เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

โปรเตสแตนต์ในประเทศไทย

ดัชนี โปรเตสแตนต์ในประเทศไทย

ริสตจักรโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย เข้ามาในประเทศไทยครั้งแรก ในปี..

สารบัญ

  1. 15 ความสัมพันธ์: บัญญัติ 10 ประการบุญมาก กิตติสารมุขนายกศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสภาคริสตจักรในประเทศไทยสมาคมพระคริสตธรรมไทยสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทยสหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทยหลักข้อเชื่อของอัครทูตอัครบิดรองค์การพระกิตติคุณสมบูรณ์ในประเทศไทยจอห์น เอ. เอกิ้นคริสตจักรที่ 1 สำเหร่คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าแยกไมตรีจิตต์

บัญญัติ 10 ประการ

ระบัญญัติ 10 ประการ หรือ บทบัญญัติ 10 ประการ (Ten Commandments; עשרת הדיברות; ܥܣܪܐ ܦܘܩܕܢܐ; Δέκα εντολές) คือรายการคำสอนและข้อปฏิบัติตามคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานแก่วงศ์วานอิสราเอล ผ่านทางโมเสส ที่ภูเขาซีนาย บัญญัตินี้สลักไว้บนแผ่นหิน 2 แผ่น บัญญัติ 10 ประการใช้ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ ในภาษายิดดิช ใช้คำว่า Aseret ha-Dvarîm עשרת הדברים ในภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ ใช้คำว่า Aseret ha-Dibrot עשרת הדברות ซึ่งทั้งสองคำหมายถึง บัญญัติ 10 ประการ และมีการใช้ในภาษากรีก ซึ่งแปลมาจากภาษาฮีบรูว่า δέκα λόγοι (dekalogoi) หมายถึง คำสิบคำ (the ten words) อีกด้ว.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและบัญญัติ 10 ประการ

บุญมาก กิตติสาร

ญมาก กิตติสาร เป็นผู้นำคริสเตียนไทยนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีบทบาทสำคัญในการนำการสอนของกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลมาเผยแพร่ในประเทศไทยในกลางศตวรรษที่ 20.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและบุญมาก กิตติสาร

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและมุขนายก

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

นาคริสต์ เป็นหนึ่งใน 5 ศาสนาในประเทศไทยที่กรมการศาสนารับรอง โดยมิชชันนารีชาวยุโรปเป็นกลุ่มแรกที่นำเข้ามาเผยแผ่ ปัจจุบันมีจำนวนศาสนิกชนมากที่สุดเป็นอันดับสาม.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

สภาคริสตจักรในประเทศไทย

ริสตจักรในประเทศไทย (The Church of Christ in Thailand) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 19.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและสภาคริสตจักรในประเทศไทย

สมาคมพระคริสตธรรมไทย

มาคมพระคริสตธรรมไทย (Thailand Bible Society) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อแปลและแจกจ่ายคัมภีร์ไบเบิลในภาษาไทย สมาคมไบเบิลไทยเป็นสมาชิกของสหสมาคมพระคริสตธรรม สมาคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและสมาคมพระคริสตธรรมไทย

สหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย

หกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย (The Evangelical Fellowship of Thailand; EFT) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ได้ถูกต่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลคริสตจักรโปรเตสแตนต์และทำหน้าที่เป็น “สภา” ให้กับมิชชั่น คริสตจักรอิสระ และคริสตจักรกลุ่มต่าง ๆ สหกิจฯ ได้รับการรับรองจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน..

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย

สหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย

หคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย (ส.ค.บ.; Thailand Baptist Convention; TBC) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อประสานงานด้านศาสนาและดูแลสมาชิกของมูลนิธิคริสตจักรคณะแบ๊บติสต์, หน้า 166-167 โดยมี ศาสนาจารย์ บุญครอง ปิฏกานนท์ เป็นประธานคนแรก.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและสหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย

หลักข้อเชื่อของอัครทูต

หลักข้อเชื่อของอัครทูต, คริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย (Symbolum Apostolorum/Symbolum Apostolicum;Apostle’s creed) หรือ “หลักข้อเชื่อของอัครธรรมทูต” บางครั้งเรียกว่า “สัญลักษณ์ของอัครทูต” ชาวคาทอลิกเรียกว่า "บทข้าพเจ้าเชื่อ" เป็นคำแถลงเกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ยุคแรก ซึ่งคำแถลงลักษณะนี้เรียกว่า creed (หลักข้อเชื่อ) หรือ symbol (สัญลักษณ์) หลักข้อเชื่อนี้มีปรากฏใช้ในหลายนิกายทั้งในพิธีกรรมและตำราคำสอน และมักพบมากที่สุดในคริสตจักรตะวันตกที่เน้นพิธีกรรม คือคริสตจักรละติน ลูเทอแรน แองกลิคัน และออทอร์ดอกซ์ตะวันตก ตลอดจนเพรสไบทีเรียน เมทอดิสต์ และคริสตจักรคองกริเกชันแนล หลักข้อเชื่อของอัครทูตเป็นข้อความเชื่อที่อิงกับแนวคิดทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ จดหมายต่าง ๆ ในพันธสัญญาใหม่ และบางส่วนจากพันธสัญญาเดิม หลักข้อเชื่อนี้น่าจะมีต้นกำเนิดมาจากหลักข้อเชื่อโรมัน เพราะในเนื้อหาไม่ได้กล่าวถึงหรือแก้ปัญหาประเด็นปัญหาทางคริสตวิทยาดังที่ปรากฏในหลักข้อเชื่อไนซีนและหลักข้อเชื่ออื่น ๆ ของคริสตชนที่เกิดขึ้นในยุคหลัง เช่น ปัญหาความเป็นพระเจ้าของพระเยซูหรือพระวิญญาณบริสุทธิ์ ชาวคริสต์ยุคแรก ๆ ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตอย่างลัทธิเอเรียสและลัทธิเอกภาพนิยมจึงยอมรับหลักข้อเชื่อนี้ด้วย ชื่อ “หลักข้อเชื่อของอัครทูต” อาจจะเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ตามความเชื่อของคริสตชนที่ว่าอัครทูตทั้งสิบสองคนเป็นผู้แต่งข้อต่าง ๆ ขึ้นมาด้วยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์หลังจากเทศกาลเพนเทคอสต์ แต่ยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใดยืนยันได้ว่าความเชื่อนี้เป็นเรื่องจริงMcGrath, Alister E., Christian Theology: An Introduction", Singapore: Blackwell Publisher, 2007, p.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและหลักข้อเชื่อของอัครทูต

อัครบิดร

อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก อัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวง องค์ปัจจุบัน (ขวา) และ อัครบิดรสากลบาร์โธโลมิวที่ 1''' อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลองค์ปัจจุบัน (ซ้าย) อัครบิดรราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6 (patriarch) ชาวออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่า พระสังฆราช และ ชาวโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยเรียกว่าอัครปิตา ส่วนชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกา ถือเป็นตำแหน่งมุขนายกชั้นสูงสุดในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และอื่นๆ เช่นออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก และอัสซีเรียนแห่งตะวันออก แต่เดิมคัมภีร์ไบเบิลช้คำนี้เพื่อหมายถึง อับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ผู้เป็นปฐมบรรพบุรุษของวงศ์วานอิสราเอล และเรียกยุคที่ทั้งสามคนนี้มีชีวิตอยู่ว่ายุคอัครบิดร.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและอัครบิดร

องค์การพระกิตติคุณสมบูรณ์ในประเทศไทย

องค์การพระกิตติคุณสมบูรณ์ในประเทศไทย (The Full Gospel Churches in Thailand) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์ในสังกัดสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย ซึ่งมีอิทธิพลต่อการแพ่ขยายคำสอนของคณะเพนเทคอสต์ในกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนนิกายโปรเตสแตนต์ชาวไท.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและองค์การพระกิตติคุณสมบูรณ์ในประเทศไทย

จอห์น เอ. เอกิ้น

อห์น เอ เอกิ้น (John A. Eakin) เป็นมิชชันนารีผู้เผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยในปัจจุบัน.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและจอห์น เอ. เอกิ้น

คริสตจักรที่ 1 สำเหร่

ริสตจักรที่ 1 สำเหร่ ภาพในอดีต ค.ศ. 1928 คริสตจักรที่ 1 สำเหร่ (The First Presbyterian Church of Bangkok) เป็นโบสถ์คริสต์ของนิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 37 ซอยเจริญนคร 59 ถนนเจริญนคร แขวงสำเหร่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นคริสตจักรแห่งแรกของคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน (The American Presbyterian Mission) ซึ่งมิชชันนารีคณะนี้ได้เริ่มวางรากฐานการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและคริสตจักรที่ 1 สำเหร่

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า

ำอธิษฐาน (โปรเตสแตนต์) หรือ บทภาวนา (คาทอลิก) ขององค์พระผู้เป็นเจ้า (the Lord's Prayer) เป็นการอธิษฐานในศาสนาคริสต์ ซึ่งมีที่มาจากคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ คัมภีร์ระบุคำอธิษฐานนี้ไว้อยู่สองแบบ คือแบบพระวรสารนักบุญมัทธิวตอนที่พระเยซูแสดงคำเทศนาบนภูเขา และแบบพระวรสารนักบุญลูกาตอนที่สาวกคนหนึ่งทูลพระเยซูว่า "องค์พระผู้เป็นเจ้า ขอทรงสอนพวกข้าพระองค์อธิษฐาน เหมือนที่ยอห์นสอนพวกศิษย์ของท่าน".

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและคำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า

แยกไมตรีจิตต์

แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..

ดู โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยและแยกไมตรีจิตต์