สารบัญ
314 ความสัมพันธ์: บ. บุญค้ำบัวเรศ คำทองชาญ อังศุโชติชาญวิทย์ เกษตรศิริชาติชาย ปุยเปียชาติชาย เจียมศรีพงษ์ชิติพัทธ์ แทนกลางบุญพันธ์ แขวัฒนะบุญมา วงศ์สวรรค์บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์บุศย์ ปัทมศรินชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์ชนินทร์ รุ่งแสงช่วง เชวงศักดิ์สงครามฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2016ฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2017ฟุตบอลในประเทศไทยพ.ศ. 2425พ.ศ. 2552พชร ธรรมมลพรภัทร ก่อเกียรติตระกูลพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (สินธุ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช)พระตำหนักสวนกุหลาบพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)พระไชยบูลย์ ธมฺมชโยพระเกี้ยวพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พรานบูรพ์พลังพล คงเสรี... ขยายดัชนี (264 มากกว่า) »
บ. บุญค้ำ
ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบ. บุญค้ำ
บัวเรศ คำทอง
ตราจารย์กิตติคุณ บัวเรศ คำทอง (21 สิงหาคม พ.ศ. 2453 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบัวเรศ คำทอง
ชาญ อังศุโชติ
ลโท ชาญ อังศุโชติ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมัย เคยมีประสบการในการรับราชการ การทูต เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และเป็นนายทหารที่ได้รับความไว้วางใจของจอมพลถนอม กิตติขจร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชาญ อังศุโชติ
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ชาติชาย ปุยเปีย
ติชาย ปุยเปีย (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2507 ที่จังหวัดมหาสารคาม) จิตรกรชาวไทย มีผลงานจิตรกรรมในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์สังคม โดยสอดแทรกประเด็นต่างๆ ในเชิงการตั้งคำถาม การประชดประชัน ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับสภาพสังคมไทยปัจจุบัน ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชาติชาย ปุยเปีย
ชาติชาย เจียมศรีพงษ์
ติชาย เจียมศรีพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร 6 สมัย เจ้าของสโลแกน "พบง่าย ใช้คล่อง ต้องชาติชาย" ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธาน สโมสรฟุตบอลจังหวัดพิจิตร พิจิตร เอฟซี ฉายา พระยาชาละวัน ทีมในโซนภาคเหนือ ของ เอไอเอส ลีกภูมิภาค ลีก ดิวิชั่น 2 ของประเทศไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชาติชาย เจียมศรีพงษ์
ชิติพัทธ์ แทนกลาง
ติพัทธ์ แทนกลาง เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2534 เกิดที่จังหวัด บุรีรัมย์ ประเทศไทย เล่นในตำแหน่งกองหลัง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชิติพัทธ์ แทนกลาง
บุญพันธ์ แขวัฒนะ
นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร และรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 9 สมั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบุญพันธ์ แขวัฒนะ
บุญมา วงศ์สวรรค์
ญมา วงศ์สวรรค์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบุญมา วงศ์สวรรค์
บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์
ันโทบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ (21 เมษายน พ.ศ. 2449 - 29 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตนักธุรกิจและนายกเทศมนตรีเมืองกาญจนบุรี ผู้มีส่วนช่วยเหลือเชลยสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อดีตนักธุรกิจกิจการรถเมล์บุญผ่อง รถเมล์เอกชนวิ่งรับผู้โดยสารในกรุงเทพมหานคร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์
บุศย์ ปัทมศริน
มจำเลยผู้ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต รัชกาลที่ 8 พ.ศ. 2489 (จากซ้าย) นายชิต สิงหเสนี '''นายบุศย์ ปัทมศริน''' และนายเฉลียว ปทุมรส บุศย์ ปัทมศริน เป็นอดีตมหาดเล็กห้องบรรทมในรัชกาลที่ 8 ผู้ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องในการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและบุศย์ ปัทมศริน
ชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์
นกันต์ อาพรสุทธินันธ์ ชื่อเล่น กันต์ หรือ กันสมาย เป็นคนกรุงเทพฯ โดยกำเนิด เกิดเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2539 เป็น นักแสดง ชาวไทย ผลงานเรื่องแรกคือ เลิฟซิคเดอะซีรีส์ รักวุ่น วัยรุ่นแสบ ซีซั่น 1 และ 2 จากนั้นจึงเข้าเป็นนักแสดงในสังกัด จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีผลงานเด่น ที่เป็นที่รู้จักในบท พี่เปรม พี่ว้ากตัวโหด จากเรื่อง SOTUS The Series พี่ว้ากตัวร้ายกับนายปีหนึ่ง โดยแสดงคู่กับ ธีรภัทร โลหนันทน์ ซึ่งรับบทเป็น วาด ผลงานเด่นเรื่องที่สองคือ My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน ตอน Monster Romance รับบทเป็นเต้ และเป็นการรับบทร้ายเต็มตัวครั้งแรก จากนั้นกลับมารับบท พี่เปรม อีกครั้งใน SOTUS S The Series กันสมายยังมีโอกาสร่วมงาน LIVE Concert ในประเทศ และ Fan Meeting ต่างประเทศ ภายใต้สังกัด GMMTV และในวันที่ 5..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์
ชนินทร์ รุ่งแสง
นายชนินทร์ รุ่งแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองประธานสภากรุงเทพมหานคร 2 สมั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและชนินทร์ รุ่งแสง
ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม
ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและช่วง เชวงศักดิ์สงคราม
ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี
อมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รองนายกรัฐมนตรี จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี มีนามเดิมว่า ฟื้น ฤทธาคนี เป็นบุตรของนายฟุ้ง ฤทธาคนีและนางพุดตาน ฤทธาคนี ศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี
ฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2016
ฟุตบอลนักเรียน "แชมป์กีฬา7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2016" เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยนักเรียนชิงแชมป์ระดับมัธยมศึกษาของประเทศไทย ภายใต้การจัดการของช่อง 7 สี โดยมี บริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด เป็นผู้ให้การสนับสนุนหลัก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2016
ฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2017
ฟุตบอลนักเรียน "แชมป์กีฬา7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2017" เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยนักเรียนชิงแชมป์ระดับมัธยมศึกษาของประเทศไทย ภายใต้การจัดการของช่อง 7 สี โดยมี บริษัท คิง เพาเวอร์ จำกัด เป็นผู้ให้การสนับสนุนหลัก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฟุตบอลแชมป์กีฬา 7 สี แชมเปี้ยนคัพ ปี 2017
ฟุตบอลในประเทศไทย
ฟุตบอลถือเป็นกีฬาซึ่งเป็นที่นิยมสูงสุดในประเทศไทย มีสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแล ฟุตบอลทีมชาติไทย ซึ่งประสบความสำเร็จในระดับอาเซียน และรายการแข่งขันแบบอาชีพ ไทยพรีเมียร์ลีก โดยในอดีต เคยจัดการแข่งขันระดับโลกหลายครั้ง เช่นเอเชียนคัพ 2 ครั้ง ฟุตบอลอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชีย 10 ครั้ง และฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 1 ครั้ง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฟุตบอลในประเทศไทย
พ.ศ. 2425
ทธศักราช 2425 ตรงกั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพ.ศ. 2425
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพ.ศ. 2552
พชร ธรรมมล
ร ธรรมมล (ชื่อเดิม: ปรมัติ; ชื่อเล่น: ฟลุค) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงเมื่อเป็นอันดับที่สาม จากการเข้าประกวดร้องเพลง ในรายการโทรทัศน์ "เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 5".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพชร ธรรมมล
พรภัทร ก่อเกียรติตระกูล
รภัทร ก่อเกียรติตระกูล หรือ ภัทร เป็นที่รู้จักกันในรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปีที่ 4.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพรภัทร ก่อเกียรติตระกูล
พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช
นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช
พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)
อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) หรือ หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ ชุมแสง (21 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)
พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (สินธุ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
ระยารัษฎานุประดิษฐ์ (สินธุ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2472) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง ระนอง ภูเก็ต นครศรีธรรมราช และสมุทรสงคราม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยารัษฎานุประดิษฐ์ (สินธุ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
ลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)
อำมาตย์เอก พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2422 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นนักเขียน ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาไทย ท่านใช้นามปากกาหลายนาม ที่รู้จักกันแพร่หลาย คือ "อ.น.ก.", "อุนิกา", "อนึก คำชูชีพ" และเป็นผู้ริเริ่มคำทักทายคำว่า "สวัสดี" และยังเป็นผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาทางการแพทย์หรือที่เรียกว่าอาจารย์ใหญ่ เป็นท่านแรกของประเทศไทย โดยกล่าวว่า "ฉันเป็นครู ตายแล้วขอเป็นครูต่อไป".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)
พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2433 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2517) อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่ รักษาการณ์ผู้บังคับการโรงเรียนราชวิทยาลัย เจ้ากรมโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ในสมัยรัชกาลที่๖ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นบิดาของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีของไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)
พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
ลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) (26 เมษายน พ.ศ. 2430 - 14 กันยายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
พระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)
ระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม) รองเจ้าอาวาส และพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดปากน้ำ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระราชพรหมเถร (วีระ คณุตฺตโม)
พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)
ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)
พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)
ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)
พระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช)
ระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2487) นักธรณีวิทยาคนแรกของประเทศไทย เดิมชื่อว่าอุดม เลิศวนิช สอบได้ทุนกระทรวงธรรมมาการไปศึกษาต่อด้านวิศวกรเหมืองแร่และวิชาแร่ ณ มหาวิทยาลัยลีดส์ เมื่อกลับมาก็ได้มีส่วนสำคัญในการก่อตั้งงานธรณีวิทยาให้แก่ประเทศไทย เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ มีผลงานและประสบการณ์สูงเกี่ยวกับการสำรวจหาแหล่งแร่ในประเทศไทย จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “ พระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ ” ซึ่งมีความหมายว่า เป็นผู้ที่มีความรู้สูงในการตรวจสอบเรื่องเกี่ยวกับพื้นดิน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระอุดมพิทยภูมิพิจารณ์ (อุดม เลิศวนิช)
พระตำหนักสวนกุหลาบ
ระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง พระตำหนักสวนกุหลาบ เป็นพระตำหนักที่ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง เป็นพระตำหนักที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระตำหนักนี้สร้างขึ้นในบริเวณสวนกุหลาบซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้ปลูกดอกกุหลาบไว้ เมื่อครั้งขยายอาณาเขตพระบรมมหาราชวังไปทางด้านทิศใต้จรดถนนท้ายวังริมวัดพระเชตุพน ในรัชกาลต่อมาได้มีการสร้างคลังศุภรัตน์ในบริเวณนี้เพื่อใช้เก็บสบงจีวรของหลวง โดยสร้างเป็นตึกเก๋งจีนตามความนิยมในสมัยนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขคลังศุภรัตน์เป็นพระตำหนักสวนกุหลาบและพระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระราชโอรส เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เป็น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และต่อมาเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งเป็นที่ฝึกหัดราชการของบุคคลในราชสกุลและบุตรหลานข้าราชการเพื่อเป็นทหารมหาดเล็ก และเป็นโรงเรียนสอบวิชาข้าราชการพลเรือนในเวลาต่อมา จนกระทั่ง พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระตำหนักสวนกุหลาบ
พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
ระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) ม.ว.ม. ป..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย
ระไชยบูลย์ ธมฺมชโย หรือ ไชยบูลย์ สุทธิผล เป็นพระภิกษุชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย และเป็นผู้ต้องหาตามหมายจับของศาลอาญา ในข้อหาสมคบกันฟอกเงิน ร่วมกันฟอกเงิน และรับของโจร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระไชยบูลย์ ธมฺมชโย
พระเกี้ยว
ระราชลัญจกรพระจุลมงกุฎ ประจำรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกทรงสวมพระเกี้ยวยอดในพระราชพิธีโสกันต์ พระเกี้ยวจำลอง ณ หอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เพราะ พระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น คือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับพระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั่นคือ "มงกุฎ" อีกทั้ง พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" อีกด้วย เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความหมายว่าพระเกี้ยว หรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเกี้ยว
พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)
ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี
มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
พรานบูรพ์
รานบูรพ์ (ซ้าย) ถ่ายภาพคู่กับแก้ว อัจฉริยะกุล พรานบูรพ์ หรือ จวงจันทร์ จันทร์คณา (29 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 6 มกราคม พ.ศ. 2519) นักแต่งเพลงไทย เป็นคนแรกผู้ปฏิรูปรูปแบบเพลงไทยประกอบละครร้อง จากท่วงทำนองเพลงไทยเดิมที่มีลูกเอื้อนให้มีลักษณะสากลยิ่งขึ้น อาจกล่าวว่า พรานบูรพ์คือผู้ริเริ่มเพลงไทยสากลก็ได้ มีผลงานสร้างชื่อเสียงคือ ละครร้องเรื่อง "จันทร์เจ้าขา" และ "โรสิตา".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพรานบูรพ์
พลังพล คงเสรี
รศ.ดร. พลังพล คงเสรี รองศาสตราจารย์ พลังพล คงเสรี (4 พฤษภาคม 2513 -) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมีอินทรีย์ ประจำปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพลังพล คงเสรี
พันท้ายนรสิงห์
รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือในรัชสมัยพระเจ้าเสือ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ตอนปลายอาณาจักรอยุธยา โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพันท้ายนรสิงห์
พิชัย กุลละวณิชย์
ลตำรวจเอก พิชัย กุลละวณิชย์ (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 — 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ มีศักดิ์เป็นตาของนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพิชัย กุลละวณิชย์
พิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์
ัฒน์ วิทยาปัญญานนท์ (เกิดวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) เป็นพิธีกรรายการเด็ก True Spark ในเคเบิลทีวี ยูบีซีคิดส์ นอกจากนี้ยังเป็นนักแสดง จากละครทางโทรทัศน์เรื่อง "โคกคูนตระกูลไข่" และ"กลรักเกมส์พยาบาท" เป็นดีเจ คลื่น Cool 93 Fahrenheit วันจันทร์-ศุกร์ 9 โมงเช้า ถึง เที่ยงตรง พิธีกรรายการสารคดี "ฉลาดล้ำโลก" ทางโทรทัศน์ช่องโมเดิร์นไนน์ทีวี และเจ้าของโรงเรียนสอนศิลปะเด็ก "อาร์ตมอนสเตอร์" (Artmonster) พิพัฒน์เป็นศิษย์เก่าจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จบการศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 2.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์
พิสิฐ ลี้อาธรรม
ลี้อาธรรม ประธานกรรมการ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย นายกสมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประธานกรรมการ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ช่วงปี 2540-2544 (รัฐบาลนายชวน หลีกภัย) อดีตคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพิสิฐ ลี้อาธรรม
พิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
ียร อำนาจวรประเสริฐ นายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักจัดรายการวิทยุ เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ
พงศ์นรินทร์ อุลิศ
งศ์นรินทร์ อุลิศ (เฮนรี่ จ๋อง) จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาวารสารสนเทศ เอกวิชา การหนังสือพิมพ์ รุ่น 25 เป็นผู้ปริหารโรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ เป็นอดีตผู้บริหารคลื่นแฟต เรดิโอและอดีตนักจัดรายการ “หนังหน้าไมค์” ทางแฟตเรดิโอ ยังมีผลงานการแสดงอย่าง รักแห่งสยาม หมากเตะรีเทิร์นส ปัจจุบันเป็นผู้บริหารคลื่นแคท เรดิโอ และ นักจัดรายการ "หนังหน้าแมว" ทางคลื่นดังกล่าวเช่นกัน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพงศ์นรินทร์ อุลิศ
พงษ์พิสุทธิ์ ผิวอ่อน
งษ์พิสุทธิ์ ผิวอ่อน เป็นนักฟุตบอลและนักแสดงชาวไทย เป็นบุตรชายคนที่สองของปิยะพงษ์ ผิวอ่อน และนางสมคิด ผิวอ่อน เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพงษ์พิสุทธิ์ ผิวอ่อน
พ่วง สุวรรณรัฐ
นายพ่วง สุวรรณัฐ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และเป็นอดีตปลัดกระทรวงมหาดไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและพ่วง สุวรรณรัฐ
กรวีร์ ปริศนานันทกุล
กรวีร์ ปริศนานันทกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลีกภูมิภาค จำกั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกรวีร์ ปริศนานันทกุล
กระมล ทองธรรมชาติ
ตราจารย์ กระมล ทองธรรมชาติ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกระมล ทองธรรมชาติ
กรีฑาสถานแห่งชาติ
กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกรีฑาสถานแห่งชาติ
การุณ เก่งระดมยิง
.อ.(พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง (11 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) อดีตสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตโฆษกรายการโทรทัศน์และวิทยุ เช่น รายการป๊อบท็อป รายการยี่สิบคำถาม และเป็นผู้ก่อตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมการทหารสื่อสารและโทรทัศน์ไทย ซึ่งกลายเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปัจจุบัน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและการุณ เก่งระดมยิง
กิตติ สีหนนทน์
นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกิตติ สีหนนทน์
กิตติคุณ เชียรสงค์
กิตติคุณ เชียรสงค์ หรือ กุ้ง กิตติคุณ (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 - 28 กันยายน พ.ศ. 2550) นักร้องเพลงโฟล์กซอง เจ้าของฉายา ราชาเพลงคันทรี่เมืองไทย เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ที่อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกิตติคุณ เชียรสงค์
กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร
กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร
ภราดร ปริศนานันทกุล
ราดร ปริศนานันทกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและภราดร ปริศนานันทกุล
ภักดี โพธิศิริ
ัชกร ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.ภักดี โพธิศิริ (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2490) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์อดีตกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอดีตเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและภักดี โพธิศิริ
ภาวิช ทองโรจน์
ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและภาวิช ทองโรจน์
ภิญโญ รู้ธรรม
ญโญ รู้ธรรม (ชื่อเล่น: โญ) เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 เป็นนักแสดง โปรดิวเซอร์ ชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและภิญโญ รู้ธรรม
มวยสากล
การแข่งขันมวยสากลระดับโลกระหว่าง รีการ์โด โดมิงเกวซ (ซ้าย) ฮุกซ้ายใส่ ออเรออน'ส ราฟาเอล ออร์ตีซ ที่แคลิฟอร์เนีย พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและมวยสากล
มังกร พรหมโยธี
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและมังกร พรหมโยธี
มาลัย ชูพินิจ
มาลัย ชูพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่บ้านริมแม่น้ำปิง ตำบลคลองสวนหมาก (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนครชุม) อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของ นายสอน และนางระเบียบชูพินิจ บิดาและมารดาประกอบอาชีพทางด้านการค้าไม้สักและไม้กระยาเลย เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ครูมาลัย ใช้นามปากกา "แม่อนงค์" "น้อย อินทนนท์" "นายฉันทนา" เป็นต้น ในวัยเด็ก มาลัย ชูพินิจ เข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่จังหวัดกำแพงเพชร จนจบชั้นประโยคประถมศึกษา เมื่ออายุประมาณ 10 ปี จึงเข้าไปศึกษาต่อในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับสูงจนจบประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) เมื่อ ปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและมาลัย ชูพินิจ
มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
มงคล อมาตยกุล
มงคล อมาตยกุล (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 - 20 กันยายน พ.ศ. 2532) นักดนตรี นักแต่งเพลง ผู้ก่อตั้งวงดนตรีมงคล อมาตยกุล และวงดนตรีจุฬารัตน์ มงคล อมาตยกุล เกิดที่อำเภอพระนคร เป็นบุตรของอำมาตย์เอก พระยาวินิตวิทยาการ (กร อมาตยกุล) กับหม่อมหลวงผาด เสนีวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนปทุมคงคา และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและมงคล อมาตยกุล
ยุทธนา บุญอ้อม
ทธนา บุญอ้อม หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ป๋าเต็ด เกิดวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้าศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่เรียนไม่จบเพราะมีปัญหาบางประการกับวิชาเอก ได้เข้าฝึกงานอยู่ที่แกรมมี่อยู่แผนกคอนเสิร์ต และเป็นจุดเริ่มต้นที่ได้ก้าวเข้าสู่นักจัดรายการวิทยุ หรือดีเจ เป็นนักจัดการรายการวิทยุคลื่น กรีนเวฟ และ ฮอตเวฟ เขาถือเป็นคนแรกที่คิดวิธียิงสปอตโฆษณาแบบใช้เกมสนุกๆ มาเล่นกับผู้ฟัง เป็นการโปรโมตสินค้าที่เจ้าของสปอนเซอร์นิยมชมชอบเป็นอย่างดี หลังจากนั้นออกจากค่ายแกรมมี่มาก่อตั้ง บริษัท คลิกเรดิโอ จำกัด มีคลื่นดังอย่าง แฟตเรดิโอ 104.5 นอกจากการบริหารคลื่นวิทยุ ยุทธนายังเคยทำหนังสือ DDT และเป็นหุ้นส่วนของโรงหนังเล็กๆ ชื่อ โรงภาพยนตร์เฮาส์ เคยเป็นกรรมการอำนวยการ บริษัท สนามหลวงการดนตรี จำกัด ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปัจจุบันเป็นดีเจ คลื่น 89 chill fm ของ เอไทม์ มีเดีย และเป็นผู้บริหารบริษัท เกเร จำกัด ที่รับจัดงานแสดงดนตรี งานสำคัญของบริษัทได้แก่ บิ๊ก เมาท์เทน มิวสิก เฟสติวัล ทางด้านชีวิตส่วนตัวแต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน คือ นานา บุญอ้อม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและยุทธนา บุญอ้อม
รชฏ พิสิษฐบรรณกร
ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร อดีต ส.ส.พรรคไทยรักไทยและอดีตทหารบกชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 34 ในตำแหน่งประธานรุ่น, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 45 ในตำแหน่งหัวหน้านักเรียน, ปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Santo Thomas, ผ่านหลักสูตรอบรมจากสถาบันพระปกเกล้า เคยรับราชการที่กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 8 จังหวัดเลย และกรมทหารพรานกองทัพภาคที่ 2 ก่อนจะย้ายมารับราชการทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยทำหน้าที่ถวายอารักขาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากนั้นได้ลาออกจากราชการ เพื่อมาทำงานด้านการเมืองการเมือง โดยได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 4 กรุงเทพมหานคร (เขตพญาไท, เขตราชเทวี) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรชฏ พิสิษฐบรรณกร
ระวี ภาวิไล
ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและระวี ภาวิไล
รัฐพล พรรณเชษฐ์
รัฐพล พรรณเชษฐ์ (เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2522) เป็นนักดนตรีชาวไทย อดีตมือกีตาร์วง ละอ่อน, บอดี้แสลม และอดีตนักร้องนำวง เพรเซ่นท์เพอร์เฟ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรัฐพล พรรณเชษฐ์
รายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย
รายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย เรียงลำดับตามตัวอักษร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทย
รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ส
รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ส
รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย
รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย
รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร
รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
right บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ละอ่อน
ละอ่อน (La-On) เป็นวงดนตรีระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ที่ชนะการประกวดวงดนตรี ฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์ ออกจำหน่ายอัลบั้ม 2 ชุด ได้แก่ ละอ่อน และ เทพนิยายนายเสนาะ สมาชิกบางส่วนได้ออกจากวงไปก่อตั้งวงใหม่ชื่อ บอดี้สแลม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและละอ่อน
วรวุฒิ ศรีมะฆะ
วรวุฒิ ศรีมะฆะ อดีตนักฟุตบอลชาวไทย ตำแหน่งกองหน้า ทำประตูในนามทีมชาติไทยไปทั้งสิ้น 29 ประตู ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวรวุฒิ ศรีมะฆะ
วศิษฏ์ ผ่องโสภา
วศิษฏ์ ผ่องโสภา (ชื่อเล่น: แชมป์) เป็นนักแสดง และดีเจชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวศิษฏ์ ผ่องโสภา
วสันต์ สร้อยพิสุทธิ์
นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ '''อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ''' เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายชั้น และนางมาลี สร้อยพิสุท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์
วัลลภ ปิยะมโนธรรม
วัลลภ ปิยะมโนธรรม นักจิตวิทยาและที่ปรึกษาโครงการศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มักได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของความไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดและวิธีการบำบัดปัญหาทางจิตกรณีต่าง ๆ โดยเฉพาะ กลุ่มคนรักร่วมเพศ ที่ ดร.วัลลภ มีความเห็นว่า พฤติกรรมรักร่วมเพศนั้นมีสาเหตุมาจากการเลี้ยงดู ไม่ใช่พันธุกรรม และสามารถรักษาให้หายขาดได้.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวัลลภ ปิยะมโนธรรม
วัน อยู่บำรุง
วัน อยู่บำรุง ชื่อเดิม วันเฉลิม อยู่บำรุง เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2517 เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม โดยได้รับการแต่งตั้ง ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวัน อยู่บำรุง
วิชา การพิศิษฎ์
วิชา การพิศิษฎ์ เป็นบุคคลที่ควรแก่การยกย่อง ควรแก่ผู้เป็นครูและบุคคลทั่วไปประพฤติตนตามแบบอย่าง ตลอดชีวิตการเป็นครู ของท่านล้วนทำสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างกว้างขวางแก่จังหวัดสุราษฎร์ธานีและแก่ประเทศชาต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิชา การพิศิษฎ์
วิบูลย์ คูหิรัญ
นายวิบูลย์ คูหิรัญ ที่ปรึกษามูลนิธิโครงการหลวง ประธานกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลโพธาราม เป็นอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และอดีตสมาชิกว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิบูลย์ คูหิรัญ
วิรัช ชาญพานิชย์
นายวิรัช ชาญพานิชย์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กก๊อง หรือ บิ๊กกร๊อง (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2493) อดีตประธานฝ่ายเทคนิค อดีตผู้จัดการฟุตบอลทีมชาติไทย อดีตอุปนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เคยประกาศตัวลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย แข่งกับนายวรวีร์ มะกูดี ในปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิรัช ชาญพานิชย์
วิรัช วังจันทร์
วิรัช วังจันทร์ หรือ โค้ชจั่น เป็นผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวไทย ผู้ทำหน้าที่ร่วมกับฟุตบอลทีมชาติไทยในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2000 นอกจากนี้ เขายังเคยทำหน้าที่ร่วมสังกัดสโมสรฟุตบอลบีบีซียู รวมถึงสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ เอฟซี ในภายหลัง เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตูฟุตบอลทีมชาติไทย ให้แก่ทั้งกวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ และชนินทร์ แซ่เอี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิรัช วังจันทร์
วิลาศ มณีวัต
นายวิลาศ มณีวัต บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "ชาวกรุง" คนแรก นักเขียนที่มีผลงานจำนวนมากและหลากหลาย ทั้งงานเขียนเชิงสารคดี สารคดีท่องเที่ยว เกร็ดความรู้ สารคดีต่างแดน สารคดีเชิงธรรม งานแปล เรื่องสั้น นวนิยาย และคอลัมน์ประจำในหนังสือพิมพ์ มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น "สายลม-แสงแดด" "ธรรมะสำหรับคนนอกวัด" "การเมืองเรื่องสนุก" "พระราชอารมณ์ขัน" เป็นต้น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิลาศ มณีวัต
วิจิตร สุขมาก
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิจิตร สุขมาก (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (25 ต.ค.2535-17 ก.ค.2537) ในรัฐบาลชวน หลีกภัย และอดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิจิตร สุขมาก
วิทยากร เชียงกูล
วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิทยากร เชียงกูล
วิทยาลัย
วิทยาลัย (College) มีหลายความหมาย ความหมายหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในสังคมไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการฝึกทักษะเฉพาะสาขาวิชา เช่น การจัดการ เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ช่าง ดนตรี เป็นต้น การจัดการศึกษาของวิทยาลัยนั้นอาจจะบริหารงานเป็นเอกเทศ เช่น วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า วิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัยอาชีวศึกษา หรือเป็นหน่วยในสังกัดของมหาวิทยาลัย เช่น วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ได้ อีกความหมายหนึ่งของวิทยาลัยนั้น อาจจะหมายถึงสถานศึกษาทั่ว ๆ ไป เช่น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย หรือในชื่อภาษาอังกฤษของโรงเรียน เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญ (Assumption College) หรือโรงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวิทยาลัย
วุฒิพงศ์ ฉายแสง
นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นน้องชายของนายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวุฒิพงศ์ ฉายแสง
วีระ สมความคิด
วีระ สมความคิด (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500—) ประธานกลุ่มพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชน และเลขาธิการเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน (คปต.).
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวีระ สมความคิด
วีระ ธีรภัทร
วีระ ธีรภัทร (ใส่แว่น) วีระ ธีรภัทร นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน คอลัมนิสต์ และพิธีกรชาวไทย ผู้มีลีลาและเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวีระ ธีรภัทร
วงศ์รวี นทีธร
วงศ์รวี นทีธร (ชื่อเล่น:สกาย) (เกิด 25 มิถุนายน 2541) เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น พละ ในฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ซีซั่น 3.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวงศ์รวี นทีธร
วนัสธนา สัจจกุล
นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและวนัสธนา สัจจกุล
ศรัณยู วงษ์กระจ่าง
รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง
ศรีราชา วงศารยางกูร
ตราจารย์ ศรีราชา วงศารยางกูร (สกุลเดิม เจริญพานิช) ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศรีราชา วงศารยางกูร
ศักดิ์สยาม ชิดชอบ
นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศักดิ์สยาม ชิดชอบ
ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีต..พิจิตร มีชื่อเล่นว่า "ยอด" หรือ "ลูกยอด" เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์
ศุภสิทธิ์ ชินวินิจกุล
ทธิ์ ชินวินิจกุล มีชื่อเล่นว่า ป๊อป เป็นนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงมาจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง ม.3 ปี 4 เรารักนาย ของค่ายอาวอง โดยรับบทเป็นนัท พระเอกในรุ่น ม.3 ซึ่งแสดงนำคู่กับ แจม ชลธร จากวง ซิสก้า ซึ่งรับบทเป็นแจน ซึ่งก่อนหน้านี้ป๊อปไม่เคยมีประสบการณ์ในวงการบันเทิงเลย แต่ได้เข้าวงการบันเทิงเนื่องจากการไปเรียนร้องเพลงที่โรงเรียนร้องเพลงสยาม และทีมงานอาร์เอสได้ชักชวนให้ไปทำสัญญาเป็นนักแสดงกันในที่สุด ทำให้ป๊อปได้รับเชิญไปร่วมรายการของทางอาร์เอส ที่ออกอากาศทางช่อง 5 อีกหลายรายการ ปัจจุบัน ป๊อป ศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษา สายศิลป์-คำนวณ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งแต่เดิมเป็นคนจังหวัดราชบุรีโดยกำเนิด และได้ย้ายมาอยู่ที่กรุงเทพมหานครขณะศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้านครอบครัวมีพี่สาว 1 คนอายุห่างกัน 11 ปี ปัจจุบันมีผลงานด้านการร้องเพลงร่วมกับอาร์ม - วีรยุทธ จันทร์สุข และ เอี๊ยง - สิทธา สภานุชาติ สังกัดอาร์เอส ชื่อ Rookie BB.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศุภสิทธิ์ ชินวินิจกุล
ศุลี มหาสันทนะ
รืออากาศโท ศุลี มหาสันทนะ (19 มีนาคม พ.ศ. 2462 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นผู้กำกับนโยบายด้านพลังงานและน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดอายุรัฐบาลพลเอกเปรม ระหว่าง..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและศุลี มหาสันทนะ
สมชัย ศรีสุทธิยากร
รองศาสตราจารย์สมชัย ศรีสุทธิยากร (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นอดีตข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ด้านกิจการบริหารจัดการเลือกตั้ง สมชัยถูกถอดจากตำแหน่ง กกต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมชัย ศรีสุทธิยากร
สมชาย อาสนจินดา
มชาย อาสนจินดา หรือ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมชาย อาสนจินดา
สมชาย เพศประเสริฐ
ันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (แกนนำกลุ่มอีสานพัฒนา) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และอดีตโฆษกกระทรวงมหาดไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมชาย เพศประเสริฐ
สมพัฒน์ แก้วพิจิตร
นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 — 19 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม สังกัดพรรคชาติไทย นายสมพัฒน์ เป็นพี่ชายของ พันโท สินธพ แก้วพิจิตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สรัลธร คล้ายอุดม
รัลธร คล้ายอุดม ชื่อเล่น มีน เป็นดารา นักแสดงชาวไทย มีผลงานมิวสิควีดีโอมากมายที่เธอได้ร่วมเล่นของสังกัด แกรมมี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสรัลธร คล้ายอุดม
สราวุธ เลิศปัญญานุช
ราวุธ เลิศปัญญานุช เป็นนักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานแต่งเพลงและเรียบเรียงเสียงประสานเพลงประกอบละคร เพลงประกอบภาพยนตร์ และละครเวที ให้กับค่ายเอ็กแซ็กท์และซีเนริโอ ในสังกัดจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ สราวุธเริ่มหัดเล่นดนตรีตั้งแต่เด็ก โดยเริ่มจากการเล่นเปียโน ต่อมาได้ศึกษาภาควิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเริ่มแต่งเพลงละครโทรทัศน์ให้กับถกลเกียรติ วีรวรรณ จากนั้นได้ศึกษาเพิ่มเติมที่ประเทศอังกฤษ MusicMaker Magazine จากนั้นจึงมาทำงานเพลงละครเวทีให้กับเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ขณะเรียนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สราวุธเคยเป็นผู้อำนวยเพลงของวงดุริยางค์โรงเรียน ขณะเรียนมหาวิทยาลัย เป็นหนึ่งสมาชิกวงดนตรีโมเดิร์นด็อก ในตำแหน่งคีย์บอร์ด ร่วมแข่งขันโค้กมิวสิคอวอร์ด ประจำปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสราวุธ เลิศปัญญานุช
สวนกุหลาบ
วนกุหลาบ อาจหมายถึง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสวนกุหลาบ
สอ เสถบุตร
อ เสถบุตร ในวัยหนุ่ม สอ เสถบุตร หรือชื่อเดิม สอ เศรษฐบุตร ผู้แต่งพจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ฉบับ สอ เสถบุตร ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสอ เสถบุตร
สัญญา คุณากร
ัญญา สมรสกับ อาทิตยา เลาหวัฒนะ เข้ารับน้ำสังข์พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวัน พุธ ที่ 22 ตุลาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสัญญา คุณากร
สันติ เศวตวิมล
ันติ เศวตวิมล หรือรู้จักกันในนามปากกา แม่ช้อย นางรำ เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ พิธีกรชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสันติ เศวตวิมล
สิทธา สภานุชาติ
ทธา สภานุชาติ ชื่อเล่น เอี๊ยง เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2533 เป็นนักร้อง นักแสดงชายชาวไทย เป็นหนึ่งในศิลปินบอยแบนด์วง "รูกกีบีบี (Rookie BB)" สังกัดอาร์เอ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสิทธา สภานุชาติ
สิทธิ เศวตศิลา
ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสิทธิ เศวตศิลา
สิทธิโชค กันหนู
ทธิโชค กันหนู (Sittichok Kannoo, เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2539) ชื่อเล่น ไอซ์ เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ตำแหน่ง กองหน้า เกิดที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นผู้เล่นสังกัดสโมสรไทยฮอนด้า ลาดกระบัง เอฟซี โดยเป็นสัญญายืมตัวจากสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เป็นเวลา 1 ฤดูกาล สวมเสื้อหมายเลข 23.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสิทธิโชค กันหนู
สุชีน เอ่งฉ้วน
นายสุชีน เอ่งฉ้วน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุชีน เอ่งฉ้วน
สุภา ศิริมานนท์
ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุภา ศิริมานนท์
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุรยุทธ์ จุลานนท์
สุวรรณ สุวรรณเวโช
ลตำรวจเอก สุวรรณ สุวรรณเวโช อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2484 ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุวรรณ สุวรรณเวโช
สุวิกรม อัมระนันทน์
วิกรม อัมระนันทน์ หรือ เปอร์ เป็นนักแสดง และพิธีกรชาวไทย ปัจจุบันจบจากคณะวิศวกรรมโยธา หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สุวิกรมมีชื่อเสียงจากบทนำในภาพยนตร์เรื่อง 365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ เป็นภาพยนตร์สารคดีโดย โสรยา นาคะสุวรรณ และจิระ มะลิกุล ที่นำเสนอชีวิตของเด็กไทยที่กำลังเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย โดยใช้ทีมงานช่างกล้องติดตามถ่ายภาพการใช้ชีวิตประจำวันของสุวิกรม และเพื่อนร่วมชั้นเรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จำนวน 4 คน เป็นเวลาหนึ่งปี ตั้งแต่การตัดสินใจร่วมกับครอบครัวเพื่อเลือกสอบเข้าเรียนวิศวกรรมตามอย่างบิดา บรรยากาศการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยม การใช้เวลาว่างกับเพื่อนฝูง การเรียนกวดวิชา การสอบโอ-เน็ต และการสอบสัมภาษณ์เข้าเรียนหลักสูตรนานาชาติ ในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่เขาต้องการจะเข้าศึกษาในขณะนั้น หลังจากผลงานเรื่อง 365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ แล้ว สุวิกรมยังมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น และ มายวาเลนไทน์ แล้วรัก...ก็หมุนรอบตัวเรา และเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ หนึ่งวันเดียวกัน (ของบริษัท เดย์โพเอตส์ จำกัด) ร่วมกับซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และรายการ อุตลุดจุดฝันภาค 1 (ของ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)) และ รายการ เจาะใจ (ของ บริษัท เจเอสแอลโกลบอลมีเดีย จำกัด)และสุวิกรมเป็นพิธีกรในรายการ ดิไอดอล คนบันดาลใจ ของ บริษัท เดย์โพเอตส์ จำกัด รวมถึงเป็นพิธีกรรายการ Perspective ทางช่อง 9 และเป็นพิธีกร ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9 ร่วมกับ เศรษฐา ศิระฉายา และรายการพิเศษ มหกรรมทางเรือนานาชาติ (8ตอน) สืบสานปณิธานแดนใต้ร่มเย็น (25) ทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 16.55 น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุวิกรม อัมระนันทน์
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (28 เมษายน พ.ศ. 2499 – 27 กันยายน พ.ศ. 2560) คือ นักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ อดีตรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
สุด แสงวิเชียร
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450— 8 มิถุนายน พ.ศ. 2538) แพทย์ชาวไทย นักกายวิภาคศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักโบราณคดี ราชบัณฑิต และ ผู้ได้รับรางวัลแพทย์ดีเด่น บุคคลดีเด่นแห่งชาติ และนักอนุรักษ์ดีเด่น ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิทยาเอ็มบริโอ ด้านจุลกายวิภาคศาสตร์ ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ หนึ่งในแพทย์ผู้ชันสูตรพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุด แสงวิเชียร
สุประวัติ ปัทมสูต
ประวัติ ปัทมสูต ชื่อเล่น อี๊ด (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นนักแสดงและผู้กำกับลูกครึ่งไทย-โปรตุเกสเกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ ขุนไมตรีสเน่หา และ นางทองใบ จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนพานิชยการเชตุพน ได้รับปริญญาคณะมนุษยศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านชีวิตส่วนตัวเขาสมรสกับ ศรีสุดา สุกิจจวนิช มีบุตรทั้งสิ้น 4 คน คนแรกชื่อ ก้ามปู ปัทมสูต คนที่สอง กุ้งนาง ปัทมสูต (เสียชีวิตแล้ว) และ ชัชเวทย์ สุกิจจวนิช และบุตรที่เกิดกับ นีรนุช เมฆใหญ่ น้องสาวของนันทวัน เมฆใหญ่ 1 คน คือ กษาปณ์ ปัทมสูต ละครจากสถานีโทรทัศน์ช่อง ๙ บางลำพู บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด คนที่สองจากซ้าย สุประวัติ ปัทมสูตร คนที่สามจากซ้าย สมจินต์ ธรรมทัต ที่เหลือไม่ทราบชื่อ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุประวัติ ปัทมสูต
สุนทร คงสมพงษ์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุนทร คงสมพงษ์
สุโข วุฑฒิโชติ
วุฑฒิโชติ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสมุทรปราการ, ผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการคนแรก, อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี, อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายปกครอง และอาจารย์หมวดวิชาพลานามัย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, อดีตผู้ตัดสินฟุตบอลนานาชาต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุโข วุฑฒิโชติ
สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา
มธ ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด มีนาคม 2481) เป็นสถาปนิก จิตรกร ศิลปินชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) ประจำปี 2541 สุเมธเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะสถาปนิกที่นำเสนองานออกแบบสมัยใหม่ ที่มีความโดดเด่นไม่ว่าจะเป็น อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี ที่เป็นอาคารลูกบาศก์ 2 ลูกตั้งเอียง "ตึกหุ่นยนต์" (ธนาคารเอเซีย) อาคารและผังแม่บทมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต อาคารเนชั่น อาคารอาคารศรีสวรินทิรา โรงพยาบาลศิริราช ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา โรงแรมเอส 31 สุขุมวิท เป็นต้น สุเมธเกิดและเติบโตในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นพี่ชายแท้ๆของอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา สุเมธได้เข้าศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ต่อมาเข้ารับการศึกษาต่อที่โรงเรียนกรุงปารีส แล้วจึงย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนเวลลิ่งบาเร่อร์ ที่ประเทศอังกฤษ ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ตั้งแต่ปริญญาตรีจนจบปริญญาเอก รวมอยู่ในยุโรปกว่า 17 ปี แล้วจึงเข้ารับราชการที่กรมโยธาธิการและสำนักผังเมือง กระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งลาออกมาก่อตั้งบริษัทสถาปนิกเป็นของตนเอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา
สีชมพู
ีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน).
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสีชมพู
สถานีสามยอด
นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสถานีสามยอด
สงวน เล็กสกุล
งวน เล็กสกุล (8 มกราคม พ.ศ. 2452 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) หัวหน้าหมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คนแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคนที่ 3.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสงวน เล็กสกุล
สตางค์ มงคลสุข
ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสตางค์ มงคลสุข
สนอง นิสาลักษณ์
ลเรือตรี สนอง นิสาลักษณ์ อดีตนายทหารเรือ นักการทูต และนักการเมืองไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสนอง นิสาลักษณ์
สนั่น สุมิตร
นายสนั่น สุมิตร อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)ท่านแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาท่านที่สอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสนั่น สุมิตร
สนธิ บุณยะชัย
ลเรือเอกสนธิ บุณยะชัย (20 มิถุนายน พ.ศ. 2460 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสนธิ บุณยะชัย
ส่ง เทภาสิต
รองอำมาตย์เอก ส่ง เทภาสิต (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2470) นักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย ที่มีผลงานออกมาในช่วงเวลาสั้นๆ และได้รับการยอมรับว่าเป็นผลงานสร้างสรรค์แนวใหม่ ได้รับความชื่นชม และเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนหลายคน เช่น เลียว ศรีเสวก บุญยืน โกมลบุตร ซึ่งถึงกับยอมรับว่าได้รับอิทธิพลมาจากงานเขียนของ ส่ง เทภาสิต ส่ง เทภาสิต เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ปีกุน ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพัน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและส่ง เทภาสิต
สโมสรฟุตบอลสวนกุหลาบวิทยาลัย
มสรฟุตบอลสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ทีมฟุตบอลสวนกุหล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสโมสรฟุตบอลสวนกุหลาบวิทยาลัย
สโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560
ูกาล 2560 เป็นฤดูกาลที่ 7 ของ ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ที่ได้ลงเล่นตั้งแต่ฤดูกาล 2552–2553 เป็นต้นมา และในฤดูกาล 2556, ได้มาใช้ในนามสโมสรว่า แบงค็อก ยูไนเต็.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560
สโมสรฟุตบอลไดสตาร์ กรุงเทพฯ
มสรฟุตบอลไดสตาร์กรุงเทพ โดยเริ่มแรกได้ส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันในนามของ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จนกระทั่งในปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและสโมสรฟุตบอลไดสตาร์ กรุงเทพฯ
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย
ลตำรวจจัตวา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย (5 ตุลาคม พ.ศ. 2451 - 3 มกราคม พ.ศ. 2552) นักเขียน นักภาษาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักการศึกษา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที (หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย) มีน้องสาวคือ หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบชั้นมัธยม 8 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวง ไปศึกษาอักษรศาสตร์จาก ทรินิตี้คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สำเร็จการศึกษาเมื่อปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)
หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)
หม่อมเจ้าลักษณากร เกษมสันต์
หม่อมเจ้าลักษณากร เกษมสันต์ (9 เมษายน พ.ศ. 2445 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมเจ้าลักษณากร เกษมสันต์
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์กับหม่อมเพิ่ม สวัสดิกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)
ณะราษฎรสายทหารบก ที่สนามหญ้าหน้าวังปารุสกวัน ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 (หลวงชำนาญยุทธศิลป์ คือ คนที่ 9 จากซ้าย แถวหลัง) พลตรี หลวงชำนาญยุทธศิลป์ อดีตนายทหารบกผู้เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)
หลวงบุณยมานพพานิชย์ (อรุณ บุณยมานพ)
หลวงบุณยมานพพานิชย์ หรือ อรุณ บุณยมานพ หรือ แสงทอง (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436-5 กันยายน พ.ศ. 2507) เป็นผู้ประพันธ์และเขียนบทภาพยนตร์บันเทิงคดีฝีมือของชาวไทยเรื่องแรก โชคสองชั้น (Double Luck)..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงบุณยมานพพานิชย์ (อรุณ บุณยมานพ)
หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)
ตราจารย์พรต เดชา หรือ อำมาตย์โท ศาสตราจารย์ หลวงพรตพิทยพยัต (Luang Brata) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เป็นอาจารย์ชาวไทย เริ่มดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์พิเศษสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พรตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการศึกษาเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วง..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)
หลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)
หลวงมัศยจิตรการ เป็นอดีตนักวิชาการประมง และนักวาดภาพปลาและสัตว์น้ำเพื่อการศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในอดีต หลวงมัศยจิตรการ มีชื่อจริงว่า ประสพ ตีระนันทน์ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)
หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)
นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น. (22 มกราคม พ.ศ. 2438 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2508) มีชื่อจริงว่า บุง ศุภชลาศัย รองผู้บัญชาการทหารเรือ อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อ..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)
หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)
ันเอก หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2439 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497) นักเขียน นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ สารานุกูล เป็นผู้แต่งเพลงชาติไทย เป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 4 เมื่อปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)
หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)
อำมาตย์ตรี หลวงสิริราชไมตรี อดีตอัครราชทูตไทยประจำกรุงโรม ประเทศอิตาลี และสมาชิกคณะราษฎร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)
หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)
ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)
หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)
ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)
หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)
ตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์ หรือ หลวงอิงคศรีกสิการ (14 กันยายน พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตอธิบดีกรมเกษตร และเป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)
หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)
อำมาตย์ตรี หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์) (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — 30 มีนาคม พ.ศ. 2473) วิศวกรการรถไฟชาวไทย อดีตนายช่างกลอำนวยการโรงงานมักกะสัน ซึ่งมีหน้าที่ซ่อมหนักรถจักรและรถโดยสาร ของการรถไฟแห่งประเทศไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและหลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)
อชิรวิชย์ สาลิวรรธนะ
อชิรวิชย์ สาลิวรรธนะ (หรือชื่อเดิม ก้องวิช) ชื่อเล่น กัน เกิดวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2533 เป็นนักร้องนักแสดงชาวไทย ค่าย GMM GRAMMY มีชื่อเสียงจากรายการ Tem-Popo และมีซิงเกิลเพลง 'อย่าหลอกให้เขารัก','วิธีตัดใจ','เจอก็รัก จากก็ลืม','สัญชาตญาณของคนจะโดนทิ้ง' และผิดที่ฉันเอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอชิรวิชย์ สาลิวรรธนะ
อภัย จันทวิมล
อภัย จันทวิมล เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 ที่อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมคณะลูกเสือแห่งชาติ ในคณะกรรมการลูกเสือโลก ขององค์การลูกเสือโลก ตั้งแต..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอภัย จันทวิมล
อภิชาติ ดำดี
อภิชาติ ดำดี (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) เป็นนักพูด นักจัดรายการชาวไทย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกระบี่ thumb.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอภิชาติ ดำดี
อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
ตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร (Apiwat Mutirangura) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอภิวัฒน์ มุทิรางกูร
อมเรศ ศิลาอ่อน
นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ 4 สมัย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2 สมัย) และในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (2 สมัย).
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอมเรศ ศิลาอ่อน
อวย เกตุสิงห์
ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอวย เกตุสิงห์
อัศนี พลจันทร
อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอัศนี พลจันทร
อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
อาทิวราห์ คงมาลัย
อาทิวราห์ คงมาลัย เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นนักร้องนำและนักแต่งเพลงของวงบอดี้สแลม อีกทั้งยังมีศักดิ์เป็นหลานของแอ๊ด คาราบาว และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ ตั๊ก บงกช อีกด้วย อาทิวราห์เข้าประกวดเวทีฮอตเวฟมิวสิคอวอร์ดครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอาทิวราห์ คงมาลัย
อาคารอนุรักษ์
อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอาคารอนุรักษ์
อิทธิพล คุณปลื้ม
อิทธิพล คุณปลื้ม ชื่อเล่น: ติ๊ก (15 ธันวาคม พ.ศ. 2516 —) กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี อยู่ในบังคับบัญชา รมว.ท่องเที่ยวและกีฬาในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นักการเมืองชาวไทย อดีตนายกเมืองพัทยา เกิดที่จังหวัดชลบุรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 2 สมัย ตั้งแต..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอิทธิพล คุณปลื้ม
อุดม ไกรวัตนุสสรณ์
นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2510) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสมุทรสาคร 4 สมัย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (วิเชษฐ์ เกษมทองศรี) เป็นบุตรชายของนายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
อธิษว์ ศรสงคราม
อธิษว์ ศรสงคราม หรือ อ้วน นักดนตรีชาวไทย ตำแหน่งคีย์บอร์ด/ฟลูต ในวงอาร์มแชร์ สูง 185 ซ.ม. ปี 2549 ออกอัลบั้มเดี่ยวในชื่อ Atit Sornsongkram อัลบั้ม Like how you feel เกิดวันที่ 26 สิงหาคม 2524 จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประถมสาธิตสวนสุนันทา จบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รุ่น 118 ปริญญาตรีสาขาวิชาถ่ายภาพ ภาควิชานิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปี 2557 จบปริญญาโทด้าน photography ที่สถาบัน Kunstakademie เมือง Düsseldorf ประเทศเยอรมนี เป็นนักศึกษาไทยคนแรกที่ได้เข้าศึกษาในสถาบันผลิตศิลปินสาขาต่างๆ ในระดับโลกแห่งนี้.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอธิษว์ ศรสงคราม
อนุสรณ์ มณีเทศ
อนุสรณ์ มณีเทศ (ชื่อเล่น: โย่ง; เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักร้องนำและมือกีตาร์วง อาร์มแชร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและอนุสรณ์ มณีเทศ
ฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์
อตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์ (Hotwave Music Awards) เวทีการแข่งขันวงดนตรีระดับมัธยมศึกษา ที่มีระยะเวลาการแข่งขันยาวนานที่สุด เริ่มต้นขึ้นครั้งแรกในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์
จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)
มื่นมานิตย์นเรศ ชื่อเดิม เฉลิม เศวตนันทน์ นักแสดงในภาพยนตร์ของรัฐบาลไทย เลือดทหารไทย สร้างโดย ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง และเป็นบิดาของ อดีศักดิ์ เศวตนันทน์ (คู่ชีวิต สวลี ผกาพันธ์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)
จรัส สุวรรณเวลา
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจรัส สุวรรณเวลา
จักรพงศ์ สิริริน
ักรพงศ์ สิริริน หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สอง พาราด็อกซ์ เป็นมือเบสของวง พาราด็อกซ์ ซึ่งเป็นวงดนตรีแนวอินดี้ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย ได้เข้ามาร่วมวงโดยการชักนำของ อิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา หรือ ต้า พาราด็อกซ์ ในสมัยที่ยังเป็นนิสิตอยู่ที่ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งวง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจักรพงศ์ สิริริน
จักริน ภูริพัฒน์
ักริน ภูริพัฒน์ (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2539) ชื่อเล่น แก๊ป เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักในบทบาท ยงยุทธ หมั่นกิจ ในละครเรื่อง สุดแค้นแสนรัก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจักริน ภูริพัฒน์
จัง จริงจิตร
ัง จริงจิตร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง (ส.ส.ตรัง) คนแรก เกิดเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจัง จริงจิตร
จารุบุตร เรืองสุวรรณ
ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ (15 มิถุนายน พ.ศ. 2463 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2527 เวลา 0.14 น.) อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 5 สมัย เป็นบิดาของนายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจารุบุตร เรืองสุวรรณ
จาตุรนต์ ฉายแสง
ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจาตุรนต์ ฉายแสง
จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย นักการปกครอง และนักเขียน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา
จิตติชัย รุจนกนกนาฏ
รองศาสตราจารย์ ดร.จิตติชัย รุจนกนกนาฏ (20 เมษายน พ.ศ. 2521 -) รองผู้อำนวยการสถาบันการขนส่ง และอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจิตติชัย รุจนกนกนาฏ
จิ๊ด เศรษฐบุตร
thumb ศาสตราจารย์จิ๊ด เศรษฐบุตร (18 มกราคม 2449 — 19 มกราคม 2538) เป็นตุลาการ นักนิติศาสตร์ และนักการทูตชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจิ๊ด เศรษฐบุตร
จุมพล มั่นหมาย
มพล มั่นหมาย หรืออดีต พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย อดีตรองเลขาธิการพระราชวังฝ่ายความมั่นคงและกิจกรรมพิเศษ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กำกับดูแลงานด้านนครบาล อดีตผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ออมทรัพย์พระราชทานในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เกิดเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจุมพล มั่นหมาย
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (15 มีนาคม 2499 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 6 สมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการวางแผน จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) นายจุรินทร์ เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยรัฐบาลชวน 1 และ ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลชวน 2 นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล และ ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมฝ่ายค้าน (2 สมัย) ด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร นายจุรินทร์ เคยได้รับการโหวตจาก สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ให้เป็นคณะกรรมาธิการดีเด่น จากบทบาทใน คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎร กรณีดำเนินการทวงคืน ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ จากสหรัฐอเมริกา จนเป็นผลสำเร็จ ตั้งแต่การเลือกตั้งปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล
ฑาวุฒิ ภัทรกำพล เป็นนักแสดง พิธีกรทางช่อง GTH On Air หรือชื่อเดิม Play Channel ในรายการ Play Gang เล่นสนุก สุขยกก๊วน GANG MENT Boys Meet Girls และ GANG MENT แนะหน้าห้อง ทางช่อง GTH On Air ซึ่งเป็นรายการในอดีต, ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการ ปลวกขึ้นบ้าน ทางช่อง GMM 25 เข้าวงการจากด้วยการเป็นผู้ชนะจากโครงการ "Friend For Film เพื่อนฉันดันให้สุด" ของค่ายหนัง GTH นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 50 หนุ่มโสดในฝันแห่งปี 2554 (หมายเลข 11.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจุฑาวุฒิ ภัทรกำพล
จีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์
ีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เอทฟลอร์ (GMM Livehouse at CentralWorld 8th Floor, ชื่อเดิม: เมืองไทย จีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์) เป็นหอประชุมขนาดใหญ่สำหรับจัดแสดงคอนเสิร์ต ทำกิจกรรม รวมถึงเป็นที่ตั้งสตูดิโอสำหรับถ่ายทำรายการของช่อง จีเอ็มเอ็ม 25 และช่องวัน ตั้งอยู่ชั้น 8 โซนเอเทรียม ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ถนนราชดำริ กรุงเทพมหานคร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์
จตุรมิตรสามัคคี
การแข่งขันฟุตบอลประเพณีจตุรมิตรสามัคคี เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระดับมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนชายล้วนเก่าแก่สี่โรง ประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จัดขึ้นเป็นประจำทุก 2 ปี ณ สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ สำหรับการแข่งขันจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เป็นเจ้าภาพในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 23
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 23 เป็นการแข่งฟุตบอลประเพณีระหว่างโรงเรียนชายล้วนในประเทศไทยจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 23 โดยโรงเรียนอัสสัมชัญรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันในวันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน ถึง วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 23
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 24
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 24 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ ทำการแข่งขันในวันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน ถึง วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 24
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 25
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 25 เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีของโรงเรียนชายล้วน 4 โรงเรียน โดยครั้งนี้จัดเป็นครั้งที่ 25 มีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ ทำการแข่งขันในวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน ถึง วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 25
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 26
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 26 เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีของโรงเรียนชายล้วน 4 โรงเรียน โดยครั้งนี้จัดเป็นครั้งที่ 26 มีโรงเรียนเทพศิรินทร์ รับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ ทำการแข่งขันในวันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน ถึง วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 26
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 27
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 27 เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณี มีโรงเรียนอัสสัมชัญ รับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ แข่งขันระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน ถึง 22 พฤศจิกายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 27
จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28
การแข่งขันฟุตบอลจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28 เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณี มีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยที่รับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ แข่งขันระหว่างวันที่ 11 พฤศจิกายน ถึง 18 พฤศจิกายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28
ธรรมชาติ นาคะพันธ์
รรมชาติ นาคะพันธ์ เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองกลางตัวรุกให้กับสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัลในไทยลีก ธรรมชาติเคยเล่นให้กับทีมฟุตบอลของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในตำแหน่งกองหน้า มีความถนัดในด้านการจ่ายบอล นอกจากนี้ยังเคยทำผลงานอันโดดเด่นให้กับจามจุรีในฤดูกาล 2555.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธรรมชาติ นาคะพันธ์
ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม สมัยรัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ธรรมทาส พานิช
รรมทาส พานิช มีเดิมคือ ยี่เกย พานิช เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวน 3 คน ของนายเซี้ยง นางเคลื่อน พานิช มีพี่ชายคือท่านพุทธทาสภิกขุ และน้องสาวคือ นางกิมช้อย เหมะกุล ซึ่งนายธรรมทาสเป็นบุคคลสำคัญผู้ก่อตั้งคณะธรรมทานและสวนโมกขพลาราม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธรรมทาส พานิช
ธัชพล เสือทองคำ
ัชพล เสือทองคำ หรือ โซ่ ธัชพล, โซ่ สตรอเบอรี่ครับเค้ก (ชื่อเดิม ทศพล เสือทองคำ) เป็นดารานักแสดงและพิธีกรสังกัดไทยทีวีสีช่อง 3 เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธัชพล เสือทองคำ
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธานินทร์ กรัยวิเชียร
ธีรพล นิยม
ีรพล นิยม (เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพังงา) ชื่อเล่น:แบน เป็นสถาปนิกชาวไทย ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธีรพล นิยม
ธีรยุทธ บุญมี
ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธีรยุทธ บุญมี
ธีรศักดิ์ กรรณสูต
ีรศักดิ์ กรรณสูต (26 เมษายน พ.ศ. 2473 — 7 มกราคม พ.ศ. 2553) อดีตประธานกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 1 ตั้งแต่ 27 พฤศจิกายน 2540 - หมดวาระ 26 พฤษภาคม 2544 มีผลงานควบคุมการเลือกตั้งจนลบคำสบประมาทว่า "กกต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธีรศักดิ์ กรรณสูต
ธงชัย วินิจจะกูล
ตราจารย์ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชาวไทย เกิดและโตที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย อดีตเป็นผู้นำนักศึกษาซึ่งถูกจับกุมในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ต่อมาย้ายไปสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธงชัย วินิจจะกูล
ธนชัย อุชชิน
นชัย อุชชิน หรือ ป๊อด โมเดิร์นด็อก เกิด 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นนักร้องนำและนักดนตรีชาวไทย เป็นที่รู้จักจากนักร้องนำของวง โมเดิร์นด็อก วงดนตรี อัลเตอร์เนทีฟ สัญชาติไทย ธนชัย อุชชิน หลังชนะการประกวดโค้ก มิวสิคอะวอตส์ ประจำปี 2535 จนได้มีโอกาสเป็นศิลปินกับ เบเกอรี่มิวสิค ในนาม โมเดริ์นด็อก ธนชัยได้ร่วมออกอัลบั้มกับวงมาแล้ว 5 อัลบั้ม โมเดิร์นด็อก-เสริมสุขภาพ (พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธนชัย อุชชิน
ธนิต ธรรมสุคติ
นิต ธรรมสุคติ เป็นนักแปลนวนิยาย และนักเขียนที่มีชื่อเสียง เคยเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ระหว่างปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและธนิต ธรรมสุคติ
ถวิล รายนานนท์
ลเรือเอกถวิล รายนานนท์ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายสัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและถวิล รายนานนท์
ถนนตรีเพชร
นนตรีเพชร ช่วงแยกเฉลิมกรุง หน้าศาลาเฉลิมกรุง ถนนตรีเพชร (Thanon Tri Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเจริญกรุง (แยกเฉลิมกรุง ตรงข้ามถนนตีทอง) ไปทางทิศใต้ ตัดกับถนนพาหุรัดที่แยกพาหุรัด แล้วตรงไปถึงเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งถนนจักรเพชรตัดผ่าน ถนนตรีเพชรเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง พระราชโอรสซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ และสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและถนนตรีเพชร
ทรงกลด ชื่นชูผล
ร้อยเอก ทรงกลด ชื่นชูผล อดีตนายทหารบกชาวไทย เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ ผู้กองปูเค็ม ซึ่งเป็นฉายาที่ผู้ติดตามความเคลื่อนไหวทางทวิตเตอร์ส่วนตัวตั้งให้ เนื่องจากมีธุรกิจทำปูเค็มขาย ซึ่งเป็นธุรกิจดั้งเดิมของครอบครัว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทรงกลด ชื่นชูผล
ทรงศักดิ์ เปรมสุข
นายทรงศักดิ์ เปรมสุข Songsak Premsuk ทรงศักดิ์ เปรมสุข นักธุรกิจชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทรงศักดิ์ เปรมสุข
ทวี บุณยเกตุ
นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทวี บุณยเกตุ
ทศวรรษ ลิ้มวรรณเสถียร
ทศวรรษ ลิ้มวรรณเสถียร (Thossawat Limwannasathian; เกิด 17 พฤษภาคม 2536) หรือ ปิง นักฟุตบอลอาชีพชาวไทยปัจจุบันเซ็นสัญญากับ แบงค็อก ยูไนเต็.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทศวรรษ ลิ้มวรรณเสถียร
ทองใบ ทองเปาด์
ทองใบ ทองเปาด์ (12 เมษายน พ.ศ. 2469 - 24 มกราคม พ.ศ. 2554) ทนายความ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทองใบ ทองเปาด์
ทัชชกร บุญลัภยานันท์
ทัชชกร บุญลัภยานันท์ เดิมชื่อ กรัณย์ บุญลัภยานันท์ ชื่อเล่น ก๊อต โดยคุณพ่อเป็นผู้ตั้งชื่อนี้ ซึ่งได้มาจากภาพยนตร์เรื่อง The Godfather ภายหลังเข้ามาทำงานใน GMM Grammy ป๋อมแป๋ม ก็ได้เรียกก็อต ว่า "ก็อตจิ" แต่นั้นมา เป็นนักแสดง พิธีกร จากรายการท่องเที่ยวยอดฮิต เทยเที่ยวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและทัชชกร บุญลัภยานันท์
ที่สุดในประเทศไทย
ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและที่สุดในประเทศไทย
ขรรค์ชัย กัมพลานนท์
นายขรรค์ชัย กัมพลานนท์ เป็นอดีตนายอำเภออำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นลูกชายคนแรกของนายสาย และ นางส้มจีน เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและขรรค์ชัย กัมพลานนท์
ขวัญสรวง อติโพธิ
วัญสรวง อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ เป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรและนักเขียนบทความอิสระ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาเมืองและพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม นายขวัญสรวง อติโพธิ เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและขวัญสรวง อติโพธิ
ขุนการัญสิขภาร (ทุเรียน ทัพภะพยัคฆ์)
นการัญสิขภาร (ทุเรียน ทัพภะพยัคฆ์) เป็นบุคคลสำคัญของจังหวัดนนทบุรี จากประวัติการรับราชการอันยาวนานและคุณงามความดีที่ท่านทำไว้ ท่านเป็นบุคคลสำคัญด้านการศึกษาที่ได้วางรากฐานให้กับการศึกษาของจังหวัดนนทบุรี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและขุนการัญสิขภาร (ทุเรียน ทัพภะพยัคฆ์)
ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)
นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)
ณรงค์ กิตติขจร
ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและณรงค์ กิตติขจร
ณัฐวุฒิ พิมพา
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ พิมพา เป็นนักวิชาการชาวไทย ณ RMIT University (Royal Melbourne University of Technology) ประเทศออสเตรเลีย โดยมีผลงานทางวิชาการในด้านการตลาดและการจัดการระหว่างประเทศ และ มีบทบาทต่อสื่อมวลชนภายในประเทศออสเตรเลียในฐานะนักวิชาการผู้นำเสนอข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและอาเซียนในออสเตรเลีย โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการเมืองไทย ร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและณัฐวุฒิ พิมพา
ดอน ปรมัตถ์วินัย
นายดอน ปรมัตถ์วินัย (Don Pramudwinai; เกิด: 25 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหภาพยุโรป และในอีกหลายประเท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและดอน ปรมัตถ์วินัย
ดนัย ทายตะคุ
ร.ดนัย ทายตะคุ (3 มีนาคม) ภูมิสถาปนิกและนักวิจัย ผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญแนวทางการออกแบบภูมิทัศน์นิเวศวิทยา นับว่าเป็นคนแรกของประเทศไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและดนัย ทายตะคุ
คมภิญญ์ เข็มกำเนิด
มภิญญ์ เข็มกำเนิด คมภิญญ์ เข็มกำเนิด (17 กันยายน พ.ศ. 2508 —) ผู้กำกับภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง ก้านกล้ว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคมภิญญ์ เข็มกำเนิด
คมสัน นันทจิต
มสัน นันทจิต เป็นสถาปนิก นักเขียนเรื่องสั้น นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เคยได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2541 จากเรื่อง รัก-ออกแบบไม่ได้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2550 จากเรื่อง บ้านผีสิง คมสันจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ สังกัดทีวีบูรพา และ ดีเจในรายการ หนังหน้าแมว และ จดหมายเด็กแมว ทาง แคทเรดิโอ ผลงานการเขียนเรื่องสั้น เคยได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารช่อการะเกด ที่มีสุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการ นอกเหนือจากงานเขียนแล้ว คมสันยังมีผลงานแปลเรื่องสั้นภาษาญี่ปุ่นของ ฮารูกิ มุราคาม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคมสัน นันทจิต
คมทวน คันธนู
มทวน คันธนู เป็นนามปากกาของ ประสาทพร ภูสุศิลป์ธร เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2493 ที่ธนบุรี นักประพันธ์ชาวไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ ควทวนสำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณวัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดชิโนรส ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และปริญญาตรีจาก คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้นำงานนิตยสาร และหนังสือพิมพ์หลายแห่ง อาทิ ปุถุชน ประชาธิปไตย มติชน ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสระ คมทวนเริ่มแต่งคำประพันธ์ขณะเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงในหนังสือของชมรมภาษาไทย เมื่อศึกษาอยู่ในมหาลัยธรรมศาสตร์ เขียนกลอนเปล่า, บทความและบมละครลงหนังสือวรรศิลป์ของมหาวิทยาลัย งานประพันธ์มีหลายประเภท เรื่องสั้น เช่น กบฏ:วรรณกรรมซาดิสม์ (พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคมทวน คันธนู
คำนูณ สิทธิสมาน
ำนูณ สิทธิสมาน คำนูณ สิทธิสมาน (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างที่เรียนมีบทบาทเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศนท.) ในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคำนูณ สิทธิสมาน
คณพันธ์ ปุ้ยตระกูล
ณพันธ์ ปุ้ยตระกูล ชื่อเล่น เฟิร์ส เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคณพันธ์ ปุ้ยตระกูล
คณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ประเทศไทย
การแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ (Thailand Mathematical Olympiad: TMO) เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับชาติของประเทศไทย จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ประเทศไทย
คงเดช จาตุรันต์รัศมี
งเดช จาตุรันต์รัศมี เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ นักร้องนำวงสี่เต่าเธอ ภายหลังหันมาเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ และกำกับภาพยนตร์ คงเดช จาตุรันต์รัศมี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เคยเป็นกอปปี้ไรท์เตอร์ในงานโฆษณา อ่านสปอตโฆษณาวิทยุ ทำเพลงโฆษณาและเพลงประกอบภาพยนตร์ เริ่มกำกับภาพยนตร์จากโครงการประกวดภาพยนตร์สั้น 'ส่งฝันสู่ฟิล์ม' ที่จัดขึ้นโดยนิตยสารซีเนแมก กำกับร่วมกับเกียรติ ศงสนันทน์ ที่เป็นเพื่อนตั้งแต่เรียนชั้นมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและคงเดช จาตุรันต์รัศมี
งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์
งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์
ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์
ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ (Shell English Quiz) หรือที่นิยมเรียกว่า เชลล์ควิซ เป็นรายการโทรทัศน์ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด ผลิตขึ้นตามโครงการสนับสนุนการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ รวมถึงทดสอบทักษะความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตลอดทั้งเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางโทรทัศน์ เพิ่มพูนความรู้ทางภาษาอังกฤษ และความรู้ทั่วไป ร่วมด้วยเช่นกัน โดยจัดรูปแบบเป็นการแข่งขันตอบคำถาม ซึ่งมีชาวต่างประเทศเป็นผู้ถามด้วยภาษาอังกฤษ และมีการคัดเลือกคณะนักเรียนมัธยมปลาย ซึ่งเป็นผู้แทนโรงเรียนต่างๆ จากทั้งกรุงเทพมหานครและทั่วประเทศ เข้าเป็นผู้ตอบในห้องส่ง อันเป็นการฝึกทักษะทั้งการฟังและพูดภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างความคุ้นเคยต่อสำเนียงการออกเสียงของชาวต่างชาติ ในเว็บไซต์ เชลล์ควิซ เริ่มออกอากาศตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์
ตะวัน วิหครัตน์
ตะวัน วิหครัตน์ ชื่อเล่น เต เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย แจ้งเกิดจากการเป็นพิธีกรรายการ Five Live Fresh และมีผลงานการแสดงต่อเนื่องเป็นที่รู้จักกันดี จากบท วอร์ม ในเรื่อง Room Alone 401-410 และ Room Alone 2, บท พีท ในเรื่อง Kiss The Series รักต้องจูบ และ Kiss Me Again จูบให้ได้ถ้านายแน่จริง, และบท อลัน ในเรื่อง Secret Seven เธอคนเหงากับเขาทั้งเจ็.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและตะวัน วิหครัตน์
ต่อ ศรีอาชวนนท์
ต่อ ศรีอาชวนนท์ เกรฟส์ หรือ ต่อ เกรฟส์ (Tor Graves) หรือ ต่อศักดิ์ ลิ้ม (Torsak Lim) นักแข่งรถอาชีพชาวไทย ปัจจุบันเป็นนักแข่งในระดับเวิลด์เอนดูแรนซ์แชมเปียนชิป จัดโดยสมาพันธ์รถแข่งนานาชาติ (Fédération Internationale de l'Automobile - FIA) ต่อ ศรีอาชวนนท์ เกิดที่อำเภอกำแพงแสนจังหวัดนครปฐม จบชั้นมัธยมต้นจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นเดินทางไปพักอาศัยกับบิดาที่ประเทศอังกฤษ เริ่มแข่งรถอาชีพตั้งแต่อายุ 21 ปี ปัจจุบันสังกัดทีม ADR - Delta ของประเทศอังกฤษ โดยเป็นหนึ่งในสามนักแข่งของทีมในการแข่งขันรายการ 24 ชั่วโมง เลอม็อง เป็นคนไทยคนที่สองต่อจากพระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ที่เข้าร่วมในรายการนี้ ต่อ ศรีอาชวนนท์ ได้ประกาศอำลาการขับรถแข่ง เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและต่อ ศรีอาชวนนท์
ฉลอง สิมะเสถียร
ฉลอง สิมะเสถียร นักแสดงชาวไทยผู้ล่วงลับ อดีตพระเอกดาราที่มีชื่อเสียง ในละครเวที หลังสงครามมหาเอเซียบูรพา จนถึงยุคจอแก้วทางไทยทีวี ช่อง 4 บางขุนพรหม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฉลอง สิมะเสถียร
ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ
ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ
ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร
ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร (7 ธันวาคม พ.ศ. 2481 -) สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอดีตอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร
ประพจน์ อัศววิรุฬหการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพจน์ อัศววิรุฬหการ หนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็น กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประพจน์ อัศววิรุฬหการ
ประภัทร์ ศรลัมพ์
ประภัทร์ ศรลัมพ์ พิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวไทย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 (สนช.) ปัจจุบันเป็นหัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ประภัทร์ เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประภัทร์ ศรลัมพ์
ประสิทธิ์ จุลละเกศ
นายประสิทธิ์ จุลละเกศ (5 เมษายน พ.ศ. 2457 - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2524) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตผู้พิพากษา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประสิทธิ์ จุลละเกศ
ประทีป กีรติเรขา
นายกองเอก ประทีป กีรติเรขา (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2501) อธิบดีกรมที่ดิน, รองปลัดกระทรวงมหาดไทย, อดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี และอดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดศรีสะเกษ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประทีป กีรติเรขา
ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
นายแพทย์ ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เป็นจิตแพทย์และนักเขียน นอกจากความเชี่ยวชาญด้านจิตเวชแล้ว ยังเป็นนักเขียนและคอลัมนิสต์ให้สิ่งพิมพ์และเว็บไซต์หลายแห่ง มีผลงานตีพิมพ์ทั้งในนิตยสาร พ็อกเก็ตบุ๊ค และเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั้งผลงานด้านวิชาการ จิตเวช พัฒนาการวัยเด็กและวัยรุ่น ระบบสุขภาพ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานวิจารณ์การ์ตูน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในเวลาต่อมาได้เป็นวิทยากรให้กับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายซึ่งนำมาซึ่งคำสั่งที่ 66/2523 เรื่องนโยบายต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประเสริฐ ณ นคร
ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและประเสริฐ ณ นคร
ปราชญา เรืองโรจน์
ปราชญา เรืองโรจน์ ชื่อเดิม ปราชญา ชีวนรสุชากุล, กัน ชีวนรสุชากุล ชื่อเล่น สิงโต เป็นนักแสดงชายชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็มทีวี เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและปราชญา เรืองโรจน์
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและปรีดี พนมยงค์
ปองวุฒิ รุจิระชาคร
ปองวุฒิ รุจิระชาคร ปองวุฒิ รุจิระชาคร เป็นนักเขียนที่มีผลงานหลากหลายแนว ทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น วรรณกรรมเยาวชน นวนิยายสืบสวนสอบสวน และบทความ โดยใช้นามปากกา ปองวุฒิ และ Pongwut Rujirachakorn ได้รับรางวัลทางด้านการเขียนในเวทีประกวดหลายแห่ง ผลงานบางชิ้นได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ เช่น เรื่องสั้น สินเชื่อ และ นิยาย Diamond เพชรพยาบาท รวมถึงได้รับการซื้อลิขสิทธิ์เป็นละครโทรทัศน์ ปัจจุบันมีผลงานเขียนออกมามากกว่า 85 เล่ม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและปองวุฒิ รุจิระชาคร
ปากคลองตลาด
ตลาดดอกไม้ ปากคลองตลาด (Pak Khlong Talat) เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ บริเวณถนนจักรเพชร ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อมวัดราชบูรณะ โรงเรียนราชินีและโรงเรียนสวนกุหลาบ ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 4 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน 10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้ว.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและปากคลองตลาด
นภัทร อินทร์ใจเอื้อ
นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (ชื่อเดิม: ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ; ชื่อเล่น: กัน เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6(2553) และเป็น 1 ใน 3 คนของแก๊งอสรพิษซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันในช่วงแข่งขันรายการเดอะสตาร์และยังคงคบหาสนิทสนมกันจนมาถึงปัจจุบัน อันประกอบไปด้วย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช, ได้รับรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยมจากผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา"เรือนแพ"(2554), รับบทคุณเปรม(วัยหนุ่ม) ในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล(2554-2555/2557/2560), รับบทพัดใน ลมหายใจ เดอะมิวสิคัล(2559), ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ แผลเก่า(2557), คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชาย ปี 2558, รางวัล "ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2558 คัดเลือกโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชายปี 2559 และรางวัล เพลงประกอบละครยอดนิยม ขวัญใจมหาชน (เพลง คนไม่สำคัญ ประกอบละครบัลลังก์เมฆ) Maya Awards 2559.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนภัทร อินทร์ใจเอื้อ
นริส ประทุมสุวรรณ
ลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาต.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนริส ประทุมสุวรรณ
นอร์แมน ซัตตัน
"ครู" นอร์แมน ซัตตัน อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบ นายนอร์แมน ซัตตัน (Norman Sutton – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2424 – 24 ธันวาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนอร์แมน ซัตตัน
นัสตพล มาลาพันธ์
นัสตพล มาลาพันธ์ ชื่อเล่น เอี้ยง เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ในตำแหน่งกองหลัง ปัจจุบันสังกัดสโมสรชลบุรีเอฟซี และถูกยืมตัวมาจากสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวไทย หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติไทย.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนัสตพล มาลาพันธ์
นารถ โพธิประสาท
อาจารย์นารถ โพธิประสาท ภาพวาดโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร ตำราสถาปัตยกรรมภาษาไทยเล่มแรกแต่งโดยอาจารย์ นารถ โพธิประสาท พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนารถ โพธิประสาท
นิยม ทองชิตร
นิยม ทองชิตร เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2452 ที่กรุงเทพมหานคร ในวัยเด็กเรียนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยร่วมห้องเดียวกับ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ในชั้น ม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนิยม ทองชิตร
นที รักษ์พลเมือง
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์นที รักษ์พลเมือง (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2557) อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนที รักษ์พลเมือง
นที ขลิบทอง
รองศาสตราจารย์ นที ขลิบทอง ผู้อำนวยการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) เป็นนักการเมืองคนสนิทของนายเนวิน ชิดชอ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนที ขลิบทอง
นนทพัฒน์ ปานจันทร์
นนทพัฒน์ ปานจันทร์ เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524 เป็นนักกีฬาฟันดาบสากลชาวไทย เขาเข้าร่วมในการแข่งขันฟอยล์ประเภทบุคคล ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 เขาเป็นผู้ชนะรางวัลเหรียญทองซีเกมส์สามสมัยซ้อน ตั้งแต่สมัยซีเกมส์ 2001 รวมถึงเป็นผู้ชนะรางวัลเหรียญทองในกีฬาฟันดาบในซีเกมส์ 2011 และเขาเป็นนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทยเพียงคนเดียว ที่สามารถเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศในการควอลิฟายเพื่อคัดเลือกนักฟันดาบสากลสู่การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและนนทพัฒน์ ปานจันทร์
แชมป์กีฬา 7 สี
นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มีนโยบายสำคัญประการหนึ่ง ในอันที่จะมีส่วนร่วมพัฒนาวงการกีฬาในประเทศไทยให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับสากล พร้อมทั้งให้การสนับสนุนแก่เยาวชนไทย ให้ความสนใจกับการเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วย โดยเริ่มจากปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและแชมป์กีฬา 7 สี
แก้วสรร อติโพธิ
นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและแก้วสรร อติโพธิ
แยกพาหุรัด
แยกพาหุรัด (Phahurat Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดถนนตรีเพชร และถนนพาหุรัด ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านการค้าพาหุรัด แหล่งค้าขายเสื้อผ้าสำเร็จรูปแหล่งใหญ่ และเป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับตลาดบ้านหม้อ ซึ่งเป็นย่านค้าขายอะไหล่เครื่องใช้ไฟฟ้า ลำโพงและเครื่องเสียง รวมไปถึงร้านขายเครื่องเพชร อัญมณีและเครื่องประดับ นอกจากนี้บริเวณแยกพาหุรัดยังเป็นย่านการค้าที่เก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ในอดีตเคยมีตลาดมิ่งเมืองเป็นแหล่งค้าผ้าและอุปกรณ์ตัดเย็บที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันได้กลายเป็นศูนย์การค้าดิโอลด์สยาม ซึ่งเป็นศูนย์การค้าสมัยใหม่ที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นย่านเก่าของกรุงเทพฯ และยังมีห้างไนติงเกล ห้างสรรพสินค้ายุคเก่าที่ยังคงเปิดให้บริการจนถึงปัจจุบันอยู่ที่แยกพาหุรั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและแยกพาหุรัด
แสง มนวิทูร
ตราจารย์ ร.ต.ท. แสง มนวิทูร (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 -7 ตุลาคม พ.ศ. 2516) เป็นนักวิชาการด้านภาษาบาลีและสันสกฤตของ กรมศิลปากร และศาสตราจารย์พิเศษคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยรับหน้าที่ในการสอนภาษาสันสกฤต บาลี และศาสนา ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีผลงานแปลจากภาษาบาลีและสันสกฤตที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก อาทิ ชินกาลมาลีปกรณ์ ศาสนวงศ์ สิหิงคนิทาน รัตนพิมพวงศ์ รสวาหินี นาฏยศาสตร์ คัมภีร์ลลิตวิสตระ และภควัทคีตา เป็นต้น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและแสง มนวิทูร
แสงอรุณ รัตกสิกร
รองศาสตราจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร (19 มกราคม พ.ศ. 2465 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2522) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสงอรุณ เป็นชาวตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นบุตรของ.อ.พระยาวิเศษสิงหหนาท (สาหร่าย รัตกสิกร) และคุณหญิงระเบียบ สกุลเดิม คงพันธุ์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนประจำจังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นย้ายมาศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ต่อมาเข้าศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับทุน ก..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและแสงอรุณ รัตกสิกร
โชติ สุวัตถิ
ตราจารย์โชติ สุวัตถิ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ นับเป็นนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในด้านสัตว์น้ำและพรรณพืชคนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานศึกษา วิจัย และอนุกรมวิธานสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น ปลาปักเป้าควาย (Tetraodon suvatti) ก็ได้รับการตั้งชื่อสายพันธุ์ (Species) เพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน อีกทั้งยังเป็นผู้ชำนาญการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย (Scientific drawing) มีผลงานหนังสือที่ยังใช้อ้างอิงมาจนถึงปัจจุบัน เช่น Fishes of Thailand, Flora of Thailand—old and new, and night and day: Flora of Thailand และ กล้วยไม้เมืองไทย โชติ สุวัตถิ รวบรวม เป็นต้น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโชติ สุวัตถิ
โกเมน ภัทรภิรมย์
ตราจารย์ โกเมน ภัทรภิรมย์ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอัยการสูงสุดของไทย แฃะอดีตกรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) จำกั.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโกเมน ภัทรภิรมย์
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
โรงเรียนราชินี
รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนราชินี
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์ (Suankularb Wittayalai (Jiraprawat) Nakornsawan School) (อักษรย่อ: ส.ก.จ., S.K.J.) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครสวรร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี (ส.ก.ช.) (อังกฤษ: Suankularb Wittayalai Chon Buri School) S.K.C. ตั้งอยู่ที่เลขที่ 8 หมู่ 3 ตำบลบ่อวิน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยลำดับที่ 6 ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี (อังกฤษ: Suankularb Wittayalai Saraburi School) (อักษรย่อ: ส.ก.บ., S.K.B.) เดิมชื่อ โรงเรียนปากเพรียววิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเครือสวนกุหลาบฯลำดับที่ 8 ของกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ ตำบลปากเพรียว อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช (Suankularb Wittayalai Nakhon Si Thammarat School) (อักษรย่อ: ส.ก.นศ., S.K.NS.) เดิมชื่อ โรงเรียนลานสกาประชาสรรค์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สิบเอ็ด ปัจจุบันมีอายุ ปี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 12 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 1080210784 มีเนื้อที่ 42 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 109 หมู่ที่ 11 ตำบลกำโลน อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช เป็นหนึ่งในกลุ่มโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัยทั้ง 11 สวน โดยมีกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือ - เนตรนารี สวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย
รงเรียนอยุธยาวิทยาลัย (Ayutthaya Wittayalai School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดทำการสอนตั้งแต..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย
โรงเรียนอัสสัมชัญ
รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนอัสสัมชัญ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ (Nawamintrachinutit Suankularb Wittayalai Samutprakarn School) (อักษรย่อ: นมร.ส.ก.ส., S.K.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาเขต6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชื่อเดิม: กรมสามัญศึกษา) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารชุดปัจจุบันของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 โดยผู้ดูแลระบบ นมร.สกส 1.นายบรรหาร เอี่ยมสอาด ผู้อำนวยการคนที่ 6 ของโรงเรียน,รองผู้อำนวยการ 2.นางอรุณี คำสุวรรณ,3.นางสาวสุภกร สวนสมุทร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี
รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย แห่งที่ 4 เมื่อวันที่ 12-13 ตุลาคม..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หรือ โรงเรียนสตรีวิทยา 3 เป็นโรงเรียนรัฐบาล ซึ่งโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือสตรีวิทยา ตั้งอยู่ที่ ถนนพุทธมณฑล สาย3 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งของโรงเรียนใกล้สถานที่สำคัญ 2 แห่ง คือ ถนนอุทยาน และพุทธมณฑล มีการเรียนการสอนตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
โรงเรียนในประเทศไทย
รงเรียนในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรกในการปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ ในสมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนในประเทศไทย
โรงเรียนเทพศิรินทร์
รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโรงเรียนเทพศิรินทร์
โอภาส อรุณินท์
อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและโอภาส อรุณินท์
ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม
en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม
ไสว หัพนานนท์
ว หัพนานนท์ (13 ตุลาคม พ.ศ. 2450 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยเรียนร่วมรุ่นเดียวกับ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช โดยผลัดกันเรียนได้ที่หนึ่งกับที่สองกับหม่อมราชวงศ์เสนีย์ นายไสวเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคกิจสังคม กับ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและไสว หัพนานนท์
เพลงกราวกีฬา
ป็นเพลงที่นิยม ใช้ในการเชียร์กีฬา ประพันธ์คำร้องโดย ครูเทพ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี หรือ นามจริง สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา ส่วนทำนอง ใช้ทำนองเพลงไทยเดิมคือ เพลงกราวนอก มิได้ประพันธ์โดย นารถ ถาวรบุตร ซึ่งประพันธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเพลงกราวกีฬา
เกษม ศรีพยัคฆ์
กษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเกษม ศรีพยัคฆ์
เกษมสันต์ วีระกุล
กษมสันต์ วีระกุล คณะทำงานด้านเศรษฐกิจของพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรองหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตผู้อำนวยการสำนักสื่อสารองค์กร บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และอดีตผู้ดำเนินรายการ เหตุบ้านการเมือง ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ปัจจุบัน เป็นนักวิชาการอิสระ และผู้เชี่ยวชาญด้าน AEC? และเป็นผู้ดำเนินรายการช่วงข่าวต่างๆ ทางช่อง TNN 24 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ 3SD เช่น เหตุบ้านการเมือง, AEC Insight กับเกษมสันต์, AEC Plus กับเกษมสันต์, AEC World, ข่าวเช้าวันหยุด, เที่ยงวันทันโลก และคลื่นวิทยุ FM 100.5 รายการ Good Morning ASEAN ช่วง เจาะลึกอาเซียน นายเกษมสันต์ วีระกุล ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ รายการสถานการณ์ปัจจุบันดีเด่น ประจำปี 2542 และผู้ดำเนินรายการชายดีเด่น รายการเหตุบ้านการเมือง ประจำปี 2543 รางวัล Boss of the year 2005 นักบริหารจัดการดีเด่น สาขาบริหารจัดการธุรกิจการตลาด ประจำปี 2548, รางวัลช่อสะอาด ปี 2557 จากผลงาน “ถอดบทเรียนปราบปรามคอร์รัปชั่นโลก” เผยแพร่ทางสถานีข่าว TNN 24 ล่าสุดได้รับรางวัลพระราชทาน รางวัลเทพทอง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2559 ด้านโทรทัศน์ดีเด่น นายเกษมสันต์ วีระกุล ผู้ดำเนินรายการ "ข่าวเช้าวันหยุด" ช่วงอะเมซิ่งเออีซีกับเกษมสันต์ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเกษมสันต์ วีระกุล
เกียรติ ศงสนันทน์
กียรติ ศงสนันทน์ เป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย เกียรติเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รุ่นเดียวกับคงเดช จาตุรันต์รัศมี จากนั้นได้ศึกษาต่อสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต และทำงานที่บริษัทโฆษณา เคยร่วมกับคงเดชกำกับภาพยนตร์สั้น เรื่อง เจ๊ง ส่งเข้าร่วมการประกวดของมูลนิธิหนังไทย ได้รับรางวัลชมเชยในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเกียรติ ศงสนันทน์
เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
เรืองโรจน์ มหาศรานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เรืองโรจน์ มหาศรานนท์ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเรืองโรจน์ มหาศรานนท์
เล้าโลม
ล้าโลม เป็นกลุ่มนักร้อง นักดนตรี แนวเพลง ป็อบร็อก/โมเดิร์นร็อก ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน เป็นกลุ่มดนตรีสังกัดค่าย RS เจ้าของเพลงฮิต "หยุดได้ไหม" และ เพลง "เพื่อนกับแฟนแทนกันไม่ได้".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเล้าโลม
เสริม ณ นคร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเสริม ณ นคร
เห่าดง
ห่าดง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเห่าดง
เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)
ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน
้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน
เทิ่ง สติเฟื่อง
ทิ่ง สติเฟื่อง นักแสดงผู้ล่วงลับ อดีตนักธุรกิจโฆษณา นักจัดรายการทีวี นักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียงมายาวนานตั้งแต่ยุคแรกของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเทิ่ง สติเฟื่อง
เขตพระนคร
ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเขตพระนคร
เดชา บุญค้ำ
ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเดชา บุญค้ำ
เฉก ธนะสิริ
นายแพทย์ เฉก ธนะสิริ (เกิด กันยายน พ.ศ. 2468 -) แพทย์ชาวไทย อดีตรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นักบริหาร 10) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิม และชมรมอยู่ 100 ปี-ชีวีเป็นสุข ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเฉก ธนะสิริ
เฉิด สุดารา
ฉิด สุดารา (14 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 10 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือรู้จักกันในชื่อ "มาสเตอร์ เฉิด สุดารา" (ม.เฉิด สุดารา) เป็นอดีตครูโรงเรียนอัสสัมชัญ ผู้ริเริ่มการแปรอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งใช้ครั้งแรก ในการแข่งขันฟุตบอลรุ่นกลางชิงชนะเลิศระหว่างทีมโรงเรียนอัสสัมชัญกับทีมโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย ปี พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเฉิด สุดารา
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเปรม ติณสูลานนท์
เปรมณัช สุวรรณานนท์
ปรมณัช สุวรรณานนท์ (ชื่อเล่น: เป๊ก) เกิดวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527 เป็นดีเจ นักร้อง และนักแสดงชาวไท.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเปรมณัช สุวรรณานนท์
เนวิน ชิดชอบ
นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและเนวิน ชิดชอบ
SK
SK หรือ Sk สามารถหมายถึง.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและSK
15 กรกฎาคม
วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและ15 กรกฎาคม
365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์
365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์ (Final Score) เป็นภาพยนตร์แนวสารคดีเกี่ยวกับเรื่องราวการเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย ของเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 4 คน ในช่วงปีการศึกษา พ.ศ.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและ365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์
8 มีนาคม
วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.
ดู โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและ8 มีนาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Suankularbสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนนายทหารมหาดเล็กเพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
พันท้ายนรสิงห์พิชัย กุลละวณิชย์พิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์พิสิฐ ลี้อาธรรมพิเชียร อำนาจวรประเสริฐพงศ์นรินทร์ อุลิศพงษ์พิสุทธิ์ ผิวอ่อนพ่วง สุวรรณรัฐกรวีร์ ปริศนานันทกุลกระมล ทองธรรมชาติกรีฑาสถานแห่งชาติการุณ เก่งระดมยิงกิตติ สีหนนทน์กิตติคุณ เชียรสงค์กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครภราดร ปริศนานันทกุลภักดี โพธิศิริภาวิช ทองโรจน์ภิญโญ รู้ธรรมมวยสากลมังกร พรหมโยธีมาลัย ชูพินิจมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์มงคล อมาตยกุลยุทธนา บุญอ้อมรชฏ พิสิษฐบรรณกรระวี ภาวิไลรัฐพล พรรณเชษฐ์รายชื่อกลุ่มโรงเรียนในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/สรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ละอ่อนวรวุฒิ ศรีมะฆะวศิษฏ์ ผ่องโสภาวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์วัลลภ ปิยะมโนธรรมวัน อยู่บำรุงวิชา การพิศิษฎ์วิบูลย์ คูหิรัญวิรัช ชาญพานิชย์วิรัช วังจันทร์วิลาศ มณีวัตวิจิตร สุขมากวิทยากร เชียงกูลวิทยาลัยวุฒิพงศ์ ฉายแสงวีระ สมความคิดวีระ ธีรภัทรวงศ์รวี นทีธรวนัสธนา สัจจกุลศรัณยู วงษ์กระจ่างศรีราชา วงศารยางกูรศักดิ์สยาม ชิดชอบศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ศุภสิทธิ์ ชินวินิจกุลศุลี มหาสันทนะสมชัย ศรีสุทธิยากรสมชาย อาสนจินดาสมชาย เพศประเสริฐสมพัฒน์ แก้วพิจิตรสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสรัลธร คล้ายอุดมสราวุธ เลิศปัญญานุชสวนกุหลาบสอ เสถบุตรสัญญา คุณากรสันติ เศวตวิมลสิทธา สภานุชาติสิทธิ เศวตศิลาสิทธิโชค กันหนูสุชีน เอ่งฉ้วนสุภา ศิริมานนท์สุรยุทธ์ จุลานนท์สุวรรณ สุวรรณเวโชสุวิกรม อัมระนันทน์สุธาชัย ยิ้มประเสริฐสุด แสงวิเชียรสุประวัติ ปัทมสูตสุนทร คงสมพงษ์สุโข วุฑฒิโชติสุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยาสีชมพูสถานีสามยอดสงวน เล็กสกุลสตางค์ มงคลสุขสนอง นิสาลักษณ์สนั่น สุมิตรสนธิ บุณยะชัยส่ง เทภาสิตสโมสรฟุตบอลสวนกุหลาบวิทยาลัยสโมสรฟุตบอลทรู แบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2560สโมสรฟุตบอลไดสตาร์ กรุงเทพฯหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงมานิจ ชุมสายหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)หม่อมเจ้าลักษณากร เกษมสันต์หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุลหลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)หลวงบุณยมานพพานิชย์ (อรุณ บุณยมานพ)หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)หลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย)หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)อชิรวิชย์ สาลิวรรธนะอภัย จันทวิมลอภิชาติ ดำดีอภิวัฒน์ มุทิรางกูรอมเรศ ศิลาอ่อนอวย เกตุสิงห์อัศนี พลจันทรอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอาทิวราห์ คงมาลัยอาคารอนุรักษ์อิทธิพล คุณปลื้มอุดม ไกรวัตนุสสรณ์อธิษว์ ศรสงครามอนุสรณ์ มณีเทศฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)จรัส สุวรรณเวลาจักรพงศ์ สิริรินจักริน ภูริพัฒน์จัง จริงจิตรจารุบุตร เรืองสุวรรณจาตุรนต์ ฉายแสงจำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยาจิตติชัย รุจนกนกนาฏจิ๊ด เศรษฐบุตรจุมพล มั่นหมายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์จุฑาวุฒิ ภัทรกำพลจีเอ็มเอ็มไลฟ์เฮาส์จตุรมิตรสามัคคีจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 23จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 24จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 25จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 26จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 27จตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28ธรรมชาติ นาคะพันธ์ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาธรรมทาส พานิชธัชพล เสือทองคำธานินทร์ กรัยวิเชียรธีรพล นิยมธีรยุทธ บุญมีธีรศักดิ์ กรรณสูตธงชัย วินิจจะกูลธนชัย อุชชินธนิต ธรรมสุคติถวิล รายนานนท์ถนนตรีเพชรทรงกลด ชื่นชูผลทรงศักดิ์ เปรมสุขทวี บุณยเกตุทศวรรษ ลิ้มวรรณเสถียรทองใบ ทองเปาด์ทัชชกร บุญลัภยานันท์ที่สุดในประเทศไทยขรรค์ชัย กัมพลานนท์ขวัญสรวง อติโพธิขุนการัญสิขภาร (ทุเรียน ทัพภะพยัคฆ์)ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ณรงค์ กิตติขจรณัฐวุฒิ พิมพาดอน ปรมัตถ์วินัยดนัย ทายตะคุคมภิญญ์ เข็มกำเนิดคมสัน นันทจิตคมทวน คันธนูคำนูณ สิทธิสมานคณพันธ์ ปุ้ยตระกูลคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ประเทศไทยคงเดช จาตุรันต์รัศมีงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ตะวัน วิหครัตน์ต่อ ศรีอาชวนนท์ฉลอง สิมะเสถียรฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชรประพจน์ อัศววิรุฬหการประภัทร์ ศรลัมพ์ประสิทธิ์ จุลละเกศประทีป กีรติเรขาประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประเสริฐ ณ นครปราชญา เรืองโรจน์ปรีดี พนมยงค์ปองวุฒิ รุจิระชาครปากคลองตลาดนภัทร อินทร์ใจเอื้อนริส ประทุมสุวรรณนอร์แมน ซัตตันนัสตพล มาลาพันธ์นารถ โพธิประสาทนิยม ทองชิตรนที รักษ์พลเมืองนที ขลิบทองนนทพัฒน์ ปานจันทร์แชมป์กีฬา 7 สีแก้วสรร อติโพธิแยกพาหุรัดแสง มนวิทูรแสงอรุณ รัตกสิกรโชติ สุวัตถิโกเมน ภัทรภิรมย์โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนราชินีโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราชโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัยโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานีโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑลโรงเรียนในประเทศไทยโรงเรียนเทพศิรินทร์โอภาส อรุณินท์ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไสว หัพนานนท์เพลงกราวกีฬาเกษม ศรีพยัคฆ์เกษมสันต์ วีระกุลเกียรติ ศงสนันทน์เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเรืองโรจน์ มหาศรานนท์เล้าโลมเสริม ณ นครเห่าดงเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเทิ่ง สติเฟื่องเขตพระนครเดชา บุญค้ำเฉก ธนะสิริเฉิด สุดาราเปรม ติณสูลานนท์เปรมณัช สุวรรณานนท์เนวิน ชิดชอบSK15 กรกฎาคม365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์8 มีนาคม