โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรงพยาบาลหัวเฉียว

ดัชนี โรงพยาบาลหัวเฉียว

รงพยาบาลหัวเฉียว (华侨; พินอิน: Huáqiáo) เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบำรุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการในปี..

18 ความสัมพันธ์: ชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)การลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผลการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งรายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานครรายชื่อโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมวาสนา พูนผลสถานีกษัตริย์ศึกถนนพลับพลาไชยทนงศักดิ์ ศุภการขัตติยะ สวัสดิผลนิ้วกลมแยกกษัตริย์ศึก

ชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์

นาวาเอก ชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์ หรือ หมวดเนท (30 เมษายน พ.ศ. 2528 — 22 เมษายน พ.ศ. 2556) เป็นหัวหน้าหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิด (EOD) ที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ หลังจากเข้าพิธีสมรสกับคนรักเพียงไม่กี่เดือน.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและชัยสิทธิ์ เตชะสว่างวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)

ระสาสนโสภณ ฉายา ภทฺทิโย (นามเดิม: ใย สุขสิงห์; 27 ธันวาคม พ.ศ. 2443 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2541) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร รองแม่กองบาลีสนามหลวง และเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและพระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย) · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล

มื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและการลอบสังหารขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

หน้าอาคารที่ทำการมูลนิธิขาเทียมฯ จ.เชียงใหม่ พร้อมดอกของต้นประดู่แดง ซึ่งองค์ประธานมูลนิธิทรงปลูก เมื่อคราวเสด็จฯ เปิดที่ทำการมูลนิธิขาเทียมฯ มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดตั้ง หลังจากทรงทราบว่า รองศาสตราจารย์นายแพทย์เทอดชัย ชีวะเกตุ และคณะ สามารถทำขาเทียมได้จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อจะทำขาเทียมตามแบบที่ ร.น.เทอดชัยและคณะได้ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่งขาเทียมที่ได้มีน้ำหนักเบา และราคาถูกกว่าขาเทียมที่ผลิตจากโรงพยาบาลของรัฐในขณะนั้นหลายเท่า เพื่อพระราชทานให้แก่ผู้พิการขาขาดที่ยากไร้ โดยไม่เลือกเชื้อชาติศาสนา และไม่คิดมูลค่า มูลนิธิขาเทียมฯ ได้รับการจดทะเบียนเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2535 โดยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงดำรงตำแหน่งประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธิ โดยทั้งสองพระองค์พระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิมในการจัดตั้งมูลนิธิอีกด้วย อนึ่ง มูลนิธิขาเทียมฯ มีชื่อเต็มเป็นภาษาอังกฤษว่า PROSTHESES FOUNDATION OF HER ROYAL HIGHNESS THE PRINCESS MOTHER เขียนโดยย่อได้ว่า PROSTHESES FOUNDATION OF H.R.H. THE PRINCESS MOTHER หรือ PROSTHESES FOUNDATION ก็ได้.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและมูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง

ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิฯ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง (หัวเฉียวเป้าเต๋อซ่านถัง; ฮกเกี้ยน: หัวเกียเปอเตียกเชียงต๋อง; แต้จิ๋ว: ฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง) เป็นมูลนิธิบรรเทาสาธารณภัย ปัจจุบันตัั้งอยู่ที่เลขที่ 326 ถนนเจ้าคำรบ ตัดกับถนนพลับพลาไชย แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 ที่มาจาก คณะเก็บศพไต้ฮงกง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีโรงพยาบาลในสังกัดของกรุงเทพมหานครเอง 11 แห่ง(ไม่นับคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) ศูนย์บริการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร 2 แห่ง ประกอบไปด้วยศูนย์เอราวัณ สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และศูนย์นเรนทร สังกัดโรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเอกชนมีทั้งหมด 93 แห่ง สถานพยาบาลเอกชนทั้งหมด 2 แห่งศูนย์รักษาเลสิคและสายตา 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลจักษุรัตนิน และ โรงพยาบาลของรัฐทั้งหมด 34 แห่ง สถาบันจิตเวชทั้งหมด 3 แห่ง สถานพยาบาลของรัฐทั้งหมด 1 แห่ง โรงพยาบาลรัฐวิสาหกิจทั้งหมด 2 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะทางทันตกรรม 3 แห่งได้แก่ โรงพยาบาลทันตกรรมทองหล่อ ศูนย์ทันตกรรม บางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล เดนทัล เซ็นเตอร์ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทางโรคไต 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์โรงพยาบาลรักษาด้วยวิธีสมุทัยเวชศาสตร์ 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเบทเทอร์บีอิ้ง โรงพยาบาลเฉพาะโรคผิวหนัง 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลผิวหนัง อโศก รวมแล้วกรุงเทพมหานครมีสถานพยาบาลที่ได้รับการอนุมัติให้เป็นโรงพยาบาลอย่างถูกต้องตามกฎหมาย 138 แห่งโดยมี 7 แห่งใน 137 แห่งเป็นโรคพยาบาลเฉพาะทาง และมีสถาบันสถานพยาบาลหรือศูนย์การแพทย์รวมถึงคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ในส่วนของโรงพยาบาลของรัฐแบ่งเป็น สังกัดกรุงเทพมหานคร 11 แห่ง(ไม่นับคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 5 แห่ง สังกัดกระทรวงศึกษา 2 แห่ง สังกัดกระทรวงกลาโหม 5 แห่ง สังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2 แห่ง สังกัดกระทรวงยุติธรรม 1 แห่ง สังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 1 แห่ง สังกัดสภากาชาดไทย 1 แห่ง สังกัดมูลนิธิมิราเคิลออฟไลฟ์ 1 แห่ง สังกัดสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ 1 แห่ง สถาบันจิตเวชสังกัดกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง สถาบันจิตเวชสังกัดรัฐบาล 1 แห่ง ในส่วนของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานครถือว่าเป็นสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร ไม่ได้ขึ้นอยู่กับกรุงเทพมหานครโดยตรงแต่เป็นโรงพยาบาลในกำกับของกรุงเทพมหานคร ในปี..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและรายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและรายชื่อโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา พูนผล

วาสนา พูนผล เป็นนักแสดงไทยที่มีหน้าตาออกลูกครึ่งเนื่องจากคุณพ่อของเธอมีเชื้อสายอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่โรงพยาบาลหัวเฉียว มีพี่น้อง 3 คน ซึ่งเธอเป็นคนสุดท้อง สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนแสนยานุกรวิทยา และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ก่อนที่จะย้ายตามพี่ชายไปเรียนที่ประเทศไต้หวัน 3 ปี โดยเข้าเรียนโรงเรียนหญิงล้วนที่ใช้ภาษาจีนกลางก่อน ต่อด้วยโรงเรียนนานาชาติ จากนั้นจึงกลับเมืองไทยและสอบเทียบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนมักกะสันพิท.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและวาสนา พูนผล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกษัตริย์ศึก

นีกษัตริย์ศึก เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ-พรานนก โดยจะเป็นสถานีแรกของส่วนต่อขยายด้านตะวันตกของรถไฟฟ้าบีทีเอส ซึ่งใช้ระบบใต้ดิน และมีแนวเส้นทางเข้าสู่พื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันตามแผนแม่บทฯ ฉบับใหม่ โครงการในส่วนนี้ได้ถูกยกเลิกทั้งโครงการ และได้ทำการเปลี่ยนชื่อสถานีจากกษัตริย์ศึกเป็นยศเสแทน และปรับให้กลับไปเป็นโครงสร้างยกระดับตามเดิม เพื่อให้สถานียศเสแห่งนี้สามารถเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มได้ที่สถานี.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและสถานีกษัตริย์ศึก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพลับพลาไชย

แยกพลับพลาไชย ในมุมมองจากถนนหลวง ถนนพลับพลาไชยคือถนนที่เป็นจุดตัด ถนนพลับพลาไชย (Thanon Phlapphla Chai) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มที่แยกแปลงนาม อันเป็นทางแยกที่ตัดระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนแปลงนาม ที่แขวงป้อมปราบ จากนั้ันทอดยาวไปจนถึงแยกพลับพลาไชย อันเป็นห้าแยกที่เป็นจุดตัดกับถนนหลวงและถนนไมตรีจิตต์ และไปสิ้นสุดที่แยกอนามัย อันเป็นจุดตัดกับถนนบำรุงเมือง ที่แขวงวัดเทพศิรินทร์ รวมความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร ถนนพลับพลาไชย เป็นถนนที่มีสถานที่สำคัญ ๆ หลายแห่งตั้งอยู่ เช่น มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง, สถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 1 และ 2 (สน.พลับพลาไชย 1 และ 2) ที่ดูแลพื้นที่ย่านเยาวราชทั้งหมด และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียง เช่น วงเวียน 22 กรกฎาคม, โรงพยาบาลหัวเฉียว, โรงพยาบาลกลาง เป็นต้น, วัดคณิกาผล, ศาลเจ้าหลี่ตี้เมี่ยว, วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร, องค์การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (ภาคประชาชน), สมาคมส่งเสริมวิชาชีพ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ (แห่งประเทศไทย) เป็นต้น โดยชื่อ "พลับพลาไชย" มาจากชื่อของวัดพลับพลาไชย อันเป็นวัดเก่าแก่ที่ตั้งอยู่บริเวณนี้ มีประวัติมาตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรี โดยในอดีตสถานที่บริเวณนี้มีลักษณะเป็นโคกหรือเนินดินขนาดใหญ่ และมีการตั้งคอกวัวไว้ที่นี่ด้วย จึงนิยมเรียกกันว่า "วัดโคก" หรือ "วัดคอก" จนมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเปลี่ยนนามของวัดแห่งนี้ใหม่ เป็น "วัดพลับพลาชัย" เนื่องจากเป็นสถานที่ตั้งพลับพลาในการซ้อมรบของกองเสือป่ารักษาดินแดน ถนนพลับพลาไชย ในปี..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและถนนพลับพลาไชย · ดูเพิ่มเติม »

ทนงศักดิ์ ศุภการ

ทนงศักดิ์ ศุภการ มีชื่อจริงว่า ทนงศักดิ์ ศุภทรัพย์ (สกุลเดิม: หาทรัพย์; เกิด 9 กันยายน 2504) มีชื่อเล่นว่า นง เป็นนักแสดงและช่างภาพชาวไท.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและทนงศักดิ์ ศุภการ · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วกลม

ราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกาว่า นิ้วกลม (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2521) เป็นครีเอทีฟโฆษณา ผู้กำกับโฆษณา นักเขียน พิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่ออย่าง โตเกียวไม่มีขา ชื่อนิ้วกลม เริ่มจากตอนที่เขียนเริ่มใช้อินเทอร์เน็ต ในเว็บบอร์ดคณะ ที่เขามักชอบเข้าไปตั้งกระทู้เห็นคนอื่นมีนามจอ (นามปากกาที่ใช้ในจอคอมพิวเตอร์) อย่าง “ตัวกลม” จึงเริ่มมองดูนิ้วตัวเอง แล้วตั้งนามจอว่า "นิ้วกลม" และจึงใช้นามปากกานี้มาอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและนิ้วกลม · ดูเพิ่มเติม »

แยกกษัตริย์ศึก

แยกกษัตริย์ศึก (Kasat Suek Intersection) เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงคลองมหานาคและแขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และแขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่เป็นจุดกันระหว่างถนนพระราม 1, ถนนกรุงเกษม และถนนบำรุงเมือง ชื่อทางแยกมาจาก "สะพานกษัตริย์ศึก" ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่อยู่ตรงทางแยกฝั่งถนนพระราม 1 เดิมสะพานนี้มีชื่อที่เรียกกันว่า "สะพานยศเส" ซึ่งเป็นสะพานไม้ ต่อมาสะพานยศเสมีความชำรุด ในปี..

ใหม่!!: โรงพยาบาลหัวเฉียวและแยกกษัตริย์ศึก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »