางนิเวศวิทยายาปฏิชีวนะยูลีอุส รีชาร์ด เพทรีรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์วันวัณโรคโลกสมมติฐานของคอคจุลชีววิทยาเพาล์ เอร์ลิชเคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์Mycobacterium tuberculosis24 มีนาคม27 พฤษภาคม
ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล
ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล (Friedrich Gustav Jakob Henle; 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1809 – 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นพยาธิแพทย์และนักกายวิภาคศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเฟือทในราชอาณาจักรบาวาเรีย เข้าเรียนด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดลแบร์กและมหาวิทยาลัยบอนน์ ก่อนจะทำงานด้านกายวิภาคศาสตร์ที่เบอร์ลิน ต่อมาในปี..
ดู โรเบิร์ต คอคและฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล
พ.ศ. 2448
ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.
การศึกษาทางนิเวศวิทยา
Ecological study เป็นการศึกษาองค์ความเสี่ยง ต่อสุขภาพหรือผลอย่างอื่น ๆ อาศัยข้อมูลประชากรที่กำหนดส่วนโดยภูมิภาคหรือโดยกาลเวลา แทนที่จะใช้ข้อมูลในระดับบุคคล ทั้งค่าองค์ความเสี่ยงและค่าผลจะเป็นค่าเฉลี่ยของประชากรส่วนต่าง ๆ (ไม่ว่าจะกำหนดโดยภูมิภาคหรือโดยกาลเวลา) แล้วใช้เปรียบเทียบกันโดยวิธีการทางสถิติ งานศึกษาแบบนี้สามารถพบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ความเสี่ยงกับผลทางสุขภาพ บ่อยครั้งก่อนวิธีการทางวิทยาการระบาดหรือทางการทดลองอย่างอื่น ๆ ซึ่งจะแสดงตัวอย่างต่อ ๆ ไป งานศึกษาของ น..
ดู โรเบิร์ต คอคและการศึกษาทางนิเวศวิทยา
ยาปฏิชีวนะ
การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".
ยูลีอุส รีชาร์ด เพทรี
ูลีอุส รีชาร์ด เพทรี (Julius Richard Petri; 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2395 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2464) เป็นนักจุลชีววิทยาชาวเยอรมัน เป็นผู้คิดค้นจานเพาะเชื้อ (Petri dish) ขณะทำงานเป็นผู้ช่วยโรเบิร์ต คอค นายแพทย์ชาวเยอรมัน.
ดู โรเบิร์ต คอคและยูลีอุส รีชาร์ด เพทรี
รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..
ดู โรเบิร์ต คอคและรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์
วันวัณโรคโลก
วันวัณโรคโลก (World Tuberculosis Day) ตรงกับวันที่ 24 มีนาคม ของทุกปี ตั้งขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาวัณโรคที่ยังคงระบาดอยู่ในหลายส่วนของโลก ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนราว 1.6 ล้านคนต่อปีโดยเฉพาะในประเทศโลกที่สาม สาเหตุที่ตรงกับวันที่ 24 มีนาคมเนื่องจากในวันนี้เมื่อปี ค.ศ.
ดู โรเบิร์ต คอคและวันวัณโรคโลก
สมมติฐานของคอค
มมติฐานของคอค (Koch's postulates) คือเกณฑ์สี่ข้อที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ยืนยันความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างจุลชีพกับโรค สมมติฐานนี้เสนอขึ้นโดย โรเบิร์ต คอค และ เฟรดริกซ์ โลฟเฟลอร์ ในปี ค.ศ.
ดู โรเบิร์ต คอคและสมมติฐานของคอค
จุลชีววิทยา
นอาหารวุ้นซึ่งมีเชื้อจุลินทรีย์เห็นเป็นริ้วลายเส้น จุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา และ สาหร.
เพาล์ เอร์ลิช
ล์ เอร์ลิช (Paul Ehrlich; 14 มีนาคม ค.ศ. 1854 – 20 สิงหาคม ค.ศ. 1915) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน มีผลงานในด้านวิทยาภูมิคุ้มกัน โลหิตวิทยา และเคมีบำบัด เขาค้นพบวิธีก่อนหน้าการย้อมสีกรัมเพื่อจำแนกเซลล์เม็ดเลือดต่าง ๆ มีส่วนในการพัฒนาเซรุ่มและยังเป็นผู้ตั้งทฤษฎีสายโซ่ด้านข้าง (Side-chain theory) ที่ว่าด้วยระบบภูมิคุ้มกัน เพาล์ เอร์ลิช เกิดเมื่อปี..
ดู โรเบิร์ต คอคและเพาล์ เอร์ลิช
เคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์
ลเมนส์ ปีเตอร์ ฟอน เปอร์เกต์ (Clemens Peter von Pirquet; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1874 – 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย เกิดใกล้กรุงเวียนนา มีน้องชายชื่อกิวโด ฟอน เปอร์เกต์ ซึ่งต่อมาเป็นนักฟิสิกส์ เรียนวิชาเทววิทยาที่มหาวิทยาลัยอินส์บรุคและวิชาปรัชญาที่มหาวิทยาลัยเลอเฟิน ก่อนจะเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยกราซและฝึกงานที่คลินิกเด็กในเวียนนา ในปี..
ดู โรเบิร์ต คอคและเคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์
Mycobacterium tuberculosis
''Mycobacterium tuberculosis'' (ติดสีแดง) ในเนื้อเยื่อ(ติดสีน้ำเงิน) Mycobacterium tuberculosis (MTB) เป็นแบคทีเรียก่อโรคในสกุล Mycobacterium และเป็นสาเหตุของวัณโรค ค้นพบครั้งแรกเมื่อ..
ดู โรเบิร์ต คอคและMycobacterium tuberculosis
24 มีนาคม
วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.
27 พฤษภาคม
วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Robert Koch