โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

ดัชนี โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe, 28 สิงหาคม พ.ศ. 2292 — 22 มีนาคม พ.ศ. 2375) เป็นผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน เขาเป็นทั้งนักเขียนนิยาย นักเขียนบทละคร นักสิทธิมนุษยชน นักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา รวมถึงดำรงตำแหน่งสมาชิกคณะบริหารของไวมาร์ในประเทศเยอรมนีอยู่ 10 ปี เกอเทอเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของวรรณคดีเยอรมัน คลาสสิกใหม่ของยุโรปและโรมัน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกอเทอและงานของเขาได้ส่งผลไปทั่วยุโรปและได้สร้างแรงบันดาลใจกับงานต่อ ๆ มาทางด้าน ดนตรี การละคร และกวี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2292 หมวดหมู่:นักเขียนชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักสิทธิมนุษยชน หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวเยอรมัน.

57 ความสัมพันธ์: ชาร์ล กูโนชาวเยอรมันฟรานซ์ คาฟคาพ.ศ. 2375พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียการฆ่าตัวตายการฆ่าตัวตายเลียนแบบกึนเทอร์ กรัสส์มหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ตมนุษยศาสตร์ยาโกบ ยอร์ดานส์ยุคเรืองปัญญารพินทรนาถ ฐากุรรายชื่อภาพยนตร์ของวอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอรายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะรายชื่อนักปรัชญารูดอล์ฟ ชไตเนอร์ลาพร็องตีซอร์ซีเยลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนลูคัส ครานัคลูเชียนวิลเลียม เชกสเปียร์ศึกอภินิหารพ่อมดถล่มโลกสะอ์ดีอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์อิมพีเรียลอิมมีเดียซีฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซนฮาฟิซผู้รู้รอบด้านฌ็อง-ฌัก รูโซจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ธงชาติโคลอมเบียธงชาติเอกวาดอร์ทอมัส คาร์ลีลย์คาร์ล ฟรีดริช เกาส์คาร์ล มากซ์คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์กค่ายกักกันบูเคนวัลด์ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)แฟนเทเชีย (ภาพยนตร์)แวเธ่อร์ระทมแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซใบมีดของฮานลอนโรแบร์ท ชูมันน์โลเฮ็นกรินไลพ์ซิชไวมาร์ไซท์ไกสท์เชอร์ล็อก โฮมส์...เฟาสต์เกอไทต์เกอเธอ (แก้ความกำกวม)เอมิล เคร็บส์None but the lonely heart22 มีนาคม28 สิงหาคม ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

ชาร์ล กูโน

ร์ล-ฟรองซัว กูโน ชาร์ล-ฟร็องซัว กูโน (Charles-François Gounod; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2361–18 ตุลาคม พ.ศ. 2436) เป็นคีตกวีชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและชาร์ล กูโน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเยอรมัน

วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและชาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและฟรานซ์ คาฟคา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและพ.ศ. 2375 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตายเลียนแบบ

การฆ่าตัวตายเลียนแบบ (copycat suicide) คือการที่คนคนหนึ่งฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย เลียนแบบเหตุการณ์การฆ่าตัวตาย หรือภาพจำลองเหตุการณ์การฆ่าตัวตาย ของคนอื่นที่เป็นคนรู้จัก หรือคนในสื่อ เช่นข่าวโทรทัศน์ เป็นต้น ปรากฎการณ์ที่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมากของจำนวนการฆ่าตัวตาย ซึ่งเกิดตามหลังการฆ่าตัวตายที่เป็นข่าวในวงกว้าง มักถูกเรียกว่า ปรากฎการณ์แวเธ่อร์ (Werther effect) ซึ่งตั้งตามนิยายของเกอเธ่เรื่อง แวเธ่อร์ระทม ในคนที่มีความเสี่ยงและไม่มีปัจจัยป้องกัน ข่าวสารเรื่องการฆ่าตัวตายอาจเป็นตัวกระตุ้นให้คนคนนั้นฆ่าตัวตายได้ อาจเรียกว่า การฆ่าตัวตายแพร่ระบาด (suicide contagion) ซึ่งอาจพบ "แพร่ระบาด" ได้ในระดับโรงเรียน ชุมชน หรือหากเป็นบุคคลมีชื่อเสียง ก็อาจแพร่ระบาดในระดับประเทศ หรือนานาชาติได้ เรียกว่า การฆ่าตัวตายเป็นกลุ่มก้อน (suicide cluster) ซึ่งเกิดจากการแพร่ไปของข่าวการฆ่าตัวตายหรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายออกไปในชุมชน กลุ่มก้อนแบบเป็นจุด (point cluster) คือกลุ่มของการฆ่าตัวตายที่เกิดขึ้นในสถานที่เดียวและเวลาเดียว สัมพันธ์กับการทราบข่าวโดยตรงในสังคมจากบุคคลใกล้ชิด ส่วนกลุ่มก้อนแบบใหญ่ (mass cluster) คือกลุ่มก้อนของการฆ่าตัวตายที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันแต่ต่างสถานที่ สัมพันธ์กับการออกสื่อของข่าวการฆ่าตัวตายของคนมีชื่อเสียง ผ่านสื่อมวลชน เพื่อเป็นการป้องกันการฆ่าตัวตายประเภทนี้ บางประเทศจึงถือเป็นธรรมเนียมที่จะไม่นิยมรายงานข่าวการฆ่าตัวตาย ยกเว้นเฉพาะกรณีพิเศษบางกรณี.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและการฆ่าตัวตายเลียนแบบ · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ กรัสส์

กึนเทอร์ วิลเฮลม์ กรัสส์ (Günter Wilhelm Grass) (16 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 13 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนและนักเขียนบทละครชาวเยอรมันคนสำคัญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1999 กรัสส์เกิดที่นครรัฐอิสระดานซิก (ปัจจุบันคือ กดัญสก์ ประเทศโปแลนด์) ในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและกึนเทอร์ กรัสส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต

มหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต (Goethe University Frankfurt) หรือชื่อเต็มคือ มหาวิทยาลัยโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ แห่งฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Johann Wolfgang Goethe-Universität Frankfurt am Main) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ในนครแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและมหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกบ ยอร์ดานส์

กบ ยอร์ดานส์ (Jacob Jordaens; 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1593 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 1678) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรกแบบเฟลมิช คริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์ คริสต์ศาสนา ภาพเหมือน และการออกแบบพรมทอแขวนผนัง ยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์ เป็นจิตรกรสามคนที่นำความมีหน้ามีตามาสู่ตระกูลการเขียนภาพแบบแอนต์เวิร์ป (Antwerp school) ยอร์ดานส์เป็นจิตรกรในหมู่น้อยที่มิได้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อศึกษาการเขียนภาพแบบอิตาลี และความก้าวหน้าทางอาชีพของยอร์ดานส์ก็มิได้มีอยู่ความสนใจในราชสำนักหรือความก้าวหน้าในราชสำนักd'Hulst, pp.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและยาโกบ ยอร์ดานส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเรืองปัญญา

ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและยุคเรืองปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ของวอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอ

250px นี่คือ รายชื่อภาพยนตร์จาก วอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอ เป็นแอนิเมชันสตูดิโอต้นสังกัดอยู่ที่ เบอร์แบงก์, แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และในอดีตรู้จักกันในชื่อ วอลต์ดีสนีย์ฟีเจอร์แอนิเมชัน, วอลต์ดีสนีย์โปรดักชันและดีสนีย์บราเธอร์สการ์ตูนสตูดิโอ ซึ่งผลิตภาพยนตร์ให้กับบริษัท เดอะวอลต์ดิสนีย์ โดยผลิตภาพยนตร์แล้ว 54 เรื่อง เริ่มต้นที่ สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (1937) และล่าสุด บิ๊กฮีโร่ 6 (2014).

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและรายชื่อภาพยนตร์ของวอลต์ดิสนีย์แอนิเมชันสตูดิโอ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ

นี่คือรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ นายกสมาคมสร้างคุณค่า คนที่ 3 ปัจจุบัน เป็นประธานกิตติมศักดิ์สมาคมสร้างคุณค่า และเป็นประธานสมาคมสร้างคุณค่าสากล.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและรายชื่อรางวัลเกียรติยศนานาชาติของไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักปรัชญา

# กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ (Gottfreid W. Leibniz).

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและรายชื่อนักปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ ชไตเนอร์

รูดอล์ฟ โยเซฟ ลอเรินซ์ ชไตเนอร์ (Rudolf Joseph Lorenz Steiner) เป็นนักปรัชญา, นักปฏิรูปสังคม และสถาปนิกชาวออสเตรีย เขามีชื่อเสียงขึ้นมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการวิจารณ์แนวคิดและตีพิมพ์ผลงานด้านปรัชญาต่างๆ ผลงานชิ้นเด่นคือหนังสือ The Philosophy of Freedom เขากลายเป็นผู้ก่อตั้งองค์กรลับด้านเจตนิยมซึ่งต่อมาคือสำนักมานุษยวิทยา แนวคิดขององค์กรนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเทวปรัชญาและอุดมคติเยอรมัน.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและรูดอล์ฟ ชไตเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาพร็องตีซอร์ซีเย

ประกอบหนังสือของเกอเทอ ในปี 1882 ผลงานของ Ferdinand Barth (1842–1892) ลาพร็องตีซอร์ซีเย (L'apprenti sorcier; มีชื่อเต็มว่า The Sorcerer's Apprentice, Scherzo after a ballad by Goethe) เป็นซิมโฟนิกโพเอ็ม ผลงานประพันธ์ของปอล ดูว์กัสในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและลาพร็องตีซอร์ซีเย · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

ลูคัส ครานัค

ลูคัส ครานัค ผู้อาวุโส (Lucas Cranach der Ältere; Lucas Cranach the Elder; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1472 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1553) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์คนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ทำภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์แกะไม้ และสลักโลหะ (engraving) ชื่อเมื่อแรกเกิดของลูคัสคือ "ลูคัส ซุนเดอร์" หรือ "ซอนเดอร์" ที่โครนัคในอัปเปอร์ฟรังโคเนีย ต่อมาภายหลังชื่อก็ถูกรวมกับชื่อเมืองเกิดเป็นชื่อ "ลูคัส ครานัค" ลูคัสอาจจะเรียนศิลปะการเขียนภาพจากบิดาหรืออาจจะจากปรมาจารย์ทางภาคใต้ของเยอรมนี เช่นเดียวกับศิลปินร่วมสมัยเช่นมัททีอัส กรือเนวัลด์ ผู้ที่ทำงานที่บัมแบร์กและอาชัฟเฟินบูร์ก บัมแบร์กเป็นเมืองหลวงของสังฆมณฑลที่เมืองโครนัคตั้งอยู.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและลูคัส ครานัค · ดูเพิ่มเติม »

ลูเชียน

ลูเชียนแห่งซามอซาทา (Lucian of Samosata; Λουκιανὸς ὁ Σαμοσατεύς, Lucianus Samosatensis; ค.ศ. 125 – หลัง ค.ศ. 180) เป็นนักพูดชาวอัสซีเรีย และนักเขียนเรื่องเสียดสีซึ่งเขียนเป็นภาษากรีก มีชื่อเสียงจากความหลักแหลมในการเปรียบเปรยและเสียดสี ลูเชียนนับเป็นหนึ่งในนักเขียนนวนิยายยุคแรกๆ ของอารยธรรมตะวันตก ในเรื่อง A True Story เขาเขียนบทบรรยายร้อยแก้วเป็นการสนทนาในจินตนาการจากเรื่องเล่าแฟนตาซีของโฮเมอร์ ใน โอดิสซีย์ และเทพนิยายอื่นๆ ที่มีชื่อเสียงในยุคสมัยของเขา เขาเขียนเรื่องราว "ทันสมัย" เช่นการเดินทางไปดวงจันทร์และดาวศุกร์ ชีวิตจากต่างดาว และสงครามระหว่างดาว ตั้งแต่เมื่อพันปีก่อนยุคของจูลส์ เวิร์น และ เอช. จี. เวลส์ เสียอีก นิยายของเขานับได้ว่าเป็นนิยายวิทยาศาสตร์ยุคแรกๆ ของโลก แม้จะไม่ใช่เรื่องแรกที่สุดก็ตาม.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศึกอภินิหารพ่อมดถล่มโลก

ึกอภินิหารพ่อมดถล่มโลก (The Sorcerer's Apprentice) เป้นภาพยนตร์ในปี 2010 แนวแฟนตาซีผจญภัย โปรดิวซ์โดยเจอร์รี บรักไฮเมอร์ กำกับโดย จอน เทอร์เทลทวบและจัดจำหน่ายโดยวอลต์ดิสนีย์พิกเจอส์ กับทีมงานของหนังเรื่อง National Treasure ภาพยนตร์มีโครงเรื่องหลวมๆ จาก ส่วนหนึ่งของหนังเรื่อง Fantasia ตอน Sorcerer's Apprentice ซึ่งก็มาจากบทประพันธ์ในคริสต์ทศวรรษ 1890 ของพอล ดูคัส และบัลลาดของโยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ ในปี 1797 ภาพยนตร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับ บัลธาซาร์ เบลก (นิโคลัส เคจ) พ่อมดในยุคใหม่ในแมนฮัตตัน ที่ต่อสู้กับอำนาจปีศาจ แมกซิส ฮอร์วัท (อัลเฟรด โมลินา) ขณะที่เขาค้นหาคนที่มีอำนาจของเมอร์ลิน ซึ่งก็คือเดฟ สตัตเลอร์ (เจย์ บารูเชล) นักเรียนฟิสิกส์ในมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก เดิมภาพยนตร์กำหนดฉายวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและศึกอภินิหารพ่อมดถล่มโลก · ดูเพิ่มเติม »

สะอ์ดี

อะบูมุฮัมหมัด มุชริฟุดดีน มุศเลี้ยะห์ บิน อับดิลลา บิน มุชัรริฟ เรียกสั้น ๆ กันว่า สะอ์ดี (ปี ฮ.ศ. 606-690) เป็นนักกวีและนักเขียนภาษาเปอร์เซียที่มีชื่อเสียงชาวอิหร่าน บรรดานักอักษรศาสตร์ให้ฉายานามท่านว่า ปรมาจารย์นักพูด กษัตรย์นักพูด ผู้อาวุโสที่สูงส่ง และเรียกขานทั่วไปกันว่า อาจารย์ ท่านศึกษาใน นิซอมียะฮ์แห่งเมืองแบกแดด ซึ่งถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางวิชาการของโลกอิสลามในยุคนั้น หลังจากนั้นท่านก็ได้เดินทางไปตามเมืองต่างๆ เช่นเมืองชาม และฮิญาซ ในฐานะนักบรรยายธรรม แล้วสะอ์ดีก็ได้เดินทางกลับมายังมาตุภูมิของท่านที่เมืองชีรอซและใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นจนกระทั่ววาระสุดท้ายของชีวิต สุสานของท่านอยู่ที่เมืองชีรอซ ซึ่งถูกรู้จักกันว่า สะอ์ดียะฮ์ ท่านใช้ชีวิตอยู่ในยุคการปกครองของSalghurids ในเมืองชีรอซ ช่วงการบุกของมองโกลยังอิหร่านอันเป็นเหตุให้การปกครองต่างๆ ในยุคนั้นล่มสลายลง เช่น Khwarazmian dynasty และอับบาซี ทว่ามีเพียงดินแดนฟอร์ซ รอดพ้นจากการบุกของพวกมองโกล เพราะยุทธศาสตร์ของอะบูบักร์ บิน สะอด์ ผู้ปกครองที่เลืองชื่อแห่งSalghurids และอยู่ในศัตวรรษที่หกและเจ็ดซึ่งเป็นยุคการเจริญรุ่งเรืองของแนวทางซูฟีในอิหร่าน โดยเห็นได้จากอิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมของยุคนี้ได้จากผลงานของสะอ์ดี นักค้นคว้าส่วนใหญ่เชื่อว่าสะอ์ดีได้รับอิทธิพลจากคำสอนของมัซฮับชาฟิอีและอัชอะรี จึงมีแนวคิดแบบนิยัตินิยม อีกด้านหนึ่งก็ท่านเป็นผู้ที่มีความรักต่อครอบครัวท่านศาสดา (ศ็อลฯ) อีกด้วย ก่อนหน้านั้นสะอ์ดี เป็นผู้ที่ยึดมั่นในจริยธรรมบนพื้นฐานของปรัชญาจริยะ เป็นนักฟื้นฟู ฉะนั้นท่านจึงไม่ใช่ผู้ที่ฝักไฝ่การเชื่ออย่างหลับหูหลับตาตามที่กล่าวอ้างกัน กลุ่มIranian modern and contemporary art ถือว่าผลงานของท่านไร้ศีลธรรม ไม่มีคุณค่า ย้อนแย้งและขาดความเป็นระบบ สะอ์ดีมีอิทธิพลต่อภาษาเปอร์เซียอย่างมาก ในลักษณะที่ว่าภาษาเปอร์เซียปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาของสะอ์ดีอย่างน่าสนใจ ผลงานของท่านถูกนำมาใช้สอนในโรงเรียน และหอสมุดในฐานะตำราอ้างอิงการเรียนการสอนภาษาและไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซียอยู่หลายยุคหลายสมัย คำพังเพยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอิหร่านปัจจุบันก็ได้มาจากผลงานของท่าน แนวการเขียนของท่านแตกต่างไปจากนักเขียนร่วมสมัยหรือนักเขียนก่อนหน้าท่านโดยท่านจะใช้ภาษาที่ง่าย สั้นและได้ใจความ กระทั่งมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วในยุคของท่าน ผลงานของสะอ์ดีเรียกกันว่าง่ายแต่ยาก มีทั้งเกล็ดความรู้ มุกขำขันที่ซ่อนอยู่หรือกล่าวไว้อย่างเปิดเผย ผลงานของท่านรวบรวมอยู่ในหนังสือ กุลลียอเตสะอ์ดี ซึ่งครอบคลุมทั้ง ฆุลิสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบนัษร์ หนังสือ บูสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบมัษนะวี และฆอซลียอต นอกจากนั้นท่านยังมีผลงานด้านร้อยกรองที่มีฉันทลักษณ์อื่นๆ อีก เช่น กอซีดะฮ์ ก็อฏอะฮ์ ตัรญีอ์บันด์ และบทเดี่ยวทั้งที่เป็นภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ส่วนมากฆอซลียอเตสะอ์ดีจะพูดถึงเรื่องของความรัก แม้ว่าท่านจะกล่าวถึงความรักในเชิงรหัสยะ (อิรฟาน) ก็ตาม ฆุลิสตอนและบูสตอน เป็นตำราจริยธรรม ซึ่งมีอิทธิต่อชาวอิหร่านและแม้แต่นักวิชาการตะวันตกเองก็ตาม เช่น วอลแตร์ และ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ สะอ์ดี มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในยุคของท่าน ผลงานของท่านที่เป็นภาษาเปอร์เชียหรือที่แปลแล้วไปไกลถึงอินเดีย อานาโตเลีย และเอเชียกลาง ท่านเป็นนักกวีชาวอิหร่านคนแรกที่ผลงานของท่านถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ แถบยุโรป นักกวีและนักเขียนชาวอิหร่านต่างก็ลอกเลียนแบบแนวของท่าน ฮาฟิซก็เป็นนักกวีท่านหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลการเขียนบทกวีมาจากท่านสะอ์ดี นักเขียนยุคปัจจุบัน เช่น มุฮัมหมัด อาลี ญะมอลซอเดะฮ์ และอิบรอฮีม ฆุลิสตอน ก็ได้รับอิทธิพลมาจากท่านเช่นกัน ต่อมาผลงานของสะอ์ดีถูกถ่ายทอดออกเป็นคีตะ ซึ่งมีนักขับร้องที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น ทอจ อิศฟะฮอนี, มุฮัมหมัดริฎอ ชะญะริยอน และฆุลามฮุเซน บะนอน อิหร่านได้ให้วันที่ 1 เดือนอุรเดเบเฮชต์ วันแรกของการเขียนหนังสือฆุลิสตอน เป็นวันสะอ์ดี เพื่อเป็นการเทิดเกียรติท่าน.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและสะอ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันที่เป็นที่รู้จักกันดีในความแจ่มแจ้งทางปรัชญาและทุทรรศนนิยมของความไม่มีพระเจ้า เมื่ออายุ 25 ปีโชเพนเฮาเออร์พิมพ์ปริญญานิพนธ์ “มูลบัญญัติสี่ประการของเหตุผล” (Über die vierfache Wurzel des Satzes vom zureichenden Grunde) ที่เป็นปรัชญาที่พิจารณาคำถามที่ว่าเหตุผลเพียงอย่างเดียวจะสามารถให้คำตอบเกี่ยวกับโลกได้หรือไม่ งานชิ้นที่มีอิทธิพลที่สุดของโชเพนเฮาเออร์ “Die Welt als Wille und Vorstellung” (The World as Will and Representation) เน้นบทบาทของแรงบันดาลใจ (motivation) ของมนุษย์ที่โชเพนเฮาเออร์เรียกว่า “เจตจำนง” (Will) การวิจัยของโชเพนเฮาเออร์นำไปสู่การสรุปว่าความต้องการทางอารมณ์, ทางร่างกาย และทางเพศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะตอบสนองได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นโชเพนเฮาเออร์จึงนิยมวิถีชีวิตที่ลดความต้องการของมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกับปรัชญาของศาสนาพุทธและเวทานต.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิมพีเรียลอิมมีเดียซี

รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 แต่ละรัฐที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ ต่างก็มีสิทธิทางการปกครองและทางด้านการยุติธรรมที่ต่างกันไปตามแต่จะระบุโดยพระจักรพรรดิ อำนาจอธิปไตยซึ่งประมุขขึ้นโดยตรงต่อจักรพรรดิ (Reichsfreiheit; Reichsunmittelbarkeit, Imperial immediacy) หรือทับศัพท์ว่าอิมพีเรียลอิมมีเดียซี เป็นสถานะเอกสิทธิ์ทางการเมืองตามระบบเจ้าขุนมูลนายที่จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มอบให้แก่จักรพรรดินครอิสระ รัฐคริสตจักร หรือราชรัฐ รัฐที่ได้รับ "อิมพีเรียลอิมมีเดียซี" เช่น แอบบีดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และสภานิติบัญญัติ (Reichstag) โดยไม่ตัองมีเจ้าผู้ครองอื่นเป็นตัวกลาง ในภาษาสมัยปัจจุบันก็หมายถึงรูปแบบของรัฐที่ปกครองตนเอง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและอิมพีเรียลอิมมีเดียซี · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน

แฮนส์ คริสตีแยน อานาเซิน ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน (Hans Christian Andersen; ค.ศ. 1805-1875) ตามความเห็นของผู้คนที่มีชีวิตอยู่ร่วมสมัยกับเขา อานาเซินเป็นชาวเดนมาร์ก เขาเกิดในสลัม เป็นตัวตลกน่าสมเพชให้คนหัวเราะมาตลอดชีวิต แต่แล้วเขาก็ใช้คติหัวเราะทีหลังดังกว่า ด้วยบรรดางานเขียนที่เขาเรียกมันว่า "เรื่องเล่น ๆ" ที่เป็นนิทานสำหรับเด็ก ซึ่งทำให้ผู้ใหญ่ทั่วโลกนิ่งฟังด้วยตาโต แม้ว่าเขาจะเป็นนักเขียนบทละครพื้น ๆ กวีฝีมือธรรมดา นักเขียนนวนิยายชั้นดี และนักเขียนเรื่องท่องเที่ยวชั้นเลิศ หากในด้านนิทานแล้ว เขาก้าวไปถึงขั้นเยี่ยมยอดไร้ที่ติ กล่าวกันว่านิทานของเขาเป็นบรรณาการยิ่งใหญ่จากเดนมาร์กแก่โลกวรรณกรรม ฐานะเทียมเท่าโฮเมอร์, ดันเต, เชกสเปียร์, เซร์บันเตส และเกอเทอ จากการนำนิทานพื้นบ้านมาเล่าใหม่ เขาก็เริ่มแต่งนิทานเอง แล้วก็เติมความเศร้าหรือน่ากลัวเข้าไป เสริมด้วยจินตนาการเพ้อฝันและลีลาภาษาพูดเรียบง่ายเพื่อย้อมความหวานซึ้งให้กับคติของเรื่อง ต้นสน (1845) เป็นเรื่องหนึ่งอันเป็นที่ชื่นชอบกันมากที่สุด เช่นเดียวกับ เด็กหญิงไม้ขีดไฟ, เงือกน้อย, ราชินีหิมะ, ไนติงเกล, กล่องชุดจุดไฟ, ลูกเป็ดขี้เหร่ และ ชุดใหม่ของพระร.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาฟิซ

วาจา ชามซู ดิน มูฮัมหมัด ฮาฟิซ ชิราซิ (خواجه شمس‌ دین محمد حافظ شیرازی),เจ้าของนามปากกา ฮาฟิซ (1325/26–1389/1390), เป็นกวีชาวอิหร่าน ผลงานของเขาประกอบด้วยวรรณกรรมชุดของเปอร์เซีย (Diwan) ซึ่งจะพบในบ้านของคนส่วนใหญ่ในประเทศอิหร่าน อัฟกานิสถาน และทาจิกิสถาน เช่นเดียวกับที่อื่นๆ ในโลกที่เรียนรู้บทกวีของเขาเพื่อศึกษาใจความและใช้เป็นสุภาษิตและคำพูดมาจนถึงทุกวันนี้ ชีวิตและบทกวีของเขาได้รับการวิเคราะห์ และตีความคำที่มีอิทธิพลในยุคหลังศตวรรษที่สิบสี่อย่างแพร่หลาย เขาเป็นกวีที่เขียนเกี่ยวกับเปอร์เซียมากกว่านักเขียนอื่นๆ ในรูปแบบของกาซาลส์ บทกวีของเขาเป็นความศรัทธาที่เผยให้เห็นความเจ้าเล่ห์ อิทธิพลของเขาในชีวิตของชาวอิหร่านสามารถพบได้ใน "การอ่านฮาฟิซ" (e-FAL Hafez, เปอร์เซีย: فالحافظ) บทกวีของเขาถูกนำมาใช้บ่อยครั้งในเพลงดั้งเดิมเปอร์เซีย ภาพศิลปะและการเขียนตัวอักษรภาษาเปอร์เซีย บทกวีมักจะถูกดัดแปลง และเลียนแบบการแปลบทกวีของฮาฟิซอยู่ในทุกภาษาหลัก.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและฮาฟิซ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รู้รอบด้าน

ลโอนาร์โด ดา วินชี ถือกันว่าเป็น “คนเรอเนสซองซ์” และเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” คนสำคัญที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคนหนึ่ง ผู้รู้รอบด้าน (πολυμαθήςThe term was first recorded in written English in the early seventeenth century, polymath) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้ที่ไม่เป็นทางการเท่าใดนัก ผู้รู้รอบด้านอาจจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน คำว่า “คนเรอเนสซองซ์” (Renaissance man) หรือ “คนของโลก” (homo universalis) ซึ่งเป็นคำที่มีความนิยมน้อยกว่าที่มาจากภาษาละตินเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ผู้รู้รอบด้าน” ที่ใช้ในการบรรยายถึงผู้มีการศึกษาดีและมีความเชี่ยวชาญในวิชาการต่างๆ หลายวิชา ลักษณะนี้มักจะปรากฏในโลกของอาหรับ ต่อมาในยุโรปความคิดนี้ก็มานิยมกันในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีจากความคิดที่เขียนโดยผู้แทนผู้มีความสามารถของยุคนั้นชื่อลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ (ค.ศ. 1404 – ค.ศ. 1472) ผู้กล่าวว่า “มนุษย์จะทำอะไรก็ได้ถ้าตั้งใจ” ประโยคนี้เป็นปรัชญาพื้นฐานของลัทธิมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ ที่ถือว่าอำนาจอยู่มือของมนุษย์ ความไม่มีขอบเขตของความสามารถและการวิวัฒนาการ และการนำไปสู่ความคิดที่ว่ามนุษย์ควรจะโอบอุ้มความรู้ทั้งหลายและพัฒนาตนเองให้เต็มความสามารถเท่าที่จะอำนวย ฉะนั้นผู้มีความสามารถในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาจึงแสวงหาการพัฒนาความรู้ความสามารถทุกด้าน การพัฒนาทางทางร่างกาย และการสร้างความสำเร็จในทางสังคมและทางศิลปะ ตัวอย่างของผู้ที่ถือว่าเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” ก็ได้แก่ เลโอนาร์โด ดา วินชี, พีทาโกรัส, อริสโตเติล, อาร์คิมิดีส, จาง เหิง (Zhang Heng), โอมาร์ คัยยาม, โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ และ เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี (رشیدالدین طبیب -Rashid-al-Din Hamadani) ในภาษาไทย มักจะอ้างถึงผู้รู้รอบด้านเป็นพหูสูตด้ว.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและผู้รู้รอบด้าน · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติโคลอมเบีย

งชาติโคลอมเบียได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1863 ลักษณะเป็นธงสามสีสามแถบแนวนอนสีเหลือง สีน้ำเงิน และสีแดง แถบสีเหลืองนั้นกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีน้ำเงินและแถบสีแดง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและธงชาติโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเอกวาดอร์

งชาติเอกวาดอร์เป็นธงแถบสีแนวนอนซึ่งประกอบด้วยสีเหลือง สีน้ำเงิน และสีแดง (แถบสีเหลืองนั้นกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีอื่น) อันได้รับการยอมรับฐานะอย่างเป็นทางการเมื่อวันืที่ 26 กันยายน ค.ศ. 1860 ลักษณะของธงดังกล่าวคล้ายคลึงกับธงชาติของโคลอมเบียและเวเนซุเอลา ซึ่งล้วนเคยเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของแกรนโคลอมเบียในอดีต ธงของทั้งสามชาตินี้ล้วนมีต้นแบบมาจากธงซึ่งออกแบบโดยฟรันซิสโก เด มิรันดา นายพลทหารชาวเอกวาดอร์ ซึ่งธงดังกล่าวนี้ได้เริ่มใช้ก่อนที่ประเทศเวเนซุเอลาในปี ค.ศ. 1811 และ แกรนโคลอมเบียในช่วงเวลาต่อมาโดยมีการดัดแปลงลักษณะบางประการ.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและธงชาติเอกวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส คาร์ลีลย์

ทอมัส คาร์ลีลย์ ทอมัส คาร์ลีลย์ (Thomas Carlyle, พ.ศ. 2338-2424) เป็นนักอักษรศาสตร์ เกิดที่เมืองเอเคล็กเฟแชน กอลโลเวย์ สกอตแลนด์ตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักร ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเอดินบะระ และสอนอยู่ที่นั่นเป็นเวลาหลายปีก่อนที่จะเริ่มเขียนบทความให้กับ สารานุกรมเอดินบะระ จนซาบซึ้งในวรรณกรรมเยอรมัน โดยเฉพาะของเกอเธ่ ในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและทอมัส คาร์ลีลย์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

ันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (1777-1855) โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Johann Carl Friedrich Gauß) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1777) เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์) ได้รับฉายาว่า "เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์" (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและคาร์ล ฟรีดริช เกาส์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก

ร์ล เทโอดอร์ อันโทน มาเรีย ฟอน ดัลแบร์ก (Karl Theodor Anton Maria von Dalberg) (8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1744 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1817) มีตำแหน่งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์, อัครเสนาบดีแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, เจ้าผู้ครองราชรัฐเรเกนส์บูร์ก, อัครราชมุขนายกแห่งสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์และแกรนด์ดยุกแห่งแฟรงก์เฟิร์ต.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและคาร์ล เทโอดอร์ ฟอน ดัลแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายกักกันบูเคนวัลด์

นักโทษทาสแรงงานในค่ายกักกันบูเคนวัลด์ (อีลี วีเซล นักประพันธ์รางวัลโนเบลอเมริกันเชื้อสายยิวอยู่ในแถวที่ 2 คนที่ 7 จากซ้าย) ค่ายกักกันบูเคนวัลด์ (Buchenwald concentration camp) เป็นค่ายกักกันเชลยศึกของนาซีเยอรมนี จัดตั้งที่เอทเทอร์สแบร์ก (ภูเขาเอตเทอร์) ใกล้กับไวมาร์ ทูรินเจีย ประเทศเยอรมนีเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2480 มีการใช้แรงงานนักโทษส่วนใหญ่เยี่ยงทาสตามโรงงานผลิตอาวุธต่าง ๆ หลายแห่งในพื้นที่ใกล้เคียง ระหว่างปี พ.ศ. 2488-2493 ค่ายกักกันนี้ถูกใช้โดยพวกโซเวียตที่เป็นฝ่ายยึดครองส่วนหนึ่งของเยอรมนี.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและค่ายกักกันบูเคนวัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)

รงละคร Neue Musik-Festhalle สถานที่แสดงรอบปฐมทัศน์ ภาพนี้ถ่ายขึ้นในวันซ้อมใหญ่ก่อนการแสดงจริง กระท่อมที่มาห์เลอร์ใช้เป็นสถานที่ประพันธ์แต่งซิมโฟนีหมายเลข 8 ในปี 1906 ซิมโฟนีหมายเลข 8 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการร้องประสานเสียงประกอบดนตรีจากวงออร์เคสตรา เป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกระดับใหญ่ที่ต้องใช้กลุ่มเครื่องดนตรี และนักร้องประสานเสียงจำนวนมากที่สุด จนบางครั้งมีผู้เรียกซิมโฟนีบทนี้ว่า "ซิมโฟนีของคนนับพัน" (Symphony of a Thousand, หมายความว่า ต้องใช้นักดนตรีและนักร้องประสานเสียงถึงหนึ่งพันคนในการแสดง) โดยตัวมาห์เลอร์เองก็ไม่ได้โต้แย้งใดๆ ที่มีคนเรียกซิมโฟนีบทนี้เช่นนั้น มาห์เลอร์ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในช่วงฤดูร้อนของปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) · ดูเพิ่มเติม »

แฟนเทเชีย (ภาพยนตร์)

แฟนเทเชีย (Fantasia) เป็นภาพยนตร์แอนนิเมชันเรื่องยาวเรื่องที่สามของดิสนีย์ ต่อจากเรื่องสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (1937) และพินอคคิโอ (1940) ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและแฟนเทเชีย (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แวเธ่อร์ระทม

แวเธ่อร์ระทม (The Sorrows of Young Werther; Die Leiden des jungen Werthers) เป็นนวนิยายจดหมายและอาจถือได้ว่าเป็นนวนิยายอัตชีวประวัติของโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและแวเธ่อร์ระทม · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ

แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ แอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ (Hector Berlioz) เป็นคีตกวี นักเขียน และนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) ที่เมืองลาโกตแซ็งต็องเดร จังหวัดอีแซร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1869) ที่กรุงปารีส เขาเป็นหนึ่งในคีตกวีคนสำคัญในยุคโรแมนติกของทวีปยุโรป.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ · ดูเพิ่มเติม »

ใบมีดของฮานลอน

ใบมีดของฮานลอน (Hanlon's razor) เป็นคติพจน์ที่ปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น "อะไรที่อธิบายอย่างเหมาะเจาะได้ว่าเกิดจากความโง่ ก็อย่าไปโยงว่ามันเป็นความชั่ว" (never attribute to malice that which is adequately explained by stupidity) และ "อย่าทึกทักว่าความเลินเล่อหรือความเข้าใจผิดต้องมีเจตนาชั่ว" (don't assume bad intentions over neglect and misunderstanding) คติพจน์เหล่านี้เป็นคำแนะนำถึงวิธีขจัดคำอธิบายที่ไม่น่าเป็นไปได้สำหรับปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ เรียกว่า มีดโกนปรัชญา (philosophical razor) ชื่อนี้อาจตั้งตาม โรเบิร์ต เจ. ฮานลอน (Robert J. Hanlon) แต่มีคติพจน์ที่เก่าแก่กว่าและมีใจความเดียวกันซึ่งอย่างน้อยย้อนกลับไปได้ถึงเกอเทอใน..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและใบมีดของฮานลอน · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ท ชูมันน์

รแบร์ท ชูมันน์ โรแบร์ท อาเล็กซันเดอร์ ชูมันน์ (Robert Alexander Schumann) เป็นคีตกวีและนักวิจารณ์ดนตรีชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2353 ที่เมืองซวิคเคา เสียชีวิต 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 ที่เมืองเอนเดนิช (Endenich) ซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและโรแบร์ท ชูมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

โลเฮ็นกริน

วิลเฮล์ม เฮโรลด์ รับบทเป็นโลเฮ็นกริน (ปี 1907) โลเฮ็นกริน (Lohengrin) เป็นบทละครโอเปราที่ประพันธ์ขึ้นโดย ริชาร์ด วากเนอร์ ดัดแปลงจากตำนานของ Garin le Loherain ในยุคกลาง เกี่ยวกับอัศวินหงส์ขาว โลเฮ็นกรินออกแสดงรอบปฐมทัศน์ที่โรงละคร Staatskapelle Weimar เยอรมนีเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและโลเฮ็นกริน · ดูเพิ่มเติม »

ไลพ์ซิช

ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

ไวมาร์

วมาร์ (Weimar) เป็นนครในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีชื่อเสียงด้านมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งอยู่ในรัฐเทือริงเงิน ประชากรปัจจุบันประมาณ 65,000 คน บันทึกเก่าแก่ที่สุดของนครย้อนหลังไปถึง..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและไวมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซท์ไกสท์

ซท์ไกสท์ (Zeitgeist) หมายถึงบรรยากาศทางภูมิปัญญาหรือทางวัฒนธรรมของยุคสมัย คำว่าไซท์ไกสท์เป็นคำภาษาเยอรมัน แปลตามตัวคือ เวลา (Zeit) และ จิตวิญญาณ (Geist) ในภาษาไทยอาจแปลได้ว่า "จิตวิญญาณแห่งยุคสมัย" หรือ "จิตวิญญาณแห่งกาลเวลา"sikkha,, www.palawat.com, 3 มกราคม..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและไซท์ไกสท์ · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน หรือ หมอวอตสัน ในจำนวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮมส์เป็นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและเชอร์ล็อก โฮมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟาสต์

วาดในปี 1925 แสดงภาพเฟาสต์ และเมฟิสโตฟิลีส จากเฟาสต์ฉบับของเกอเธอ ภาพวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นภาพของนายแพทย์โยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ ต้นแบบของเฟาสต์ เฟาสต์ (Faust) หรือ เฟาสตุส (Faustus) เป็นตัวเอกในตำนานโศกนาฏกรรมของเยอรมัน เกี่ยวกับชายที่ขายวิญญาณให้ปิศาจเมฟิสโตฟิลีส (Mephistopheles) เพื่อแลกกับความรู้ ได้รับการดัดแปลงเป็นวรรณกรรม บทละคร ภาพเขียน และงานดนตรี เป็นจำนวนมาก ที่มาของตัวละครเฟาสต์ สันนิษฐานว่ามาจากเรื่องราวของโยฮันน์ จอร์จ เฟาสต์ (ค.ศ. 1480–1540) นักเล่นแร่แปรธาตุและนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน หรืออาจมาจากเรื่องราวของโยฮันน์ ฟุสต์ (ค.ศ. 1400-1466) จิตรกรเยอรมัน เพื่อนสนิทของโยฮันน์ กูเทนแบร์ก (ค.ศ. 1398–1468) นักประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียง ตำนานของเฟาสต์นั้นบันทึกเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและเฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกอไทต์

กอไทต์ (Goethite) เป็นแร่เหล็กออกไซต์ ซึ่งถูกตั้งชื่อโดยผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเท.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและเกอไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกอเธอ (แก้ความกำกวม)

ำสำคัญ "เกอเธอ", "เกอเธ่อ", "เกอเธ่", "เกอเธ", "เกอเท่" หรือ "เกอเท" (Goethe) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและเกอเธอ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

None but the lonely heart

None but the lonely heart โอปุสที่ 6 เพลงที่ 6 (Нет, только тот, кто знал, ''Net, tol'ko tot, kto znal''.) เป็นผลงานประพันธ์ดนตรีเพื่อขับร้องและบรรเลงด้วยเปียโน ผลงานของปีเตอร์ ไชคอฟสกีในปี..

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและNone but the lonely heart · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 สิงหาคม

วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอและ28 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

GoetheJohann Wolfgang von Goetheโยฮัน โวล์ฟกัง ฟอน เกอเทโยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอโยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเทเกอเธเกอเธอเกอเธ่เกอเธ่อเกอเทเกอเทอเกอเท่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »