โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรเจอร์ เซลาซนี

ดัชนี โรเจอร์ เซลาซนี

รเจอร์ เซลาซนี (Roger Zelazny) (13 พ.ค. 1937 - 14 มิ.ย. 1995) เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์และนิยายแฟนตาซีชาวอเมริกัน.

7 ความสัมพันธ์: รายชื่อนักเขียนรายชื่อนักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์รางวัลเนบิวลาลายวงกตออบิทคะสึชิกะ โฮะกุไซETAOIN SHRDLU

รายชื่อนักเขียน

ทความนี้แสดงรายชื่อนักเขียนทั้งหมด สำหรับนักเขียนชาวไทย ดูที่ รายชื่อนักเขียนชาวไท.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและรายชื่อนักเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์

้างล่างนี้เป็นการรวบรวมรายชื่อของนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ไทยและต่างชาติ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาไทย (รายชื่อภาษาอังกฤษในวงเล็บเป็นลิงก์ไปอ่านบทความในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและรายชื่อนักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเนบิวลา

รางวัลเนบิวลา (Nebula Awards) ได้มาจากการลงคะแนนเสียงของบรรดาสมาชิก Science Fiction and Fantasy Writers of America, Inc.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและรางวัลเนบิวลา · ดูเพิ่มเติม »

ลายวงกต

“วงกตคลาสสิก” เจ็ดชั้น เขาวงกตครีตทำด้วย 2500 TeaLights การเผาไหม้ในศูนย์คริสเตียนสมาธิและจิตวิญญาณของสังฆมณฑลบูร์กที่โบสถ์ Holy Cross ใน แฟรงก์เฟิร์ต-Bornheim ลายวงกตยุคสำริดแอตแลนติก ลายวงกตในภาพวาดในถ้ำในอิตาลี วงกตบนพื้นที่มหาวิหารอาเมียงส์ในฝรั่งเศส คนอสซอส ลายวงกต หรือ ลาบรินธ์ (Labyrinth) ในตำนานเทพเจ้ากรีก “Labyrinth” (λαβύρινθος, labyrinthos) คือโครงสร้างอันซับซ้อนที่ออกแบบและสร้างโดยเดดาลัสสำหรับกษัตริย์ไมนอสแห่งครีตที่คนอสซอส โดยมีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นกับดักมิโนทอร์ที่เป็นสิ่งที่มีร่างเป็นมนุษย์หัวเป็นวัว ผู้ในที่สุดก็ถูกสังหารโดยวีรบุรุษชาวเอเธนส์เธเซียส (Theseus) เดดาลัสสร้างวงกตอย่างวกวนจนเมื่อสร้างเสร็จตนเองก็แทบจะหาทางออกมาไม่ได้ อารีอัดเน (Ariadne) ให้ความช่วยเหลือเธเซียสให้หาทางออกจากได้โดยการมอบม้วนด้ายให้ม้วนหนึ่งให้วางตามเส้นทางเพื่อที่จะเดินตามรอยด้ายกลับออกมาจากวงกตได้ ในภาษาพูดของภาษาอังกฤษ “Labyrinth” มีความหมายพ้องกับคำว่า “Maze” (วงกตปริศนา) แต่นักวิชาการร่วมสมัยให้ความแตกต่างว่า “วงกตปริศนา” หมายถึงลวดลายวกวนที่ซับซ้อนที่มีทางเข้าทางออกได้หลายทาง แต่ “ลายวงกต” จะมีทางเข้าทางออกทางเดียว และทางจะไม่แตกออกไปเป็นทางย่อยเช่นที่เกิดขึ้นในวงกตปริศนาที่นำ ที่จะนำเข้าไปยังศูนย์กลาง ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าลายวงกตจะเป็นเส้นทางที่ไม่กำกวมที่นำเข้าไปยังศูนย์กลางของวงกตและนำออกมา และไม่มีวัตถุประสงค์ที่ทำให้ยากต่อการเดินตามเส้นทางเข้าไปและออกมา แม้ว่าเหรียญครีตยุคแรกบางเหรียญจะเป็นลายวกวนซ้อน (multicursal patterns) แต่ลายวกวนเดี่ยวเจ็ดชั้นแบบคลาสสิกก็กลายมาเป็นลวดลายที่ใช้บนเหรียญส่วนใหญ่มาตั้งแต่ราว 430 ปีก่อนคริสต์ศักราช และใช้กันโดยทั่วไปในการเรียกว่าเป็นวงกต – แม้ว่าในการบรรยายจะกล่าวว่ามิโนทอร์ติดกับอยู่ในวงกตปริศนาก็ตาม แม้เมื่อลายวงกตพัฒนาซับซ้อนขึ้น แต่ลายวงกตตั้งแต่สมัยโรมันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา แต่ก็เป็นลายวกวนทางเดียว (unicursal) “วงกตปริศนา” เพิ่งเริ่มมาเป็นที่นิยมกันเมื่อใช้ในการออกแบบสวนวงกตที่นิยมกันในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา ลายวงกตอาจจะปรากฏเป็นลวดลายบนเครื่องปั้นดินเผา, ตะกร้า, ลายสักบนร่างกาย, ลายบนผนังหรือกำแพงของคริสต์ศาสนสถาน โรมันใช้ลายวงกตในการตกแต่งบนผนัง, พื้นด้วยโมเสก ลายวงกตที่สร้างบนพื้นบางครั้งก็จะมีขนาดใหญ่พอที่จะใช้ในการเดินตามเส้นเข้าออกได้สำหรับการเดินกรรมฐาน.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและลายวงกต · ดูเพิ่มเติม »

