สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: กัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโดมาดามบัตเตอร์ฟลายมิลานลา วอลลีวิตโตรีโอ กรีโกโลอันโตนีโอ ซาลีเอรีจาโกโม ปุชชีนีตูรันโดนิกโกเลาะ ปากานีนีเฟาสต์
กัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโด
มุมจากพื้นในช่วงคริสต์มาสปี พ.ศ. 2552 ด้านในกัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโด ช่วงปี ค.ศ. 1880 กัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโด (Galleria Vittorio Emanuele II) เป็นหนึ่งในศูนย์การค้าที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีลักษณะเป็นทางเดินและอาคารขนาบ 4 ชั้น คลุมด้วยหลังคาทรงโค้ง ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ศูนย์การค้าแห่งนี้ตั้งชื่อตามพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 2 แห่งอิตาลี กษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรอิตาลี โดยได้รับการออกแบบในปี พ.ศ.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและกัลเลรีอาวิตโตรีโยเอมานูเอเลเซคอนโด
มาดามบัตเตอร์ฟลาย
ปสเตอร์อุปรากรเรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย ของ จาโกโม ปุชชีนี (วาดโดยอดอลโฟ โฮเฮนสตน์, 1854–1928) มาดามบัตเตอร์ฟลาย (Madama Butterfly) เป็นอุปรากรความยาว 3 องก์ (บทประพันธ์ดั้งเดิมมี 2 องก์) ประพันธ์โดย จาโกโม ปุชชีนี คีตกวีชาวอิตาลี คำร้องโดยลุยจิ อิลลิกา (1857 – 1919) เปิดการแสดงครั้งแรกเมื่อปี 1904 เนื้อหากล่าวถึงเรื่องราวโศกนาฏกรรมความรักระหว่างหญิงสาวชาวญี่ปุ่นกับนายทหารเรือชาวอเมริกัน ในไทยได้มีการสร้างเป็นละครเวทีในชื่อเรื่อง "โจโจ้ซัง" และได้มีการดัดแปลงเป็นบทละครเรื่องสาวเครือฟ้า นักวิชาการคนหนึ่งระบุว่า เรื่องราวของอุปรากรดังกล่าวอิงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในนะงะซะกิในต้นคริสต์ทศวรรษ 1890 รุ่นดั้งเดิมของอุปรากรซึ่งมี 2 องก์ แสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 1904 ที่โรงอุปรากรลา สกาลาในมิลาน ได้รับการยอมรับน้อยมากแม้จะมีนักร้องที่มีชื่อเสียงหลายคนรับบทนำ ส่วนใหญ่เป็นเพราะเสร็จช้าและเวลาฝึกซ้อมไม่เพียงพอ ปุชชีนีทบทวนอุปรากร แบ่งองก์ที่สองเป็นสององก์ และเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ วันที่ 28 พฤษภาคม 1904 รุ่นนี้มีการแสดงในเบรสเซียและประสบความสำเร็จอย่างสูง มาดามบัตเตอร์ฟลาย อยู่ในรายการอุปรากรที่มีการแสดงทั่วโลกมากที่สุด อันดับที่ 7 ของโอเปร.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและมาดามบัตเตอร์ฟลาย
มิลาน
มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.
ลา วอลลี
ลา วอลลี (La Wally) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลี ความยาว 4 องก์ แต่งโดยอัลเฟรโด คาตาลานี (1854 – 1893) คำร้องโดยลุยจิ อิลลิกา (1857 – 1919) ออกแสดงครั้งแรกที่โรงอุปรากรลา สกาลา มิลาน เมื่อวันที่ 20 มกราคม..
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและลา วอลลี
วิตโตรีโอ กรีโกโล
วิททอริโอ กริโกโล่ (Vittorio Grigolo) เกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 เป็นนักร้องชาวอิตาลี วิททอริโอ เกิดที่ Rome แต่เติบโตที่ Arezzo เขาเริ่มต้นร้องเพลงเมื่อายุ 4 ปี เมื่อายุ 12 ปี เขาได้ร้องเพลงร่วมกับ ลูซิอาโน ปาวารอตติ ที่ Rome Opera House จนได้รับคำชมว่า "He's a little pavarotti" (พาราร็อตติ น้อย) พออายุได้ 18 ปี เขาได้เข้าร่วมกับ Vienna Opera Company เขาจึงกลายเป็นนักร้อง Tenor ชาวอิตาลีที่อายุน้อยที่สุด ณ โรงอุปรากรลา สกาลา ตอนอายุ 23 ปี วิททอริโอ ได้แจ้งเกิดในฐานะนักร้องโอเปร่า และได้ผันมาทางป๊อปเนื่องจากต้องการขยับขยายกลุ่มแฟนเพลงที่มากกว.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและวิตโตรีโอ กรีโกโล
อันโตนีโอ ซาลีเอรี
thumb อันโตนีโอ ซาลีเอรี เกิดที่เลญญาโก (ใกล้กับเมืองเวโรนา) ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) เสียชีวิตที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและอันโตนีโอ ซาลีเอรี
จาโกโม ปุชชีนี
กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและจาโกโม ปุชชีนี
ตูรันโด
ปสเตอร์การแสดงรอบปฐมทัศน์ ตูรันโด (Turandot) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีจำนวน 3 องก์ เขียนโดยจาโกโม ปุชชีนี คีตกวีอุปรากรคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของจาโกโม ปุชชีนี ที่เสียชีวิตก่อนจะเขียนเสร็จ ปุชชีนีเริ่มเขียนอุปรากรเรื่องนี้ตั้งแต่เดือนมีนาคม..
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและตูรันโด
นิกโกเลาะ ปากานีนี
นิกโกเลาะ ปากานีนี (Niccolò Paganini; 27 สิงหาคม ค.ศ. 1782 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1840) เป็นนักไวโอลิน วิโอลา กีตาร์ในยุคโรแมนติกชาวอิตาลีที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับถึงฝีมือการเล่นว่าเป็นที่หนึ่งในยุคนั้น ทั้งยังได้พัฒนาเทคนิคการสีไวโอลินแบบใหม่ เขายังมีผลงานประพันธ์โซนาตา คอนแชร์โต และคาปรีซสำหรับการเดี่ยวไวโอลินจำนวนหลายชิ้น ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ Caprice No.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและนิกโกเลาะ ปากานีนี
เฟาสต์
วาดในปี 1925 แสดงภาพเฟาสต์ และเมฟิสโตฟิลีส จากเฟาสต์ฉบับของเกอเธอ ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นภาพของนายแพทย์โยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ ต้นแบบของเฟาสต์ เฟาสต์ (Faust) หรือ เฟาสตุส (Faustus) เป็นตัวเอกในตำนานโศกนาฏกรรมของเยอรมัน เกี่ยวกับชายที่ขายวิญญาณให้ปิศาจเมฟิสโตฟิลีส (Mephistopheles) เพื่อแลกกับความรู้ ได้รับการดัดแปลงเป็นวรรณกรรม บทละคร ภาพเขียน และงานดนตรี เป็นจำนวนมาก ที่มาของตัวละครเฟาสต์ สันนิษฐานว่ามาจากเรื่องราวของโยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ (ค.ศ.
ดู โรงอุปรากรลา สกาลาและเฟาสต์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ La ScalaTeatro alla Scalaลา สกาลาลาสกาลาโรงอุปรากรลาสกาลา