ออบิท

ออบิท เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้นของไทย จัดทำโดย สำนักพิมพ์ออบิท.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและออบิท · ดูเพิ่มเติม »

คะสึชิกะ โฮะกุไซ

กุไซ หรือ คะสึชิกะ โฮะกุไซ (葛飾北斎?, Hokusai หรือ Katsushika Hokusai) (ตุลาคม หรือ พฤศจิกายน ค.ศ. 1760 - 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1849Nagata) เป็นจิตรกรภาพอุกิโยะและภาพพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นของสมัยเอะโดะของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมจีน โฮะกุไซเกิดที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) งานที่มีชื่อเสียงของโฮะกุไซที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาพพิมพ์แกะไม้ชุด “ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ” (富嶽三十六景) ที่รวมภาพ “คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ” ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณะอันเป็นที่รู้จักกันดีไปทั่วโลกที่เขียนในคริสต์ทศวรรษ 1820 โฮะกุไซ “ทัศนียภาพ 36 มุม” เพื่อเป็นทั้งการตอบสนองความต้องการของกิจการท่องเที่ยวภายในประเทศที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว และความหลงใหลส่วนตัวในการวาดภาพภูเขาฟู.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและคะสึชิกะ โฮะกุไซ · ดูเพิ่มเติม »

ETAOIN SHRDLU

etaoin shrdlu ใน ''เดอะนิวยอร์กไทมส์'' 30 ตุลาคม 1903 ETAOIN SHRDLU (เอ-ที-ออยน์ เชิร์ด-ลู) เป็นถ้อยคำภาษาอังกฤษที่ไม่มีความหมายและไร้สาระ ซึ่งปรากฏบ่อยมากในสิ่งพิมพ์ยุคพิมพ์ดีด ในยุคพิมพ์ดีด เมื่อผู้เรียงพิมพ์พิมพ์ผิดแล้ว วิธีแก้คำผิดคือต้องรอให้เต็มบรรทัดก่อน จึงค่อยวกกลับไปพิมพ์คำที่ถูกทับคำผิดนั้น อย่างไรก็ดี ผู้อ่านมักไม่สนใจคำผิด และคำผิดนั้นก็ไม่กระทบเนื้อความของสิ่งพิมพ์ด้วย ผู้เรียงพิมพ์จึงมักเลือกปล่อยบรรทัดที่พิมพ์ผิดนั้นไว้ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่ให้ถูกต่อไปแทน ในการนี้ ผู้เรียงพิมพ์มักพิมพ์อักษรเรื่อยเปื่อยต่อจากคำผิด เพื่อให้บรรทัดเต็มและจะได้ขึ้นบรรทัดใหม่เร็ว ๆ และอักษรเรื่อยเปื่อยที่พิมพ์กันบ่อยที่สุด คือ ETAOIN SHRDLU เพราะสิบสองตัวนี้กดง่ายใกล้มือ ทั้งนี้ อักษรบนแป้นเครื่องเรียงพิมพ์นั้นจัดตำแหน่งตามการใช้บ่อย และเมื่อผู้เรียงพิมพ์ทำเช่นนั้นบ่อยเข้า ๆ ก็กลายเป็นการสร้างคำประหลาด คือ ETAOIN SHRDLU และเป็นเรื่องขบขันไป ถ้อยคำ ETAOIN SHRDLU ปรากฏในสิ่งพิมพ์ยุคนั้นถี่มาก ถึงขนาดที่สมัยต่อมาได้บรรจุไว้ในพจนานุกรมสำคัญหลายฉบับ เช่น พจนานุกรมของแรนเดิมเฮาส์เว็บสเตอร์ฉบับสมบูรณ์ (Random House Webster's Unabridged Dictionary) และนับเป็นมรดกตกทอดทางประวัติศาสตร์สิ่งพิมพ์และวัฒนธรรม อนึ่ง หนังสือพิมพ์ เดอะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) ฉบับ 2 กรกฎาคม 1978 ซึ่งเป็นฉบับพิมพ์ดีดฉบับสุดท้าย ลงสารคดีชื่อ "ลาก่อน Etaoin Shrdlu" (Farewell, Etaoin Shrdlu) ด้วย ในภาษาฝรั่งเศสก็มีถ้อยคำพิมพ์ผิดลักษณะเดียวกัน คือ elaoin sdrétu.

ใหม่!!: โรเจอร์ เซลาซนีและETAOIN SHRDLU · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Roger Zelaznyโรเจอร์ เซลานี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »