โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โปรเตสแตนต์

ดัชนี โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

406 ความสัมพันธ์: บริติชอเมริกาชอคทอว์บัญญัติ 10 ประการบารอกบารัก โอบามาชาวฟิลิปปินส์ชาวญวนชาวออสเตรียชาวอังกฤษอเมริกันชาวอาฟรีกาเนอร์ชาวอเมริกันชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการีชาวฮังการีชาวดัตช์ชาวโรมานีบาทหลวงชานน สันตินธรกุลชิคาซอว์ชินัว อะเชเบบุญมาก กิตติสารชเว ชี-ว็อนฟรันซ์ มาร์คฟรีเซียนฟร็องซัว ราวายักฟร็องซัว เดอ ซาลฟลอเรนซ์ ไนติงเกลฟินเซนต์ ฟัน โคคฟิเดล รามอสพ.ศ. 2411พ.ศ. 2545พรรคคริสเตียนอินโดนีเซียพระมหากษัตริย์สวีเดนพระยาห์เวห์พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701พระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซพระราชกฤษฎีกานองซ์พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็งพระราชปฏิญญาพระคุณการุญพระวิญญาณบริสุทธิ์พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าพระบิดาพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ...พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษพันธสัญญาเดิมพิวริตันพิจิตตรา สิริเวชชะพันธ์พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์พิธีศักดิ์สิทธิ์พิธีขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์พีระมิดระบบทุนนิยมกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐกลุ่มสิบเจ็ดมณฑลกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์กัสปาร์ เดอ กอลีญีการบวชการลอบวางแผนไรย์เฮาส์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวการห้ามสุราในสหรัฐการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัลการทำนายวันสิ้นโลก พ.ศ. 2554การคุมกำเนิดการตกในบาปการตรึงกางเขนการปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์การนมัสการการไล่ผีให้โรแลนด์ โดการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559การเข้าเงียบกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษภาษากะเหรี่ยงภาคิน คำวิลัยศักดิ์มหาวิหารบัมแบร์กมหาวิหารเคอนิจส์แบร์กมัสคีกี (ครีค)มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสารมารีย์ (มารดาพระเยซู)มารีแห่งกีซมาร์ติน ลูเทอร์มิวนิกมิเชลล์ โอบามามุขนายกมูลฐานนิยมมณี สิริวรสารมงแต็สกีเยอยกยาการ์ตายอห์นผู้ให้บัพติศมายากอบ บุตรอัลเฟอัสยากอบผู้ชอบธรรมยุโรปตะวันตกรัฐกลารุสรัฐโอคลาโฮมารัฐไอโอวาราชวงศ์สจวตราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)ราชอาณาจักรเมรีนารายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสนธิสัญญารายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ราตรีสงัด ราตรีสวัสดิ์ร่างพระราชบัญญัติการยกเว้นผู้สืบราชบัลลังก์ลัทธิทรูจีซัสลัทธิทำลายรูปเคารพลัทธิคาลวินลัทธิเอเรียสลูกาผู้นิพนธ์พระวรสารวัลเทอร์ ฟุงค์วัฒนธรรมกัมพูชาวาเลินชตัทวิลเฮล์ม ฟริควิศาล ดิลกวณิชวิศณุ เจริญราชวีตอเรียศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ศาสนาจารย์ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์ตะวันตกศาสนาคริสต์ในประเทศไทยศาสนาในประเทศกัมพูชาศาสนาในประเทศลาวศาสนาในประเทศไทยศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)ศิลปะคริสเตียนศิษยาภิบาลสภาสังคายนาสากลสมมติฐานโลกยุติธรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือสมัยเอลิซาเบธสมาพันธรัฐเยอรมันสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6สวรรค์สหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทยสหภาพโซเวียตสหรัฐสหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์สะบาโตสันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศสสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สาธารณรัฐโดมินิกันสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สำนักมิสซังสุรัตนาวี ภัทรานุกุลสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอสงครามกลางเมืองสงครามกลางเมืองอเมริกาสงครามศาสนาของฝรั่งเศสสงครามสามสิบปีสงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 1584–1598)สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)สงครามโคโลญหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุงหมู่เกาะเรียวหมู่เกาะเติกส์และเคคอสหลักข้อเชื่อของอัครทูตหลักข้อเชื่อไนซีนหง ซิ่วเฉฺวียนอลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทองออกัสตินแห่งฮิปโปออตโต บรุนเฟลส์อัญชลี จงคดีกิจอัสกอนาอัครทูตสวรรค์อันเนอ ฟรังค์อามีร์ ซารีฟุดดินอาร์มาดาสเปนอาวีญงปาปาซีอาสนวิหารกาวายงอาสนวิหารมงเปอลีเยอาสนวิหารลียงอาสนวิหารอ็องกูแลมอาสนวิหารตูร์อาสนวิหารนักบุญเปาโลอาสนวิหารแล็สการ์อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์อาสนวิหารแซ็งต์อาสนวิหารโลซานอาสนวิหารเวียนอาสนวิหารเซอแนซอาเราอาเดลโบเดินอูเกอโนต์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์อโดนิรัม จัดสันฮิลลารี คลินตันฮุลดริช ซวิงลีฌอน คอนเนอรีฌัก แนแกร์จอยทูเดอะเวิลด์จอห์น บี. วอตสันจอห์น ซ่งจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิแอฟริกากลางจักรวรรดิเยอรมันจังหวัดชวากลางจังหวัดชวาตะวันตกจังหวัดบันเตินจังหวัดฟรีสลันด์จังหวัดมาลูกูจังหวัดลัมปุงจังหวัดลิมบูร์ก (เนเธอร์แลนด์)จังหวัดปาปัวจังหวัดปาปัวตะวันตกจังหวัดนอร์ทบราแบนต์จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์จังหวัดโอเฟอไรส์เซิลจังหวัดเบิงกูลูจังหวัดเฟลโฟลันด์จังหวัดเกลเดอร์ลันด์จังหวัดเรียวจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์จาการ์ตาจารุวรรณ เมณฑกาจิรศักดิ์ ปานพุ่มจินเจษฎ์ วรรธนะสินจีโรลาโม ซาโวนาโรลาจงฟังเพลงแห่งทูตสวรรค์ธุลีปริศนาธงชาติไอร์แลนด์ธงศาสนาคริสต์ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการทินลิซซีทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ขอเชิญท่านผู้วางใจข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้าดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ดัชชีปรัสเซียดูมาเกเตคริสตาเดลเฟียนคริสตจักรคริสตจักรที่ 1 สำเหร่คริสตจักรปฏิรูปคริสตจักรแองลิกันในประเทศไทยคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความคิดเห็นทางศาสนาของไอแซค นิวตันความตกลง ค.ศ. 1801คอนโดลีซซา ไรซ์คัมภีร์อธิกธรรมคัมภีร์ฮีบรูคัมภีร์ไบเบิลคัสพาร์ เบาฮีนคาลวินคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิลคาเรน กรัยวิเชียรคำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้าคิม ฮย็อง-จิกคิม จง-ฮย็อนคิม ซ็อก-รยูคณะภราดาเซนต์คาเบรียลคณะซี. เอ็ม. เอ.ค็อนราท เก็สส์เนอร์งานกระจกสีตรีเอกภาพตัวแบบนอร์ดิกฉบับพระเจ้าเจมส์ซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา)ประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ประทุมพร วัชรเสถียรประเทศบราซิลประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟินแลนด์ประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสเปนประเทศออสเตรียประเทศฮอนดูรัสประเทศคาซัคสถานประเทศตองงาประเทศติมอร์-เลสเตประเทศตุรกีประเทศซูรินามประเทศนอร์เวย์ประเทศนาอูรูประเทศแคเมอรูนประเทศโรมาเนียประเทศโครเอเชียประเทศโปรตุเกสประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2411ประเทศไต้หวันประเทศเบลารุสประเทศเบลเยียมประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเม็กซิโกประเทศเอริเทรียประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเปรูปรัสเซียปรากปัญหาเยอรมันปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เชปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)นักบวชนักบุญองค์อุปถัมภ์นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)นิกายนิกายลูเทอแรนนิกายในศาสนาคริสต์นีกอลา ซาร์กอซีนียงนครเซบูแบปทิสต์แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์แมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแมนนี ปาเกียวแยกไมตรีจิตต์แร็มบรันต์แล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแอดัม เลอวีนแองกลิคันแองกลิคันคอมมิวเนียนแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแท่นเทศน์แคลวิน คูลิดจ์แคทเธอรีน เดอ เมดีชีแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กใกล้ชิดพระเจ้าโบสถ์ชิลก็อลโบสถ์กางเขนเดรสเดินโบสถ์คริสต์โบสถ์น้อยกอนตาเรลลีโบสถ์แม่พระเดรสเดินโกรสมึนส์เทอร์โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพโยฮันน์ เบาฮีนโยฮันเนิส เฟอร์เมร์โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนวารีเชียงใหม่โรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยโรแบร์โต เบลลาร์มีโนโรเบิร์ต โอ วิลสันโรเจอร์ วิลเลียมส์โลกตะวันตกโจเอาเปสโซอาโคฟี แอนนันโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์โปร์ตูอาเลกรีโน แท-อูไมก์ เพนซ์ไอรดา ศิริวุฒิไอศูรย์ วาทยานนท์เบอร์มิวดาเบอร์ลินเบนจามิน เชียส์เฟราเอินเฟ็ลท์เพรสไบทีเรียนเก็จมณี วรรธนะสินเมืองแมนแดนสันติเอมิล ดูร์ไกม์เอรัสมุสเอโลฮิมเอ็ด ชีแรนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตเจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธเจียง ไคเชกเจตริน วรรธนะสินเจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์กเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโกเทวสิทธิราชย์เทวาธิปไตยเทศกาลมหาพรตเดอเลมงเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียเคลอจีเคาน์ตีฮอลแลนด์เติ้ง ชุ่ยเหวินเซนต์เซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์เนอชาแตลเนเฟช17 สิงหาคม ขยายดัชนี (356 มากกว่า) »

บริติชอเมริกา

อาณานิคมบริติชอเมริกา หมายถึง ดินแดนในอาณัติของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ (รวมหมู่เกาะเบอร์มิวดา), อเมริกากลาง, กายอานา และ หมู่เกาะแคริบเบียน ระหว่างปี 1607 ถึง 1783 คำว่า บริติชอเมริกา ถูกใช้อยู่จนกระทั่งสิบสามอาณานิคมทำสงครามแยกตัวออกเป็นอิสระ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบริติชอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชอคทอว์

อคทอว์ (Choctaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐอเมริกาในรัฐโอคลาโฮมา, แคลิฟอร์เนีย, มิสซิสซิปปี, ลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบมา ชอคทอว์จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) คำว่า “Choctaw” (หรือสะกด: “Chahta” “Chactas” “Chato” “Tchakta” and “Chocktaw”) แผลงมาจากคำในภาษาคาสตีลว่า “Chato” ที่แปลว่า “ราบ” แต่นักโบราณคดีจอห์น สวอนทันให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากชื่อผู้นำของชอคทอว์เอง ส่วนนักประวัติศาสตร์เฮนรี ฮาลเบิร์ตให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากวลีชอคทอว์ “Hacha hatak” (ชนแห่งลุ่มน้ำ) ชอคทอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปี ที่มีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ที่นักสำรวจชาวสเปนได้มีโอกาสได้พบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) เพราะชอคทอว์ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาณานิคมชาวอเมริกันยุโรป ชาติชอคทอว์แห่งโอคลาโฮมา และ กลุ่มชอคทอว์แห่งมิสซิสซิปปี (Mississippi Band of Choctaw Indians) เป็นกลุ่มองค์กรหลักสองกลุ่มของชอคทอว์ แต่ก็ยังมีกลุ่มอย่อยอื่นที่กระจัดกระจายอยู่ในลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชอคทอว์ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ 10 ประการ

ระบัญญัติ 10 ประการ หรือ บทบัญญัติ 10 ประการ (Ten Commandments; עשרת הדיברות; ܥܣܪܐ ܦܘܩܕܢܐ; Δέκα εντολές) คือรายการคำสอนและข้อปฏิบัติตามคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานแก่วงศ์วานอิสราเอล ผ่านทางโมเสส ที่ภูเขาซีนาย บัญญัตินี้สลักไว้บนแผ่นหิน 2 แผ่น บัญญัติ 10 ประการใช้ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ ในภาษายิดดิช ใช้คำว่า Aseret ha-Dvarîm עשרת הדברים ในภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ ใช้คำว่า Aseret ha-Dibrot עשרת הדברות ซึ่งทั้งสองคำหมายถึง บัญญัติ 10 ประการ และมีการใช้ในภาษากรีก ซึ่งแปลมาจากภาษาฮีบรูว่า δέκα λόγοι (dekalogoi) หมายถึง คำสิบคำ (the ten words) อีกด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบัญญัติ 10 ประการ · ดูเพิ่มเติม »

บารอก

“การแต่งงานของนักบุญแคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” (The Mystic Marriage of St. Catherine) โดย อันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอ บารอก (Baroque) หรือบาโรก เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะตะวันตกซึ่งเริ่มประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี บาโรกจะเน้นความเป็นนาฏกรรม ศิลปะจะแสดงความขัดแย้ง (tension) และความหรูหรา โอ่อ่า บาโรกเป็นลักษณะของ ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม นาฏศิลป์ และดนตรี ถ้ากล่าวถึงดนตรีแบบบารอกก็จะหมายถึงสมัยสุดท้ายของเคาน์เตอร์พ็อยต์ (Counterpoint) ที่กล่างวถึงความสัมพันธ์ของการเล่นระหว่างเสียงหรือเครื่องดนตรีมากกว่าสองชนิดที่อาจจะสะท้อนกันและกัน แต่คนละระดับเสียง หรือบางครั้งก็อาจจะสลับเสียงสะท้อน หรือไม่อีกทีก็อาจจะย้อนแก่นสาร (reversing theme) ของดนตรีชิ้นนั้นไปเลย ยุคบารอกรุ่งเรืองขึ้นมาด้วยการสนับสนุนจากคริสตจักรโรมันคาทอลิก ระหว่างการประชุมสภาสังคายนาแห่งเทรนต์ เมื่อปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบารอก · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฟิลิปปินส์

วฟิลิปปินส์ (Mga Pilipino) เป็นบุคคลที่ระบุตนว่าเกี่ยวข้องกับประเทศฟิลิปปินส์ จากสำมะโนประชากร..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 242-243) เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากจีนและไทย ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง, ฮั่นตอนใต้, ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน, สิงคโปร์เชื้อสายจีน, ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวญวน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวออสเตรีย

วออสเตรีย (Österreicher) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์เจอรมานิก ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศออสเตรี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอังกฤษอเมริกัน

วอังกฤษอเมริกัน หรือ ชาวแองโกลอเมริกัน (English Americans หรือ Anglo-Americans) คือประชาชนชาวอเมริกันที่มาจากอังกฤษหรือสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่เป็นชาวอังกฤษ จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวอังกฤษอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาฟรีกาเนอร์

วอาฟรีกาเนอร์ (Afrikaners) คือชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศแอฟริกาใต้‎ ซึ่งมีเชื้อสายของชาวดัต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวอาฟรีกาเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกัน

วอเมริกัน หรือ ประชากรของสหรัฐอเมริกา (People of the United States หรือ U.S. Americans หรือ Americans หรือ American people) คือประชาชนของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่ประกอบด้วยกลุ่มชนจากหลายชาติพันธุ์และเชื้อชาติ ซึ่งทำให้ชาวอเมริกันบางคนไม่ถือว่าอเมริกันเป็น "ชาติพันธุ์" (ethnicity) และจะบ่งตนเองโดยเชื้อชาติ (nationality) และชาติพันธุ์ดั้งเดิม (ancestral origin) เช่นชาวฮังการีอเมริกันเป็นต้น นอกไปจากชาวอเมริกันอินเดียนแล้ว ชาวอเมริกันเกือบทั้งหมดหรือบรรพบุรุษก็เป็นผู้ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงระยะเวลาห้าร้อยปีที่ผ่านมา การที่ชาวอเมริกันมาจากหลายชาติพันธุ์ทำให้เป็นชาติที่มีธรรมเนียม และคุณค่าที่แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์

วอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ (ตากาล็อก: Pilipino Amerikano) เป็นชาวอเมริกันที่มีสืบเชื้อสายจากชาวฟิลิปปินส์ มีจำนวนประมาณ 3.4 ล้านคน หรือ 1.1% ของประชาชนอเมริกัน ชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวเอเชียที่มีรายงานว่ามีจำนวนมากที่สุดอันดับที่สองของประเทศ รองจากชาวอเมริกันเชื้อสายจีน จากข้อมูลการสำรวจของคณะสำรวจอเมริกันคอมมิวนิตีใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวอเมริกันเชื้อสายฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี

วอเมริกันเชื้อสายฮังการี (Hungarian Americans) คือประชาชนชาวอเมริกันที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮังการี ชาวฮังการีลี้ภัยไปยังสหรัฐอเมริกาหลังจาก การรุกรานของโซเวียต (Hungarian Revolution) ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮังการี

ชาวฮังการี หรือ ม็อดยอร์ (Hungarian people หรือ Magyars, magyarok) คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประเทศฮังการี ชนมาจยาร์มีด้วยกันราว 10 ล้านคนในประเทศฮังการี (ค.ศ. 2001).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวดัตช์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโรมานี

รมานี (Rromane, Romani people หรือ Romany หรือ Romanies หรือ Romanis หรือ Roma หรือ Roms) หรือมักถูกเรียกโดยผู้อื่นว่า ยิปซี (Gypsy) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ของยุโรปที่สืบเชื้อสายมาจากยุคกลางของอินเดีย (Middle kingdoms of India) โรมานีเป็นชนพลัดถิ่น (Romani diaspora) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มโรมาซึ่งเป็นชนกลุ่มย่อยในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และกลุ่มใหม่ที่ไปตั้งถิ่นฐานในอเมริกา และบางส่วนในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ภาษาโรมานีแบ่งออกไปเป็นสาขาท้องถิ่นหลายสาขาที่มีผู้พูดราวกว่าสองล้านคน แต่จำนวนประชากรที่มีเชื้อสายโรมานีทั้งหมดมากกว่าผู้ใช้ภาษากว่าสองเท่า ชาวโรมานีอื่นพูดภาษาของท้องถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานหรือภาษาผสมระหว่างภาษาโรมานีและภาษาท้องถิ่นที่พำนัก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชาวโรมานี · ดูเพิ่มเติม »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ชานน สันตินธรกุล

นน สันตินธรกุล (ชื่อเล่น: นน; เกิด: 6 มิถุนายน พ.ศ. 2539) เป็นนักแสดงชายชาวไทย มีผลงานเด่นจากภาพยนตร์เรื่องฉลาดเกมส์โกง ซีรีส์วัยรุ่นเรื่อง ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น และซิตคอมเรื่อง บางรักซอย 9/1และLoveloveyou อยากบอกให้รู้ว่ารัก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชานน สันตินธรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ชิคาซอว์

ซอว์ (Chickasaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ชิคาซอว์พูดภาษาชิคาซอว์ที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) ชิคาซอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปีที่มีถิ่นฐานอยู่ทั่วไปในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ก่อนที่จะได้พบกับชาวยุโรปเป็นครั้งแรกชิคาซอว์ย้ายไปทางตะวันออกไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) ผู้ถูกบังคับให้ขายดินแดนบ้านเกิดของตนเองแก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชิคาซอว์ · ดูเพิ่มเติม »

ชินัว อะเชเบ

นัว อะเชเบ (Chinua Achebe; ชื่อเกิด อัลเบิร์ต ชินัวลูโมกู อะเชเบ (Albert Chinualumogu Achebe); 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2556) เป็นกวี, นักเขียน และนักวิจารณ์ชาวไนจีเรีย ผลงานชิ้นแรก Things Fall Apart ได้รับการขนานนามว่าเป็นผลงานชิ้นเอกของเขา และใช้ในการศึกษาวรรณกรรมแอฟริกากันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชินัว อะเชเบ · ดูเพิ่มเติม »

บุญมาก กิตติสาร

ญมาก กิตติสาร เป็นผู้นำคริสเตียนไทยนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีบทบาทสำคัญในการนำการสอนของกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลมาเผยแพร่ในประเทศไทยในกลางศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และบุญมาก กิตติสาร · ดูเพิ่มเติม »

ชเว ชี-ว็อน

ว ชี-ว็อน (최시원; Choi Si-won; เกิด) รู้จักกันในชื่อของ ชี-ว็อน (Siwon) เป็น นักแสดง, นักร้อง, นักเต้น และสมาชิกของวงบอยแบนด์จากเกาหลีใต้ ซูเปอร์จูเนียร์ ผลงานสร้างชื่อของชีว็อนอยู่ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และชเว ชี-ว็อน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ มาร์ค

ฟรันซ์ มาร์ค (Franz Marc) เป็นศิลปินในกระแสลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1880 ในเมือง มิวนิก (Munich) พ่อของมาจากครอบครัวที่เป็นทาสรับใช้ที่อยู่ทางตอนบนของรัฐบาวาเรีย ก่อนพ่อของเขาจะเลือกประกอบอาชีพเป็นจิตรกร พ่อของเขาได้เป็นนักกฎหมาย แม่ของเขามาจากครอบครัวชาวฝรั่งเศสในแคว้นอาลซัส ถึงแม้ว่าพ่อของเขานับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่มาร์คนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะเขาได้รับการเลี้ยงดูจากแม่ของเขา และได้รับอิทธิพลทางความคิดจากลัทธิคาลวินตั้งแต่เด็ก และแม่ของเขาตั้งใจให้เขาได้เป็นบาทหลวง แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมาร์คโตขึ้น เขาได้เข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองมิวนิก ในสาขาวิชา วรรณกรรม ในปี 1899 ต่อมาเมื่อเขาได้รับการฝึกเป็นทหารเกณฑ์ แต่เมื่อเขาฝึกเสร็จแล้วเขาได้ย้ายมหาวิทยาลัยที่เขาเรียนวรรณกรรม ไปเข้าโรงเรียนสอนศิลปะในเมืองมิวนิกเช่นกัน โดยได้รับการสอนจากวิลเฮล์ม ฟอน ดี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟรันซ์ มาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีเซียน

ฟรีเซียน (Frisians) คือชาติพันธุ์หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามริมฝั่งทะเลของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนี ส่วนใหญ่อยู่กันหนาแน่นในจังหวัดฟรีสแลนด์ และโกรนิงเกนในเนเธอร์แลนด์ และในบริเวณฟรีเซียตะวันออก และ ฟรีเซียเหนือในเยอรมนี ฟรีเซียนตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่เรียกว่าฟรีเซี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟรีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ราวายัก

ฟร็องซัว ราวายัก (François Ravaillac; ค.ศ. 1578 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นนักการ (factotum) อยู่ที่ราชสำนักเมืองอ็องกูแล็ม (Angoulême) และเป็นครู (tutor) ในบางโอกาส เขาถือนิกายโรมันคาทอลิกอย่างสุดโต่ง และปลงพระชนม์พระเจ้าอ็องรีที่ 4 (Henry IV) พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟร็องซัว ราวายัก · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว เดอ ซาล

นักบุญฟร็องซัว เดอ ซาล (Saint François de Sales; 21 สิงหาคม ค.ศ. 1567 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1622) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ได้รับแต่งตั้งให้เป็นบิชอปแห่งเจนีวา ผลงานที่สำคัญของท่านคือการดึงชาวเมืองชาเบลส์ซึ่งไปนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ลัทธิคาลวินให้หันกลับมานับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้สำเร็จ นอกจากนี้ท่านยังได้สร้างสรรค์วรรณกรรมไว้มากมายซึ่งมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างความศรัทธาในคริสต์ศาสนานิกายคาทอลิก จนต่อมาท่านได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ และนักเขียน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟร็องซัว เดอ ซาล · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล

ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale) (เครื่องราชอิสริยาภรณ์ OM, เข็มกาชาดหลวง) (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2363 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2453) ได้รับการขนานนามและเป็นที่รู้จักว่า "สุภาพสตรีแห่งดวงประทีป" (Lady of the Lamp) เนื่องจากภาพลักษณ์ติดตาของผู้คนที่เห็นกิจวัตรการตรวจดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บแม้ยามค่ำคืน และถือว่าเป็นผู้บุกเบิกด้านพยาบาลศาสตร์ยุคใหม่ ยกระดับวิชาชีพพยาบาล นอกจากนี้ยังมีบทบาทผลักดัน การพัฒนาด้านสถิติศาสตร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟลอเรนซ์ ไนติงเกล · ดูเพิ่มเติม »

ฟินเซนต์ ฟัน โคค

ฟินเซนต์ วิลเลิม ฟัน โคค (Vincent Willem van Gogh; 30 มีนาคม ค.ศ. 1853 — 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1890)คำอ่านในภาษาอังกฤษบริติชมีทั้ง แวน โกค หรือบ้าง แวน กอฟ พจนานุกรมสหรัฐลงว่า แวน โก คนไทยมักเรียก วินเซนต์ แวน โก๊ะ เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในลัทธิประทับใจยุคหลัง ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้มีชื่อเสียงและอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก เขาสร้างสรรค์งานศิลป์กว่า 2,100 ชิ้นในเวลาเพียงสิบปีกว่า ในจำนวนนี้เป็นภาพสีน้ำมัน 860 ชิ้น ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตขึ้นในสองปีสุดท้ายของชีวิตเขา ผลงานของเขามีทั้งภาพภูมิประเทศ ภาพนิ่ง ภาพคนเหมือน และภาพเหมือนตนเอง ซึ่งล้วนมีลักษณะเด่นเป็นสีสันจัดจ้านและงานพู่กันที่ฉวัดเฉวียนแฝงอารมณ์ชวนประทับใจอันช่วยสร้างรากฐานให้แก่ศิลปะสมัยใหม่ หลังทนทุกข์เพราะไข้ใจและความจนมานานหลายปี เขาปลิดชีวิตตนเองเมื่ออายุได้ 37 ปี เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางค่อนไปทางชั้นสูง เขาเป็นเด็กที่เคร่งขรึม พูดน้อย แต่คิดมาก เมื่อโตเป็นหนุ่ม เขาทำงานเป็นนายหน้าขายศิลปกรรม จึงเดินทางบ่อย แต่เมื่อต้องย้ายบ้านไปอยู่ลอนดอน เขาก็ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า จึงหันไปหาศาสนา ปฏิบัติศาสนกิจในฐานะมิชชันนารีแห่งโปรเตสแตนต์ทางภาคใต้ของเบลเยียม ชีวิตเขาล่องลอยไปมาระหว่างสุขภาพอันทรุดโทรมกับความโดดเดี่ยวอ้างว้าง กระทั่งมาจับงานวาดเขียนเอาใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟินเซนต์ ฟัน โคค · ดูเพิ่มเติม »

ฟิเดล รามอส

ลเอก ฟิเดล รามอส (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2471) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 12 ของฟิลิปปินส์ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฟิเดล รามอส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคริสเตียนอินโดนีเซีย

รรคคริสเตียนอินโดนีเซีย หรือปาร์กินโด (Indonesian Christian Party; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Kristen Indonesia; Parkindo) เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซียระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพรรคคริสเตียนอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์สวีเดน

ราชาธิปไตยแห่งสวีเดน (Monarki i Sverige) คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ราชอาณาจักรสวีเดนใช้มายาวนาน พระมหากษัตริย์ทรงมีตำแหน่งเป็นเพียงประมุขของประเทศเท่านั้น โดยพระองค์ไม่มีพระราชอำนาจทางการเมือง ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนทรงเป็นพระประมุขสูงสุดรวมทั้งยังได้รับความเคารพจากสังคมของสวีเดนมาโดยตลอด ทั้งนี้สวีเดนได้เริ่มใช้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญพร้อม ๆ กับการเริ่มใช้ระบบรัฐสภาที่มีพระราชพิธียุ่งยากมากมาย นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังสามารถมีพระราชโองการไปถึงรัฐบาลและกองทัพได้อีกด้วย ในปี ค.ศ. 1810 รัฐธรรมนูญสวีเดนว่าด้วยการสืบทอดราชสมบัติได้กำหนดให้ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์เป็นราชวงศ์แห่งสวีเดน อีกทั้งผู้สืบทอดราชสมบัติต้องนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งพระมหากษัตริย์สวีเดนองค์ปัจจุบันก็คือสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาห์เวห์

หรียญเงินราวสี่ศตวรรษก่อนคริสตกาลที่พบในอิสราเอล เชื่อว่าบุคคลที่ประทับอยู่บนสุริยบัลลังก์มีปีกนั้นคือพระยาห์เวห์ พระยาห์เวห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 647-8 (Yahweh) พระเยโฮวาห์ (Jahovah) พระยะโฮวา (ศัพท์พยานพระยะโฮวา) (Yahova) ยฮวฮ (ศัพท์ศาสนายูดาห์) (יהוה; YHWH) เป็นพระนามของพระเป็นเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม (ทานัค) ในคัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาไทยเล่มเก่านั้นปรากฏพระนามนี้อยู่หลายครั้ง ในคัมภีร์ดั้งเดิมเขียนด้วยอักษร 4 ตัว แต่เนื่องจากอักษร 4 ตัว (ยฮวฮ|YHWH) นั้นผู้เขียนไม่ได้ใส่สระไว้ ทำให้การออกเสียงที่ถูกต้องถูกถ่ายทอดต่อกันมาโดยการพูด คัมภีร์ดั้งเดิมหรือต้นฉบับปรากฏพระนามนี้ประมาณ 7 พันครั้ง ในฉบับภาษาไทยเล่มเก่า ๆ ยังปรากฏพระนามนี้อยู่ การแปลในยุคต่อ ๆ มาได้เปลี่ยนพระนามมา 3 ครั้ง ปัจจุบันสะกดพระนามนี้ว่า ยาห์เวห์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahweh การทับศัพท์ เยโฮวาห์ มีต้นกำเนิดมาจากการที่นักวิชาการชาวยุโรปถอดอักษรฮีบรู יהוה เป็นอักษรโรมัน 4 ตัวได้เป็น YHWH แล้วผสมสระจึงได้การออกเสียงเป็น "เยโฮวาห์" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Jehovah การทับศัพท์นี้แพร่หลายไปในภาษาต่าง ๆ รวมทั้งพระคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยฉบับเก่า ๆ เช่น ฉบับ 1971 ยังปรากฏพระนาม "เยโฮวาห์" นี้อยู่ นอกจากนี้ยังมีการทับศัพท์ว่า "ยะโฮวา" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahovah ในคัมภีร์ไบเบิล ฉบับ 1940 อีกด้วย แต่ในปัจจุบันนักวิชาการนิยมทับศัพท์ใหม่ว่า ยาห์เวห์ ตามหลักฐานที่ค้นพบและเป็นที่ยอมรับมากที่สุด ยฮวฮ คือพระนามของพระเป็นเจ้าสูงสุด ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1940 หรือ "เยโฮวาห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971 หรือ "ยาห์เวห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 2011 แต่เพื่อให้เกิดความเป็นสากลในทุกนิกาย ทั้งใน โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เมื่อออกพระนามพระเป็นเจ้าจะออกเสียงว่า "พระเจ้า" และ "ยฮวฮ" ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) ทุกฉบับ ในภาษาฮีบรู ยาห์เวห์ แปลว่า เราเป็นผู้ซึ่งเราเป็น หรือแปลได้อีกว่า เราอยู่(ด้วย) ซึ่งก็คือ พระองค์ทรงฤทธิ์ที่จะเป็นอะไรก็ได้ตามพระประสงค์ของพระอง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระยาห์เวห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701

ระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791

ระราชบัญญัติว่าด้วยการผ่อนปรนสิทธิของผู้เป็นโรมันคาทอลิก..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชบัญญัติผ่อนปรนการจำกัดสิทธิชาวโรมันคาทอลิก ค.ศ. 1791 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ

ระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ ค.ศ. 1563 พระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ (Edict of Amboise) ที่ลงนามกันที่พระราชวังอ็องบวซเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 1563 โดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 เป็นพระราชกฤษฎีกาเพื่อการยุติช่วงแรกของสงครามศาสนาของฝรั่งเศส และนำราชอาณาจักรกลับมาสู่สันติสุขโดยการรับรองเสรีภาพและอภิสิทธิ์ในการนับถือศาสนาแก่ประชากรผู้เป็นโปรเตสแตนต์หรือที่เรียกว่าอูเกอโนต์ แม้ว่าจะเป็นพระราชกฤษฎีกาที่มีเนื้อหาที่จำกัดกว่าพระราชกฤษฎีกาแซ็ง-แฌร์แม็งที่ลงนามกันในปีก่อนหน้านั้น แต่ก็ยังอนุญาตให้มีการทำพิธีศาสนาแบบโปรเตสแตนต์ภายในที่อยู่อาศัยส่วนบุคคลของขุนนาง และในปริมณฑลของเมืองที่ระบุภายใน "baillage" หรือ "sénéchaussée" ราชสภาแห่งปารีสผู้ขับสมาชิกผู้เป็นอูเกอโนต์ออกจากสภาต่อต้านการลงทะเบียนของพระราชกฤษฎีกาเช่นเดียวกับสภาการปกครองท้องถิ่น แต่ก็ได้ยินยอมหลังจากที่มีการประท้วง แต่เพิ่มข้อแม้ในพระราชกฤษฎีกามิให้มีผลบังคับตามเนื้อหาอย่างเต็มที่จนกว่าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 จะทรงบรรลุนิติภาวะ เมื่อสภาแห่งชาติมีโอกาสที่จะตัดสินกรณีที่เกี่ยวกับข้อขัดแย้งทางศาสนา เมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ทรงประกาศการบรรลุนิติภาวะของพระองค์เมื่อมีพระชนมายุได้ 14 พรรษาเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1563 พระองค์ก็ทรงเลือกรัฐบาลท้องถิ่นแห่งรูอ็องให้เป็นสถานที่สำหรับ "lit de justice" หรือ "การออกพระราชกฤษฎีกา" แทนปารีสที่ทำกันตามปกติ ในขณะเดียวกันก็ทรงออกพระราชกฤษฎีกาฉบับสมบูรณ์แทนฉบับย่อที่บังคับใช้กันก่อนหน้านั้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชกฤษฎีกาอ็องบวซ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกานองซ์

ระราชกฤษฎีกานองซ์เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1598 พระราชกฤษฎีกานองซ์ (Édit de Nantes; Edict of Nantes) เป็นพระราชกฤษฎีกาที่พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส ทรงตราขึ้นเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชกฤษฎีกานองซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง

การสังหารหมู่ที่วาสซี (Massacre of Vassy) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1562 พระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง หรือ พระราชกฤษฎีกาแห่งเดือนมกราคม (Edict of Saint-Germain หรือ Edict of January) เป็นพระราชกฤษฎีกาให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา (Edict of toleration) ที่ออกโดยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิผู้ขณะนั้นทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระราชโอรสพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1562 ที่มอบสิทธิอันจำกัดแก่ผู้เป็นโปรเตสแตนต์ในราชอาณาจักรที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นโรมันคาทอลิกโดยเฉพาะแก่ชาวฝรั่งเศสอูเกอโนต์ การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นกิจการแรกที่สมเด็จพระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงกระทำเป็นสิ่งแรกในฐานะผู้สำเร็จราชการแผ่นดินหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชโอรส--พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1560 การออกพระราชกฤษฎีกาเป็นไปตามนโยบายของพระองค์ในการพยายามดำเนินทางสายกลางระหว่างฝ่ายโปรเตสแตนต์และฝ่ายโรมันคาทอลิกเพื่อสร้างเสริมความมั่นคงให้แก่ราชบัลลังก์ โดยไม่ได้กระทบกระเทือนฐานะของสถาบันโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศสพระราชกฤษฎีกายอมรับฐานะของผู้เป็นโปรเตสแตนต์และรับรองเสรีภาพในการนับถือศาสนาเป็นการส่วนตัว แต่ห้ามทำการสักการะในตัวเมืองยกเว้นการจัดการประชุมของนักบวช (Synod) และการมาชุมนุมกัน (Consistory) การผ่านพระราชกฤษฎีกาเป็นไปด้วยความยากลำบากเพราะต้องผ่านการอนุมัติของรัฐสภาฝรั่งเศสจึงจะประกาศเป็นกฎหมายได้ สมาชิกของรัฐสภามีสิทธิที่จะร้องเรียนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ถึงสาเหตุที่ร่างพระราชกฤษฎีกาขัดกับพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ถือเป็นกฎหมายแล้ว ก่อนที่จะได้รับการตีพิมพ์ ฝ่ายรัฐสภาก็พยายามหน่วงเหนี่ยวต่างๆ หลังจากการประกาศใช้แล้วเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่วาสซี (Massacre of Vassy) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชกฤษฎีกาแห่งแซ็ง-แฌร์แม็ง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชปฏิญญาพระคุณการุญ

ระราชปฏิญญาพระคุณการุญ (Royal Declaration of Indulgence) เป็นคำประกาศของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ซึ่งทรงพยายามที่จะขยายเสรีภาพทางศาสนาไปยังกลุ่มโปรเตสแตนต์นอกรีตและกลุ่มโรมันคาทอลิกในแว่นแคว้น ด้วยการงดเว้นการบังคับตามกฎหมายอาญาที่ลงโทษผู้ตีตนออกจากคริสตจักรอังกฤษ พระเจ้าชาลส์ทรงออกประกาศนี้เมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระราชปฏิญญาพระคุณการุญ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิญญาณบริสุทธิ์

ระวิญญาณบริสุทธิ์ในรูปนกพิราบล้อมรอบด้วยบรรดาทูตสวรรค์ วาดโดยกอร์ราโด จีอากวินโต ราวคริสต์ทศวรรษ 1750 พระวิญญาณบริสุทธิ์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระจิต (ศัพท์คาทอลิกและออร์ทอดอกซ์) (Holy Spirit; Holy Ghost) เป็นวิญญาณชนิดหนึ่งตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม อันได้แก่ ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม แต่แต่ละศาสนาก็มีความเชื่อเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์แตกต่างกัน บุคคลผู้ที่ได้รับพระวิญญาณบริสุทธิ์ จะมีความคิดความอ่านไปในวิถีทางเดียวกับพระเจ้า คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ (นิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์) เชื่อเรื่องตรีเอกภาพ โดยถือว่าพระเจ้าพระองค์เดียวนั้นทรงมีสามพระบุคคลแตกต่างกัน คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงถือพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็นพระเจ้าด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนอีกหลายนิกาย (เช่น พยานพระยะโฮวา) รวมทั้งศาสนาอับราฮัมอื่น ๆ (คือชาวยิวและชาวมุสลิม) ก็ไม่ยอมรับความเชื่อนี้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระวิญญาณบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

"''การรับเป็นมนุษย์''" เป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรชีวิตของพระเยซู โดยมีพระตรีเอกภาพอยู่ตรงกลางภาพ ฟรีโดลิน ไลเบอร์ วาดไว้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ พระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ พระวาทะทรงเกิดเป็นมนุษย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Incarnation of the Word) ในศาสนาคริสต์หมายถึงการที่พระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระเจ้าพระบุตรหรือพระวจนะ ได้เสด็จลงมาบนโลกเพื่อรับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของนางมารีย์ (บางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ จึงยกย่องพระนางมารีย์พรหมจารีเป็นพระมารดาพระเจ้าด้วย) เรื่องพระเจ้ามารับสภาพมนุษย์ถือเป็นหลักคำสอนทางเทววิทยาที่หลักข้อเชื่อไนซีนให้การรับรอง โดยถือว่าพระเยซูเป็นพระบุคคลที่สองในพระเป็นเจ้าซึ่งเป็นตรีเอกภาพ ได้มารับสภาพมนุษย์โดยที่ธรรมชาติพระเป็นเจ้าเดิมยังดำรงอยู่ในตัว หลักข้อเชื่อนี้จึงถือว่าพระเยซูทรงเป็นทั้งมนุษย์และพระเป็นเจ้าโดยสมบูรณ์ ดังที่พระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่า "พระวจนะเป็นพระเจ้...

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)

ระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) แพทย์ใหญ่ศิริราชพยาบาลคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2435 พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บรัดเลย แมคฟาร์แลนด์; อังกฤษ: George Bradley McFarland) 1 ธันวาคม พ.ศ. 2409 - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 แพทย์ใหญ่โรงพยาบาลศิริราช บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและอิฐก้อนแรกของโรงเรียนแพทย์ ผู้เผยแพร่และค้นคว้าเครื่องพิมพ์ดีดให้เป็นภาษาไทยคนแรก ผู้เรียบเรียงตำราแพทย์และเริ่มบัญญัติศัพท์แพทย์ขึ้นใช้เป็นคนแรก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าพระบิดา

วาดพระเจ้าพระบิดาโดย Julius Schnorr ค.ศ. 1860 พระเจ้าพระบิดา (God the Father) เป็นคำที่ใช้เรียกพระเจ้าในศาสนาคริสต์ ศาสนายูดาห์เรียกพระเจ้าว่าพระบิดาเพราะเชื่อว่าพระองค์ทรงเป็นผู้สร้าง ผู้บัญญัติธรรม และผู้ปกป้อง ส่วนทางศาสนาคริสต์เรียกพระเจ้าว่าพระบิดาตามเหตุผลเดียวกับศาสนายูดาห์ แต่ก็เป็นเพราะความสัมพันธ์ระหว่างพระบิดาและพระเยซูซึ่งเป็นพระบุตรของพระองค์ด้วย คำว่า พระบิดา บ่งบอกว่าพระองค์เป็นผู้ทรงสรรพานุภาพ เป็นผู้ปกป้องดูแล เป็นสัพพัญญู และทรงอยู่ทุกหนแห่ง ซึ่งเกินกว่าการที่มนุษย์ธรรมดาจะเข้าใจได้ เช่น นักบุญทอมัส อไควนัส นักปราชญ์แห่งคริสตจักรคนสำคัญเขียนสรุปไว้ว่าท่านเองก็ยังไม่เข้าใจพระบิดาเล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าพระบิดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

ระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (George I of Great Britain, George I von Großbritannien) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1727) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก (Christian III of Denmark) กษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ครองสิริราชสมบัติช่วง พ.ศ. 2077 - พ.ศ. 2102 พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2047 เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก ที่ประสูติแต่พระนางแอนนาแห่งบรันเดนบูร์กเมื่อพระราชบิดาสวรรคตใน พ.ศ. 2077 เจ้าชายคริสเตียนจึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยในรัชสมัยของพระองค์ได้สถาปนาให้นิกาย ลูเทอแรน นิกายย่อยใน นิกายโปรแตสแตนท์ เป็นศาสนาประจำชาติ พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 สวรรคตเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2102 หลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 25 ปีรวมพระชนมายุ 56 พรรษาเจ้าชายเฟรเดอริคพระราชโอรสองค์ใหญ่จึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (Henry VIII of England) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ 21 เมษายน 1509 จนสวรรคต นอกจากนี้ยังทรงเป็นชาวอังกฤษพระองค์แรกที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ และยังเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอีกด้วย พระเจ้าเฮนรีทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่สองของราชวงศ์ทิวดอร์ ซึ่งครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา พระเจ้าเฮนรีที่ 7 นอกจากการอภิเษกสมรสทั้ง 6 ครั้งและความสัมพันธ์กับสตรีนอกสมรสแล้ว อีกหนึ่งเรื่องราวสำคัญในรัชสมัยของพระองค์คือการประกาศให้การอภิเษกกับแคเธอรีนแห่งอารากอน มเหสีคนแรกเป็นโมฆะ ซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งกับพระสันตะปาปา และนำประเทศไปสู่การแยกตัวออกจากศาสนจักรโรมันคาทอลิก โดยการสถาปนาคริสตจักรแห่งอังกฤษขึ้นมาแทน ซึ่งเป็นคริสตจักรที่ไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปา และถือเอาตัวพระองค์เองในฐานะกษัตริย์เป็น "ประมุขสูงสุดของคริสตจักรในอังกฤษ" และนำไปสู่การยุบอารามขึ้น แต่ในด้านความเชื่อพระองค์ยังคงถือคำสอนหลายอย่างตามโรมันคาทอลิก แม้ว่าจะถูกพระสันตะปาปาประกาศตัดขาดจากศาสนาไปแล้วก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังคอยควบคุมการรวมสหภาพระหว่างอังกฤษกับเวลส์ และพระองค์ยังได้ขึ้นชื่อว่าทรงเป็นศัตรูตลอดกาลกับพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และ จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตลอดรัชสมัยได้ทำสงครามกันหลายต่อหลายครั้ง พระเจ้าเฮนรีถือเป็นกษัตริย์ที่มีเสน่ห์ มีการศึกษาดี และทรงคุณวุฒิ และเป็นประมุขที่ทรงบารมีที่สุดแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ แม้จะทรงใช้อำนาจปกครองประเทศอย่างเด็ดขาดแต่ก็ทรงสนพระทัยการเขียนและนิพนธ์ ทรงเห็นว่าสตรีไม่สามารถสร้างความเจริญและมั่นคงแก่ราชวงศ์ทิวดอร์ได้ จึงมีพระราชประสงค์อย่างมากที่จะได้รัชทายาทชายสืบทอดราชบัลลังก์ ทำให้ทรงอภิเษกสมรสหลายครั้งและต่อมาต้องดำเนินการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ ซึ่งนำให้อังกฤษกลายเป็นชาติโปรเตสแตนต์ ช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ พระองค์เป็นโรคอ้วนซึ่งทำให้พระพลานามัยย่ำแย่ มีพระรสนิยมผิดปกติ พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์จึงมักแสดงออกถึงความมักมาก เห็นแก่ตัว โหดร้าย พระอารมณ์ไม่มั่นคง ภายหลังสวรรคต พระราชโอรส(ตามกฎหมาย)องค์เดียวของพระองค์ ได้สืบราชบัลลังก์ต่อเป็น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ขณะมีพระชันษาเพียง 9 ปี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

พิวริตัน

อห์น เฮาว์ (John Howe) และ ริชาร์ด แบ็กซ์เตอร์ (Richard Baxter) พิวริตัน (Puritan) จาก คริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนที่สนับสนุนความเชื่อทางปรัชญาและการกระทำพิธีทางศาสนาที่ “บริสุทธิ์” (“Purity”) กว่า และความเคร่งครัดส่วนบุคคล กลุ่มพิวริตันเชื่อว่าการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ (English Reformation) ยังไม่เพียงพอและคริสตจักรแห่งอังกฤษยังทำพิธีศาสนาที่ไม่ต่างไปจากพิธีศาสนาของศาสนจักรโรมันคาทอลิกเท่าใดนัก คำว่า “พิวริตัน” เป็นคำที่ใช้เรียกแทนคำว่า “คาร์ธาร์” ที่ใช้เรียกผู้ที่มีหัวรุนแรงที่เป็นผู้นับถือลัทธิคาร์ธาริสม์ (Catharism) ในฝรั่งเศส บางครั้งกลุ่มเพียวริตันก็ร่วมมือกับคณะเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ในการตั้งข้อเสนอเพื่อที่จะทำให้นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ใกล้กับคริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churches) บนแผ่นดินใหญ่ยุโรปมากขึ้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพิวริตัน · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตตรา สิริเวชชะพันธ์

ตตรา สิริเวชชะพันธ์ หรือ พิจิตตรา ถนอมทรัพย์ หรือ พิจิตตรา กฤติกุล เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย ก้าวสู่วงการบันเทิงจากผลงานละครเรื่อง ตะวันยอแสง ทางช่อง 3 ก่อนจะย้ายเข้าสังกัดกันตนาด้วยละครเรื่อง บ้านรังนกไม้ คู่กับจุลจักร จักรพงษ์ และเรื่อง คนทะเล ทางไอทีวี พิจิตตราเป็นหลานสาวของพันโทบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ และแผน สิริเวชชะพันธ์ อดีต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพิจิตตรา สิริเวชชะพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์

ีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 248 หรือพิธีมหาสนิท(Eucharist; Holy Communion) คริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์บางคณะเรียกว่าศีลมหาสนิท เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ เพื่อแสดงถึงการร่วมสนิทกับพระเยซู โดยการรับประทานขนมปัง (สัญลักษณ์แทนพระกายของพระองค์) และไวน์ (สัญลักษณ์แทนพระโลหิต) การประกอบพิธีมหาสนิท เพื่อให้ชาวคริสต์ระลึกถึงคุณของพระเป็นเจ้า เพื่อการประกาศยอมรับว่าพระเจ้าได้สถิตอยู่ในกายตน เพื่อแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ และเพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักในประชาคมเดียวกัน ในนิกายโปรเตสแตนต์ กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทตามพระวรสารนักบุญลูกา ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก กล่าวคำที่ใช้ในพิธีมหาสนิทเฉพาะตามที่พระศาสนจักรคาทอลิกกำหน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีศักดิ์สิทธิ์

ในศาสนาคริสต์ พิธีศักดิ์สิทธิ์ (Sacrament) คือ พิธีกรรมที่เชื่อว่าพระเยซูทรงกำหนดไว้ให้คริสต์ศาสนิกชนนำไปปฏิบัติเพื่อเป็นการระลึกถึงและนมัสการพระเป็นเจ้า และจะได้มีส่วนร่วมในแผนการแห่งความรอด ชาวโรมันคาทอลิกเรียกพิธีศักดิ์สิทธิ์ว่า "ศีลศักดิ์สิทธิ์" มีอยู่ 7 ศีล แต่ชาวโปรเตสแตนต์ถือว่าพระเยซูทรงกำหนดไว้เพียง 2 พิธี คือ พิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิทศักดิ์สิท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพิธีศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์

ระราชาธิบดีวิลเลมที่ 2 แห่งเนเธอร์แลนด์ ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 พระราชินีแม็กซิมาในพิธีขึ้นครองราชย์ เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 การขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ (Inhuldiging van de Nederlandse monarch; Inauguration of the Dutch monarch) คือพิธีการสืบทอดราชบัลลังก์และเข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการของพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ ซึ่งพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะขึ้นประทับบนบังลังก์ ตรัสคำปฏิญาณต่อรัฐธรรมนูญ และทรงรับคำถวายบังคมจากสมาชิกรัฐสภาเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพิธีขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์เนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระมิดระบบทุนนิยม

การ์ตูนฉบับอเมริกัน พ.ศ. 2454 ภาพต้นฉบับจากรัสเซีย พ.ศ. 2443 พีระมิดระบบทุนนิยม (Pyramid of Capitalist System) คือชื่อเรียกทั่วไปของภาพวาดการ์ตูนจากสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และพีระมิดระบบทุนนิยม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล

กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล (Siebzehn Provinzen, Seventeen Provinces) เป็นการรวมตัวเป็นสหอาณาจักรของรัฐในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ที่ครอบคลุมบริเวณที่ในปัจจุบันคือเนเธอร์แลนด์, เบลเยียม, บริเวณพอสมควรในลักเซมเบิร์ก (อาร์ตัว, นอร์ด) และส่วนเล็กๆ ในเยอรมนี กลุ่มสิบเจ็ดมณฑลเดิมอยู่ภายใต้การปกครองของดยุคแห่งเบอร์กันดีแห่ง ราชวงศ์วาลัวส์และต่อมาโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์ก เริ่มด้วยสายสเปนและตามด้วยสายออสเตรีย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และกลุ่มสิบเจ็ดมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์

กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army; Óglaigh na hÉireann) เป็นขบวนการของชนกลุ่มน้อยชาวไอริชที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เหนือ ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยใช้ความรุนแรง เช่น การลอบสังหาร การปล้นธนาคาร และการวางระเบิดพลเรือนมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งองค์กรเมื่อ..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

กัสปาร์ เดอ กอลีญี

กัสปาร์ เดอ กอลีญี, แซเญอร์เดอชาตียง (Gaspard de Coligny, Seigneur de Châtillon; 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1519 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1572) เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศส และผู้บังคับบัญชากองทัพเรือแห่งฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นอูเกอโนต์ผู้มีวินัยและผู้นำในสงครามศาสนาของฝรั่ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และกัสปาร์ เดอ กอลีญี · ดูเพิ่มเติม »

การบวช

การบวช เป็นศัพท์ที่ใช้ในทางศาสนาโดยมีขั้นตอนที่จะทำให้บุคคลธรรมดาผู้นับถือศาสนาต่างๆ กลายเป็นนักบวชของศาสนาที่ตนนับถือนั้น การบวชมักประกอบไปด้วยพิธีกรรมและแบบพิธีต่าง ๆ ซึ่งขั้นตอนการบวชเองนั้นก็มีความแตกต่างกันไปตามศาสนาและชื่อเรียกขาน ผู้ที่กำลังเตรียมเข้าสู่การบวชเรียกว่า ผู้เตรียมบวช (ordinand).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการบวช · ดูเพิ่มเติม »

การลอบวางแผนไรย์เฮาส์

รายเฮาส์ ค.ศ. 1823 การคบคิดรายเฮาส์ (Rye House Plot) การคบคิดรายเฮาส์ของปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการลอบวางแผนไรย์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St. Bartholomew’s Day massacre) เป็นระลอกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศสโดยฝูงชนชาวฝรั่งเศสผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกไล่สังหารชาวฝรั่งเศสที่เรียกตัวเองว่าอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (โปรเตสแตนต์คาลวินิสต์) เชื่อกันว่ามีต้นตอมาจากสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ พระมารดาของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส การสังหารหมู่ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 วันหลังวันแต่งงานระหว่างมาร์เกอรีต เดอ วาลัวส์ (Marguerite de Valois) พระขนิษฐาของ พระเจ้าชาร์ลที่ 9 กับอองรีแห่งนาวาร์ผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ งานแต่งงานเป็นโอกาสที่อูเกอโนต์ผู้ร่ำรวยมีฐานะดีจะออกมาร่วมงานฉลองในเมืองปารีสที่ผู้คนส่วนใหญ่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เหตุเกิดขึ้นสองวันหลังจากที่การลอบสังหารนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี นายทหารของอูเกอโนต์ไม่ประสบความสำเร็จ เริ่มเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว · ดูเพิ่มเติม »

การห้ามสุราในสหรัฐ

ีทรอยต์ได้ทำการตรวจสอบอุปกรณ์ในการกลั่นสุราในช่วงยุคต้องห้ามสุรา การห้ามสุราในสหรัฐอเมริกา เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญในการห้ามไม่ให้มีการผลิต นำเข้า, ขนส่ง,และการขายของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือสุราที่ยังคงมีอยู่ในสถานที่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการห้ามสุราในสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล

การจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล (Episcopal polity /ɪˈpɪs.kə.pəl/) เป็นการปกครองคริสตจักรรูปแบบหนึ่งที่มีโครงสร้างเป็นลำดับชั้นบังคับบัญชา โดยมีบิชอปหรือมุขนายกเป็นผู้นำของคริสตจักรในระดับท้องถิ่น โครงสร้างเช่นนี้มีมาตั้งแต่สมัยคริสตจักรยุคโบราณ ซึ่งสืบทอดมาเป็นคริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคันคอมมิวเนียน ทั้งนี้บางคริสตจักรที่ไม่ได้สืบสายมาจากสายนี้แต่รับวิธีการบริหารเช่นนี้มาก็มี คำว่า อิปิสโคปัล มาจากภาษากรีก επίσκοπος (อีปิสโคปอส) แปลว่าผู้ปกครองดูแล ซึ่งเป็นศัพท์ที่มีที่มาเดียวกับคำว่า bishop ในภาษาอังกฤษ คริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอีปิสโคปัลจะมีบิชอปหรือมุขนายกเป็นผู้ปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็นมุขมณฑล ที่ประชุมร่วม หรือซิโนด บิชอปทำหน้าที่ประธานทั้งในศาสนาและการเมือง และประกอบพิธีสำคัญ เช่น การบวช การยืนยันความเชื่อ และการอภิเษก หลาย ๆ คริสตจักรถือว่าบิชอปเป็นตำแหน่งที่มีการสืบต่อจากอัครทูตของพระเยซู จึงเป็นผู้มีสิทธิอำนาจในการปกครองคริสตจักร และถือว่าการปกครองโดยบิชอปเป็นวิธีการบริหารคริสตจักรที่ถูกต้องตามที่ระบุในคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ในบางคริสตจักรได้แบ่งบิชอปหรือมุขนายกออกเป็นหลายชั้นหลายประเภท เช่น แบ่งมุขนายกออกเป็นมุขนายกประจำมุขมณฑลและมุขนายกเกียรตินาม มุขนายกแต่ละประเภทยังแบ่งออกเป็นมุขนายกและอัครมุขนายก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนบของแต่ละคริสตจักร บิชอปทั้งหลายจะร่วมสามัคคีธรรมกันในรูปของสภาหรือซิโนด สภามักมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้กับบิชอปในการดูแลเขตปกครองของตน (ตัวอย่างเช่น สภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย) ตั้งแต่มีการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ ชาวโปรเตสแตนต์ส่วนใหญ่ก็เปลี่ยนไปใช้วิธีการปกครองแบบอื่น ได้แก่ แบบเพรสไบทีเรียน แบบคองกริเกชันนาลิสต์ ซึ่งเป็นผลจากแนวคิดของฌ็อง กาลแว็ง นักปฏิรูปศาสนาชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล · ดูเพิ่มเติม »

การทำนายวันสิ้นโลก พ.ศ. 2554

การทำนายวันสิ้นโลก..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการทำนายวันสิ้นโลก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การคุมกำเนิด

ตัวอย่างยาเม็ดคุมกำเนิด ประสิทธิผลของวิธีคุมกำเนิดแบบต่าง ๆ การคุมกำเนิด (birth control) คือเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการป้องกันการปฏิสนธิหรือขัดขวางการตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดถูกใช้มาแต่โบราณ ทว่าวิธีที่ปลอดภัยและได้ผลดีพึ่งมีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การวางแผน เตรียมการ และการใช้การคุมกำเนิดถูกเรียกว่าเป็นการวางแผนครอบครัว บางวัฒนธรรมไม่สนับสนุนและจำกัดการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องการทางศีลธรรม ศาสนา หรือการเมือง วิธีที่ซึ่งให้ประสิทธิผลสูงสุดคือการทำหมัน โดยการตัดหลอดนำอสุจิ (vasectomy)ในเพศชายและการผูกท่อรังไข่ในเพศหญิง การใส่ห่วงอนามัยคุมกำเนิด (IUD) และการใช้ยาฝังคุมกำเนิด ตามมาด้วยการใช้ฮอร์โมน เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง วงแหวนช่องคลอด และการฉีดฮอร์โมน วิธีที่ได้ผลรองลงมาได้แก่วิธีการนับระยะปลอดภัยและวิธีการที่ใช้สิ่งกีดขวาง เช่น ถุงยางอนามัย หมวกครอบปากมดลูก และฟองน้ำคุมกำเนิด วิธีที่ได้ผลน้อยที่สุดได้แก่การใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิ (spermicide) และการหลั่งนอกช่องคลอด การทำหมันให้ประสิทธิผลสูงแต่มักเป็นการคุมกำเนิดที่ถาวร ต่างกับวิธีอื่นซึ่งเป็นการคุมแบบชั่วคราวและสามารถย้อนกลับได้เมื่อหยุดใช้ การปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย เช่นการใช้ถุงยางอนามัยชายหรือหญิงยังสามารถป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนวิธีการคุมกำเนิดแบบอื่นไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เทคนิคการคุมกำเนิดฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ใช้ภายใน 72 ถึง 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน บางคนเชื่อว่าการไม่มีเพศสัมพันธ์เป็นการคุมกำเนิดแบบหนึ่ง ทว่าเพศศึกษาแบบที่สอนให้งดเว้นอย่างเดียวอาจเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหากไม่สอนควบคู่ไปกับการใช้การคุมกำเนิด เพราะการไม่ยอมทำตาม ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการคุมกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

การตกในบาป

อาดัมและเอวาถูกขับจากสวนเอเดนโดยพระเจ้าหลังจากกระทำบาปกำเนิด โดย โดเม็นนิชิโน การตกในบาป (Fall of Man หรือ the Fall) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟังพระเจ้าไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ในบาปกำเนิด ในศาสนาคริสต์, มนุษย์คนแรกอาดัมและเอวาเมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงในคัมภีร์ไบเบิล แต่กล่าวถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับไล่ ในศาสนาอื่นเช่นศาสนายูดาห์, ศาสนาอิสลาม หรือ ไญยนิยม (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป ในเทววิทยาศาสนาคริสต์, “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจากบาปของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “บาปกำเนิด” (original sin) เช่นในคำสอนของนักบุญพอลแห่งทาซัสที่บันทึกไว้ใน จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม 5:12-19 และ จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 15:21-22 ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เชื่อว่าความตายของพระเยซูเป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่น ๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการตกในบาป · ดูเพิ่มเติม »

การตรึงกางเขน

นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” โดย คาราวัจโจ การตรึงกางเขน (crucifixion) เป็นวิธีการประหารชีวิตซึ่งผู้ถูกสั่งให้ประหารจะถูกผูกหรือตอกตะปูบนไม้กางเขนและปล่อยทิ้งไว้ให้ตาย วิธีการประหารชีวิตแบบนี้เป็นวิธีที่ใช้ในสมัยจักรวรรดิโรมันและในประเทศเพื่อนบ้านในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และวิธีที่คล้ายคลึงกันในจักรวรรดิเปอร์เชีย การประหารชีวิตโดยการตรึงกางเขนโดยจักรวรรดิโรมันมาจนถึงปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการตรึงกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนา

การปฏิรูปศาสนา อาจหมายถึงการปฏิรูปทางศาสนาคริสต์ที่สำคัญๆในประวัติศาสตร์ยุโรป ซึ่งมีหลายครั้ง ได้แก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการปฏิรูปศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์ การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

การนมัสการ

การนมัสการ (โปรเตสแตนต์) หรือ คารวกิจ (โรมันคาทอลิก) เป็นการบูชาพระเป็นเจ้าของคริสต์ศาสนิกชน ภาษาอังกฤษใช้คำว่า “worship” มาจากภาษา Anglo-Saxon ว่า “worthscipe” หรือ “worthship” หมายถึง การตอบสนองภายในจิตใจด้วยการแสดงออกมา อันเนื่องมาจากการที่เห็นความสำคัญและคุณค่าของสิ่งนั้น หรือคนนั้น หนังสือสดุดี บทที่ 96 ข้อ 8 กล่าวว่า “จงถวายพระสิริ ซึ่งควรแก่พระนามของพระองค์แด่พระเจ้า จงนำเครื่องบูชาและมายังบริเวณพระนิเวศของพระองค์” นั่นคือภาพในสมัยก่อนการเสด็จมากำเนิดของพระเยซูคริสต์ คนที่เห็นคุณค่าพระเจ้าจะนำเครื่องบูชามาถวายแด่พระเจ้าเป็นการนมัสการ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการนมัสการ · ดูเพิ่มเติม »

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด

การไล่ผีให้โรแลนด์ โด (Exorcism of Roland Doe) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเชิงเหนือธรรมชาติที่เกี่ยวกับภูตผีปีศาจ อันเป็นที่มาของภาพยนตร์เรื่อง The Exorcist ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการไล่ผีให้โรแลนด์ โด · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรั..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

การเข้าเงียบ

ระเยซูมักปลีกตัวไปเข้าเงียบอยู่คนเดียวแบบนี้ การเข้าเงียบจะมีลักษณะแบบนี้คืออธิษฐานและอ่านพระคัมภีร์อยู่คนเดียว การเข้าเงียบ (retreat) เป็นการปฏิบัติที่สำคัญอย่างหนึ่งของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นการปลีกตัวไปอยู่คนเดียวเพื่อวิงวอนกับพระเป็นเจ้าและนักบุญและอ่านคัมภีร์ไบเบิล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และการเข้าเงียบ · ดูเพิ่มเติม »

กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2052-2090) อภิเษกสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2044 กับเจ้าชายอาร์เธอร์ พระโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2029-2045) แต่เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงกาตาลินาก็ได้ทรงรับหมั้นกับเจ้าชายที่เป็นน้องสามี ซึ่งต่อมาคือพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ในขณะที่มีพระชนมายุเพียง 11 ขวบ และได้อภิเษกสมรสกันในเวลาต่อมาเมื่อ..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยง

ษากะเหรี่ยงเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงอยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และภาษากะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ภาคิน คำวิลัยศักดิ์

น คำวิลัยศักดิ์ (ชื่อเล่น: โตโน่; เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักจากการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ 6.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และภาคิน คำวิลัยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารบัมแบร์ก

มหาวิหารบัมแบร์ก (Bamberger Dom) มีชื่อเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรและนักบุญจอร์จ (Bamberger Dom St. Peter und St. Georg) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลบัมแบร์ก ตั้งอยู่ที่เมืองบัมแบร์ก ในประเทศเยอรมนี สถาปัตยกรรมของมหาวิหารที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ตอนปลายโดยมีหอสี่หอ มหาวิหารแรกก่อสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1004 โดยจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1012 และได้รับการเสกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1012 ต่อมาถูกเพลิงไหม้ไปบางส่วนในปี ค.ศ. 1081 มหาวิหารใหม่สร้างโดยออทโทแห่งบัมแบร์ก และได้รับการเสกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1111 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มหาวิหารก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และต่อเติมใหม่จนเป็นรูปทรงเป็นแบบปลายสมัยโรมานเนสก์ที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมหาวิหารบัมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก

อาสนวิหารเคอนิจส์แบร์ก (Königsberg Cathedral) เป็นอาสนวิหารศาสนจักรออร์โธดอกซ์รัสเซียที่ตั้งอยู่ที่เมืองคาลินกราด (เดิมเคอนิจส์แบร์กในเยอรมนี) บนเกาะเพรเกิล (เพรโกลยา) ในสหพันธรัฐรัสเซีย หรือเรียกว่าคไนพ์ฮอฟในภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมหาวิหารเคอนิจส์แบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มัสคีกี (ครีค)

มัสคีกี หรือ ครีค (Muscogee/Muskogee หรือ Creek) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา Sequoyah Research Center and the American Native Press Archives คำว่า “Muscogee” แผลงมาจากคำในว่า “Mvskoke” มัสคีกีในปัจจุบันส่วนใหญ่มีถิ่นฐานอยู่ในโอคลาโฮมา, แอละแบมา, จอร์เจีย และ ฟลอริดา ภาษาที่ใช้คือภาษาครีคซึ่งเป็นภาษาในจัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) มัสคีกีเป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปี ที่มีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ที่นักประวัติศาสตร์วอลเตอร์ วิลเลียมส์กล่าวว่านักสำรวจชาวสเปนได้มีโอกาสพบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) เพราะชอคทอว์ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาณานิคมชาวอเมริกันยุโรป.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมัสคีกี (ครีค) · ดูเพิ่มเติม »

มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร

มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร (Mark the Evangelist; מרקוס; Μάρκος) เป็นหนึ่งในผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน อีกสามท่านได้แก่มัทธิว ยอห์น และลูกา เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์พระวรสารนักบุญมาระโกซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของพันธสัญญาใหม่และเป็นเพื่อนกับซีโมนเปโตร นักบุญมาระโกได้ร่วมเดินทางกับเปาโลและบารนาบัสเมื่อนักบุญเปาโลเริ่มเดินทางไปเผยแพร่ศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีข้อขัดแย้งกัน บารนาบัสก็แยกตัวจากเปาโลโดยเอามาระโกไปไซปรัสด้วย (กิจการของอัครทูต 15:36-40) การแยกตัวครั้งนี้ทำให้เกิดพระวรสารนักบุญมาระโกขึ้น ต่อมาเปาโลเรียกตัวมาระโกกลับมา ฉะนั้นมาระโกจึงกลับมาเป็นผู้ติดตามเปาโลอีกครั้ง คริสตจักรคอปติกออร์ทอดอกซ์ถือว่ามาระโกเป็นผู้วางรากฐานคริสต์ศาสนาในทวีปแอฟริกา เป็นคนแรกที่ดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งอะเล็กซานเดรีย เช่นเดียวกับผู้นิพนธ์พระวรสารอีกสามองค์นักบุญมาระโกมักจะปรากฏในภาพเขียนทางคริสต์ศาสนาใช้สัญลักษณ์สิงโต ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ตามหนังสือดาเนียลบทที่ 7 (Book of Daniel).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

มารีย์ (มารดาพระเยซู)

มารีย์ (מרים, มัรยาม, มีเรียม) คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายเรียกว่าพระแม่มารีย์ พระนางมารีย์พรหมจารี (Blessed Virgin Mary) หรือพระนางมารีย์พระชนนีพระเป็นเจ้า (Mary, Mother of God) (ในอัลกุรอานว่านางมัรยัม) เป็นสตรีชาวยิวจากเมืองนาซาเรธ แคว้นกาลิลี คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่และคัมภีร์อัลกุรอานระบุตรงกันว่านางได้เป็นมารดาของพระเยซูโดยอำนาจของพระเจ้า พระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูการะบุว่ามารีย์เป็นหญิงพรหมจรรย์ (παρθένος, parthénos ในภาษากรีก) ชาวคริสต์เชื่อสืบกันมาแต่อดีตว่านางได้ตั้งครรภ์บุตรด้วยอำนาจพระวิญญาณบริสุทธิ์ขณะที่ยังเป็นหญิงพรหมจรรย์ ส่วนชาวมุสลิมก็เชื่อว่านางตั้งครรภ์ด้วยโองการของพระเจ้า เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อนางได้หมั้นหมายกับนักบุญโยเซฟแล้วและอยู่ระหว่างรอพิธีแต่งงาน เมื่อนางได้แต่งงานกับโยเซฟแล้วก็ย้ายไปอยู่ที่เมืองเบธเลเฮมซึ่งได้เป็นที่ประสูติพระเยซู ตามธรรมเนียมยิวการหมั้นน่าจะเกิดขึ้นเมื่อนางอายุราว 12 ปีแล้วให้กำเนิดพระเยซูในหนึ่งปีหลังจากนั้น คัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มกล่าวถึงนางด้วยเหตุการณ์แม่พระรับสาร เมื่อทูตสวรรค์กาเบรียลมาปรากฏกายต่อหน้านาง แล้วแจ้งว่าพระเจ้าทรงเลือกนางให้เป็นมารดาของพระเยซู คริสตจักรและข้อเขียนนอกพระคัมภีร์ในยุคแรกยังระบุว่าบิดามารดาของนางเป็นคู่สามีภรรยาสูงอายุชื่อนักบุญโยอาคิมและนักบุญอันนา คัมภีร์ไบเบิลบันทึกถึงบทบาทของนางในชีวิตของพระเยซูตั้งแต่การตั้งครรภ์พระองค์จนถึงพระองค์เสด็จขึ้นสวรรค์ ข้อเขียนจากคัมภีร์นอกสารบบยังกล่าวว่าหลังจากมรณกรรมนางได้รับการยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมารีย์ (มารดาพระเยซู) · ดูเพิ่มเติม »

มารีแห่งกีซ

มารีแห่งกีซ (Marie de Guise) เป็นสตรีสูงศักดิ์ชาวฝรั่งเศสซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์สกอตแลนด์ โดยดำรงตำแหน่งเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมารีแห่งกีซ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมาร์ติน ลูเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิวนิก

มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 (เป็นครั้งที่สาม) มิวนิกยังเป็นอันดับหนึ่งในการจัดอันดับโดยนิตยสาร “Capital” ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จัดอันดับแนวโน้มเศรษฐกิจระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

มิเชลล์ โอบามา

นางมิเชลล์ ลาวอห์น โรบินสัน โอบามา (เกิด 17 มกราคม พ.ศ. 2507) เป็นภรรยาของบารัก โอบามา ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 44 ซึ่งนั่นทำให้เธอดำรงสถานะสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา และนับเป็นคนแรกที่มีเชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน มิเชลล์เกิดและโตในทางตอนใต้ของชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน และโรงเรียนกฎหมายมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ภายหลังจากจบการศึกษามิเชลล์ได้กลับไปทำงานกับสำนักงานกฎหมายซิดลีย์ออสตินในชิคาโก ก่อนจะพบรักกับบารัก และแต่งงานกัน ทั้งคู่มีบุตรสาวด้วยกันสองคนคือ มาเลีย แอน และซาช่า ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมิเชลล์ โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

มูลฐานนิยม

มูลฐานนิยม (fundamentalism) หมายถึง รูปแบบศาสนาที่ยึดความเชื่อตามคัมภีร์อย่างเคร่งครัดและตีความตามตัวอักษร มักพบในศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมูลฐานนิยม · ดูเพิ่มเติม »

มณี สิริวรสาร

ณหญิงมณี สิริวรสาร หรือเดิมคือ หม่อมมณี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มณี บุนนาค หรือ มณี เซเนียร์ บุนนาค (Mani Xenier Bunnag; เกิด: 22 กันยายน พ.ศ. 2458 — ถึงแก่อนิจกรรม: 27 กันยายน พ.ศ. 2542) อาจารย์และนักสังคมสงเคราะห์ชาวไทย อดีตพระสุณิสาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ด้วยท่านเคยสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต พระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเอกชัย โควาวิสารัช ผ.น..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมณี สิริวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

มงแต็สกีเยอ

ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และมงแต็สกีเยอ · ดูเพิ่มเติม »

ยกยาการ์ตา

กยาการ์ตา (Yogyakarta) เป็นเมืองหลักของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง..1945 - 1949 เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่องรามายณะ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ยกยา (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า การ์ตา (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และยกยาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยากอบ บุตรอัลเฟอัส

กอบ บุตรอัลเฟอัส (James, son of Alphaeus) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ไม่ทราบสถานที่เกิดและปีที่เกิด และเสียชีวิตโดยการตรึงกางเขนที่ออสตราไคน์ ทางตอนใต้ของประเทศอียิปต์ราว..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และยากอบ บุตรอัลเฟอัส · ดูเพิ่มเติม »

ยากอบผู้ชอบธรรม

กอบ (יעקב. Ya'akov; Ἰάκωβος Iákōbos คำเดียวกันกับคำว่า "ยาโคบ") ผู้ได้รับสมัญญาว่าผู้ชอบธรรม เปาโลอัครทูตเรียกท่านว่าพี่/น้องขององค์พระผู้เป็นเจ้า แม้จะไม่ใช่อัครทูต แต่ก็มีบทบาทสำคัญในคริสตจักรยุคแรก ๆ จนได้รับเลือกเป็นผู้ปกครองดูแลคริสตจักรในกรุงเยรูซาเลมเป็นคนแรก เชื่อว่าเป็นผู้เขียนจดหมายของนักบุญยากอบ และเป็นคนละคนกับยากอบ บุตรเศเบดี ชาวคาทอลิกเชื่อว่าท่านเป็นคนเดียวกันกับอัครทูตยากอบ บุตรอัลเฟอั.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และยากอบผู้ชอบธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกลารุส

รัฐกลารุส (Glarus) เป็นรัฐทางตะวันออก ตอนกลางของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมืองหลวงคือ กลารุส รัฐมีประชากร 39,217 คน (ข้อมูล 31 ธันวาคม ค.ศ. 2011) จากข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2007 มีประชากรชาวต่างชาติ 7,314 คน หรือคิดเป็น 19.13% ของประชากรทั้งหมด ส่วนข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2000 ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ (44%) และโรมันคาทอลิก (37%) ประชากรพูดภาษาเยอรมัน 83.6% และพูดภาษาอิตาลี 6.8%.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรัฐกลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐไอโอวา

อโอวา (Iowa) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา อาณาเขตติดต่อกับรัฐอิลลินอยส์ทางด้านตะวันออก รัฐเนแบรสกาทางด้านตะวันตก รัฐมิสซูรีทางด้านใต้ รัฐมินนิโซตา รัฐวิสคอนซิน และรัฐเซาท์ดาโคตา ทางด้านเหนือ ไอโอวาเป็นที่รู้จักเป็นแหล่งผลิตที่สำคัญของข้าวโพด หมู และน้ำมันเอทานอล มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของรัฐไอโอวาได้แก่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาลัยไอโอวา และ มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นไอโอวา ไอโอวาจะได้รับการสนใจในช่วงเลือกตั้งประธานาธิบดี เนื่องจากเป็นรัฐแรกที่มีการคอคัส ชื่อรัฐไอโอวาตั้งชื่อตาม ชาวอินเดียแดง เผ่าไอโอว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรัฐไอโอวา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น (Haus Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเงิน (Hechingen) ในชวาเบินที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเมรีนา

อาณาจักรเมรีนา (Merina Kingdom) คือ อาณาจักรก่อนยุคล่าอาณานิคมในบริเวณพื้นที่ซึ่งเป็นประเทศมาดากัสการ์ในปัจจุบัน พระมหากษัตริย์แห่งมาดากัสการ์ และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งมาดากัสการ์ พระอิศริยยศนี้รวมไปถึงกษัตริย์แห่งอาณาจักรเมรีนาที่ซึ่งสามารถรวบรวมแต่ละเผ่าบนเกาะจนเป็นปึกแผ่น โดยในรัชสมัยของแต่ละพระองค์ทรงนำอาณาจักรผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มากมายเช่น การกวาดล้างชาวตะวันตก การผูกสัมพันธไมตรีกับอังกฤษและผรั่งเศส จนฝรั่งเศสได้ยึดครองมาดากัสการ์และได้ทำการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราชอาณาจักรเมรีนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน

ตราแห่งสวีเดน พระมหากษัตริย์สวีเดน (Monarki i Sverige) เป็นประมุขของราชอาณาจักรสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศสวีเดนมีการปกครองเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและองค์กษัตริย์เองมิได้มีพระราชอำนาจทางการเมือง กระนั้นก็ยังทรงเป็นสถาบันสูงสุดรวมถึงได้รับความเคารพจากสังคมของราชอาณาจักรสวีเดนมาโดยตลอด ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ราตรีสงัด ราตรีสวัสดิ์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และราตรีสงัด ราตรีสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่างพระราชบัญญัติการยกเว้นผู้สืบราชบัลลังก์

แห่งยอร์คในตำแหน่งผู้บังคับบัญชาการราชนาวีสูงสุด เมื่อทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกในปี ค.ศ. 1673 พระองค์ทรงลาออกจากตำแหน่งแทนที่จะทรงยอมปฏิญาณต่อต้านโรมันคาทอลิกตามที่ระบุในพระราชบัญญัติทดสอบ ร่างพระราชบัญญัติการยกเว้นผู้สืบราชบัลลังก์ หรือ ร่างพระราชบัญญัติการยกเว้น (Exclusion Bill) เสนอระหว่าง ค.ศ. 1678 ถึงปี ค.ศ. 1681 ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 จุดประสงค์ของร่างพระราชบัญญัติยกเว้นก็เพื่อห้ามไม่ให้พระอนุชาของพระเจ้าชาร์ลส์ดยุคแห่งยอร์คผู้เป็นรัชทายาทโดยพฤตินัยจากการขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเพราะทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก พรรคทอรีต่อต้านร่างพระราชบัญญัติแต่พรรควิกสนับสนุน ในปี ค.ศ. 1673 เมื่อดยุคแห่งยอร์คไม่ทรงยอมปฏิญาณต่อต้านโรมันคาทอลิกตามที่ระบุในพระราชบัญญัติทดสอบ (Test Act) ที่เพิ่งออกใหม่ก็ทำให้เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าทรงหันไปนับถือโรมันคาทอลิก เอ็ดเวิร์ด โคลแมน (Edward Colman) เลขานุการของพระองค์ถูกกล่าวชื่อโดยไททัส โอตส์ (Titus Oates) ระหว่างการคบคิดพ็อพพิช (ค.ศ. 1678) ว่าเป็นผู้สมรู้ร่วมคิด ทางฝ่ายชนชั้นปกครองที่เป็นโปรเตสแตนต์ก็เริ่มรวมตัวกันต่อต้าน เพื่อเลี่ยงไม่ให้ระบบการปกครองในอังกฤษกลายเป็นสภาวะการปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสถ้าดยุคแห่งยอร์คมีโอกาสขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาผู้ไม่มีรัชทายาทที่ถูกต้องตามกฎหมาย เซอร์เฮนรี คาเพล (Henry Capel) สรุปความรู้สึกทั่วไปของฝ่ายต่อต้านสิทธิของดยุคแห่งยอร์คเมื่อกล่าวปาฐกถาในรัฐสภาเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1679: การปาฐกถาของคาเพลครั้งนี้ทำให้รัฐบาลต้องเผชิญหน้ากับสถานะการณ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อมีข่าวลือที่ว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงพยายามเข้ามามีส่วนพยายามทำให้รัฐบาลของพระเจ้าชาร์ลส์เป็นกลางโดยใช้การติดสินบนโดยตรง ทอมัส ออสบอร์น ดยุคแห่งลีดส์ที่ 1 ก็ถูกปลดในฐานะแพะรับบาป พระเจ้าชาร์ลส์จึงทรงยุบรัฐสภา แต่รัฐสภาใหม่ก็กลับมาประชุมอีกในเดือนมีนาคมปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และร่างพระราชบัญญัติการยกเว้นผู้สืบราชบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทรูจีซัส

ลัทธิทรูจีซัส หรือ โบสถ์ทรูจีซัส (True Jesus Church - 真耶穌教會 ย่อ TJC หรือแปลว่า โบสถ์พระเยซูที่แท้จริง) คือ กลุ่มความเชื่อทางศาสนาคริสต์ ซึ่งแตกแขนงออกมาจากคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์ ต้นสังกัดอยู่ประเทศจีน โดยกลุ่ม เพนเทโคสต์ (Pentecost) ที่มาเผยแผ่ในประเทศจีนและตั้งขึ้นที่ เมืองปักกิ่ง ประเทศจีน ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และลัทธิทรูจีซัส · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และลัทธิทำลายรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคาลวิน

ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และลัทธิคาลวิน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเอเรียส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ทรงเผาหนังสือของลัทธิเอเรียส ลัทธิเอเรียส (Arianism) เป็นแนวคำสอนทางเทววิทยาของเอเรียส (ราว ค.ศ. 250–ค.ศ. 336) บาทหลวงที่สังคายนาไนเซียครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และลัทธิเอเรียส · ดูเพิ่มเติม »

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร (Luke the Evangelist; לוקא; Loukas) เกิดที่แอนติออก ประเทศตุรกีปัจจุบัน เสียชีวิตประมาณปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ ฟุงค์

วัลเทอร์ ฟุงค์ (Walter Funk) เป็นนักเศรษฐศาสตร์และเป็นเจ้าหน้าที่สมาชิกของนาซี ซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีไรซ์ว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวัลเทอร์ ฟุงค์ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมกัมพูชา

วัฒนธรรมกัมพูชาที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติมีพื้นฐานมาจากศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู กัมพูชาได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งทางด้านภาษาและศิลปะผ่านทางแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งจากการค้าทางทะเลทางไกลกับอินเดียและจีนจนเกิดอาณาจักรฟูนันขึ้นเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวัฒนธรรมกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วาเลินชตัท

วาเลินชตัท (Walenstadt) เป็นเมืองในรัฐซังคท์กัลเลิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตะวันออกของทะเลสาบวาเลิน วาเลินชตัทมีพื้นที่ 45.7 ตารางกิโลเมตร โดยร้อยละ 35 เป็นพื้นที่เพาะปลูก ร้อยละ 40 เป็นป่าไม้ ประชากรของเมืองนี้ร้อยละ 67 นับถือโรมันคาทอลิก รองลงมาร้อยละ 15 นับถือโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวาเลินชตัท · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ฟริค

วิลเฮล์ม ฟริค (12 มีนาคม 1877 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันที่โดดเด่นที่สุดของพรรคนาซีซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแห่งไรซ์ในคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ (1933-1943) และเป็นผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายของรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวี.หลังสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง,เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนและดำเนินการรุกราน,อาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กและถูกพบว่ามีความผิดจริงจึงถูกพิพากษาโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ด้วยอายุวัย 69 ปี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวิลเฮล์ม ฟริค · ดูเพิ่มเติม »

วิศาล ดิลกวณิช

วิศาล ดิลกวณิช พิธีกรรายการบ่ายนี้มีคำตอบ ทางช่อง 9 MCOT HD เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2513 วิศาลทำงานสื่อมวลชนมาหลายรูปแบบ เคยเป็นผู้สื่อข่าววิทยุ สังกัดศูนย์ข่าวแปซิฟิก และสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ เอเอ็ม 1008, ผู้ประกาศข่าวภาคเที่ยง ผู้สื่อข่าวสายเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี, พิธีกรข่าว รายการเช้าวันใหม่ (คู่กับนิธินาฎ ราชนิยม หรือปราย ธนาอัมพุช), ครอบครัวข่าวเช้า ช่วง ไขประเด็นดัง, เที่ยงวันทันเหตุการณ์ (ช่วงเกาะประเด็นร้อน แกะประเด็นลึก) ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเขาเป็นผู้นำคนหนึ่งของกลุ่มพนักงานฝ่ายข่าวไอทีวี ที่เคลื่อนไหวคัดค้านการเข้าถือหุ้นใหญ่ใน บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) ของกลุ่มชินคอร์ป ซึ่งพนักงานกลุ่มดังกล่าวเชื่อว่า มีความเกี่ยวข้องกับ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ต่อมากลุ่มพนักงานดังกล่าว เป็นที่รู้จักในชื่อ กบฏไอทีวี นอกจากงานประจำแล้ว ปัจจุบันวิศาลยังมีกิจการผลิตรายการโทรทัศน์ ในนามบริษัท เมไกแมสมีเดีย จำกัดอีกด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวิศาล ดิลกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

วิศณุ เจริญราช

วิศณุ เจริญราช (ชื่อเล่น: วิศ) ชื่อภาษาอังกฤษ Mr.Wissanu Charoenrach เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งนักวิชาการศึกษาชำนาญการ: Educator,Professional Level สังกัด สำนักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวิศณุ เจริญราช · ดูเพิ่มเติม »

วีตอเรีย

วีตอเรีย (Vitória) เป็นเมืองหลวงของรัฐเอสปีรีตูซานตู ประเทศบราซิล ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ในอ่าวที่แม่น้ำบรรจบกับทะเล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และวีตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพลเมืองส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก แต่ในเวลาเดียวกันก็มีกลุ่มศาสนาต่าง ๆ อยู่ในประเทศด้วยกัน ทั้งอิสลาม พุทธ ฮินดู และศาสนาอื่น ๆ บนเอกภาพที่หลากหล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาจารย์

นาจารย์ (ordained minister; minister) เขียนย่อว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์ตะวันตก

นาคริสต์ตะวันตกหมายถึงกลุ่มคริสตจักรโรมันคาทอลิก คริสตจักรแองกลิคัน และคริสตจักรฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีคุณสมบัติร่วมกันย้อนได้ถึงสมัยกลาง คำนี้ใช้เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างกับศาสนาคริสต์ตะวันออก ศาสนาคริสต์ตะวันตกส่วนใหญ่แล้วพบได้ในทวีปยุโรปตะวันตก สแกนดิเนเวีย ยุโรปกลาง ยุโรปใต้ บางส่วนของยุโรปตะวันออก แอฟริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ และออสเตรเลีย รวมเป็น 90% ของประชาคมชาวคริสต์ทั่วโลก คริสตจักรโรมันคาทอลิกเองมีผู้นับถือมากกว่าครึ่งหนึ่ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาคริสต์ตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย

นาคริสต์ เป็นหนึ่งใน 5 ศาสนาในประเทศไทยที่กรมการศาสนารับรอง โดยมิชชันนารีชาวยุโรปเป็นกลุ่มแรกที่นำเข้ามาเผยแผ่ ปัจจุบันมีจำนวนศาสนิกชนมากที่สุดเป็นอันดับสาม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาคริสต์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศกัมพูชา

นาที่สำคัญในกัมพูชาคือศาสนาพุทธ มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยก่อนหน้านั้น ศาสนาฮินดูเป็นศาสนาที่มีความสำคัญมาเป็นเวลากว่าพันปี ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับมิชชันนารีจากฝรั่งเศส เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่เป็นที่นับถือในหมู่ชาวจาม ส่วนชาวเขมรเชื้อสายจีน นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ลัทธิขงจื๊อ และความเชื่อดั้งเดิมของชาวจีน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศลาว

นาในประเทศลาวที่สำคัญคือศาสนาพุทธ ชาวลาวส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ส่วนชนเผ่าต่างๆนับถือศาสนาผี พบในกลุ่มผู้ที่พูดภาษาตระกูลจีน-ทิเบต และไท-กะได เช่น ชาวไทดำ ไทแดง เช่นเดียวกับกลุ่มที่พูดภาษากลุ่มเกาหลี-ญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาในประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศไทย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศาสนาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)

ลปะของการเขียนภาพ หรือ อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ หรือ จิตรกรในห้องเขียนภาพ (The Art of Painting หรือ The Allegory of Painting หรือ Painter in his Studio) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรสมัยบาโรกชาวเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย เวร์เมร์เขียนภาพ “ศิลปะของการเขียนภาพ” เสร็จในปี ค.ศ. 1666 ผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะหลายท่านกล่าวว่างานชิ้นนี้เป็นอุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพฉะนั้นภาพเขียนจึงรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ” และเป็นภาพเขียนที่ใหญ่ที่สุดและซับซ้อนที่สุดของงานทั้งหมดที่เวร์เมร์เขียน ภาพเขียนนี้มีชื่อเสียงเป็นภาพเขียนที่เวร์เมร์ชอบที่สุดและเป็นภาพที่เป็นงานเขียนแบบภาพลวงตา แม้ว่าจะเป็นภาพที่เขียนในสมัยที่ยังไม่มีเทคโนโลยีในด้านการถ่ายภาพแต่ก็สามารถแสดงความเป็นจริงในการสร้างรายละเอียดทางจักษุอย่างภาพถ่ายได้ สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของภาพนี้คือการใช้สีที่สดและแสงที่จัดจ้าที่สาดเข้ามาทางหน้าต่างที่อาบบนสิ่งต่างๆ ใน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์) · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ศิษยาภิบาล

ษยาภิบาล (Pastor) เป็นคำจากภาษาสันสกฤตแปลว่า ผู้ดูแลศิษย์ (ศิษฺย+อภิปาล) ส่วนคำว่า pastor นั้นมาจากภาษาละติน pascere ซึ่งแปลว่าคนเลี้ยงแกะ (shepherd) ชาวโรมันคาทอลิกแปลคำนี้ว่า "ผู้อภิบาล" ศิษยาภิบาลเป็นตำแหน่งในการปกครองคริสตจักร ในปัจจุบันใช้ในคริสตจักรฝ่ายโปรเตสแตนต์ นอกจากนี้ยังพบการใช้คำว่าผู้อภิบาล (pastor) เพื่อหมายถึงมุขนายกและอธิการโบสถ์ในคริสตจักรอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ คริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และศิษยาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

สภาสังคายนาสากล

ในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาสากล (Ecumenical council หรือ oecumenical council หรือ general council) คือการประชุมบรรดามุขนายกและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์จากคริสตจักรทั่วโลก เพื่อสังคายนาหรือหาข้อตกลงร่วมกันในเรื่องหลักความเชื่อและการปฏิบัติที่ขัดแย้งกันอยู่ในขณะนั้น คำว่า “Οικουμένη” เป็นภาษากรีกแปลว่า “โลกที่อยู่อาศัย” หรือในความหมายแคบคือจักรวรรดิโรมันนั่นเอง เพราะการประชุมในสมัยแรก ๆ ริเริ่มโดยจักรพรรดิโรมัน แต่ต่อมาคำนี้ก็นำมาใช้กันโดยทั่วไปในความหมายที่หมายถึง “คริสตจักร” หรือประชาคมคริสต์ศาสนิกชน “ทั่วโลก” หรือในแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาครั้งสุดท้ายที่เป็นที่ยอมรับจากทั้งฝ่ายโรมันคาทอลิกและออร์ทออดกซ์คือสังคายนาไนเซียครั้งที่สองปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสภาสังคายนาสากล · ดูเพิ่มเติม »

สมมติฐานโลกยุติธรรม

มมติฐานโลกยุติธรรม (just-world hypothesis, just-world fallacy) เป็นความเอนเอียงทางประชาน หรือเป็นการสมมุติว่า การกระทำของบุคคลหนึ่ง ๆ มีแนวโน้มที่จะนำผลที่ยุติธรรมโดยศีลธรรมและที่เหมาะสมมายังบุคคลนั้น ๆ คือในที่สุดกรรมดีก็จะได้ผลดี และกรรมชั่วก็จะได้ผลชั่ว กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นแนวโน้มที่จะอ้างหรือคาดหวังว่า ผลที่เห็นมีเหตุเนื่องกับพลังจักรวาลที่ปรับโลกให้สมดุลอย่างยุติธรรม ความเชื่อเช่นนี้ทั่วไปส่องถึงความเชื่อเรื่องความยุติธรรมจักรวาล ชะตากรรม ลิขิตของผู้เป็นเจ้า ความสมดุลทางจักรวาล ระเบียบจักรวาล และมีโอกาสสูงที่จะให้ผลเป็นเหตุผลวิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลให้เหตุผลความเคราะห์ร้ายของผู้อื่นว่า คน ๆ นั้น ๆ "สมควร" จะได้รับผลเช่นนั้น ในภาษาอังกฤษ สมมติฐานเช่นนี้พบได้ในภาพพจน์ต่าง ๆ ที่แสดงนัยรับประกันที่จะได้ผลร้ายคืน เช่น "You got what was coming to you" (คุณได้สิ่งที่ควรจะมาหาคุณ) "What goes around comes around" (อะไรเวียนไปก็ย่อมจะเวียนมา) "chickens come home to roost" (ไก่ย่อมกลับบ้านเพื่อมานอน) และ "You reap what you sow" (คุณเก็บเกี่ยวสิ่งที่คุณหว่าน) เป็นสมมติฐานที่ศึกษากันอย่างกว้างขวางโดยนักจิตวิทยาสังคม เริ่มต้นที่งานทรงอิทธิพลของ.ดร.เลอร์เนอร์ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ตั้งแต่นั้น งานวิจัยก็ได้ดำเนินต่อมาเรื่อย ๆ โดยตรวจสอบสมรรถภาพการพยากรณ์ของทฤษฎีนี้ในสถานการณ์ต่าง ๆ และในวัฒนธรรมต่าง ๆ ช่วยให้ความเข้าใจเรื่องนี้ดีขึ้นและขยายกว้างออกไป.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมมติฐานโลกยุติธรรม · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ (ภาษาอังกฤษ: Northern Renaissance) เป็นวลีที่หมายถึงยุคเรอเนสซองซ์ในทวีปยุโรปเหนือ หรือทั่วๆ ไปคือทวีปยุโรปนอกอิตาลี ก่อน ค.ศ. 1450 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีมนุษย์วิทยาไม่มีอิทธิพลเท่าใดนักนอกอิตาลี แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ปรัชญาเรอเนสซองซ์ก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปที่ทำให้เกิด สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเยอรมัน, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษ, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเนเธอร์แลนด์, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสเปน, สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโปแลนด์ และอื่นที่มีเอกลักษณ์และความรุ่งเรืองที่แตกต่างไปของแต่ละท้องถิ่น ในฝรั่งเศส, พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงนำ จิตรกรรมอิตาลีเข้ามาในฝรั่งเศส ทรงจ้างจิตรกรชาวอิตาลีรวมทั้งเลโอนาร์โด ดา วินชี และทรงสร้างพระราชวังอันใหญ่โตมโหฬารที่เป็นการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส การค้าขายในเมืองเช่นบรูจส์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และในอันท์เวิร์พ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ช่วยเพิ่มการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างอิตาลีและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำทางตอนเหนือ แต่ในด้านศิลปะโดยเฉพาะทางสถาปัตยกรรม ศิลปะกอธิคยังคงมีอิทธิพลอยู่ต่อมาจนกระทั่งการมาถึงของศิลปะบาโรกแม้ว่าจิตรกรจะมีแนวโน้มที่จะเขียนแบบอิตาลี การก่อตั้งมหาวิทยาลัยและการพิมพ์หนังสือช่วยเผยแพร่ปรัชญาทั่วไปในฝรั่งเศส, กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ, ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาไปยังสแกนดิเนเวีย และในที่สุดในอังกฤษภายในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 นักเขียนและนักมนุษย์วิทยาเช่น), ฟรองซัวส์ ราเบเลส์ (François Rabelais), ปีแยร์ เดอ รอนซาร์ด (Pierre de Ronsard) และ อิราสมัส ได้รับอิทธิจากเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นอันมากและกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการทางปัญญาของสมัยนั้น ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์อังกฤษซึ่งคาบกับสมัยเอลิสซาเบธ นักเขียนเช่นวิลเลียม เชกสเปียร์ และคริสโตเฟอร์ มาร์โลว์ (Christopher Marlowe) สร้างงานประพันธ์ที่มีอิทธิต่อมาอีกเป็นเวลานาน เรอเนสซองซ์เผยแพร่ไปยังโปแลนด์โดยตรงจากอิตาลีโดยจิตรกรจากฟลอเรนซ์และกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำที่ทำให้เกิดการริเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโปแลนด์. ลักษณะของเรอเนสซองซ์ตอนเหนือในบางบริเวณแตกต่างจากลักษณะเรอเนสซองซ์ของอิตาลีที่เกิดจากการมีระบบอำนาจการปกครองที่มาจากศูนย์กลาง ในขณะที่อิตาลีและเยอรมันเป็นระบบรัฐอิสระเล็กๆ น้อยๆ แต่บางส่วนของยุโรปตะวันตกเริ่มมีการก่อตั้งชาติที่มีรัฐบาลกลาง นอกจากนั้นทางเหนือของยุโรปยังมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์และมีความขัดแย้งภายในระหว่างกลุ่มโปรเตสแตนต์ต่างๆ กับกลุ่มโรมันคาทอลิกที่มีผลกระทบกระเทือนที่ไม่แต่ทางการเมืองเช่นการแบ่งแยกเนเธอร์แลนด์แต่ยังมีผลสะท้อนต่อขบวนการการวิวัฒนาการของเรอเนสซองซ์ด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยเอลิซาเบธ

มัยเอลิซาเบธ หรือ สมัยพระราชินีนาถเอลิซาเบธ (Elizabethan era) เป็นระยะเวลาในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมัยเอลิซาเบธ · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐเยอรมัน

มาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation; Deutscher Bund) เป็นสมาคม 39 รัฐเยอรมันในยุโรปกลางอย่างหลวม ตั้งขึ้นโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมาพันธรัฐเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ

มาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (Norddeutscher Bund) คือชื่อของรัฐชาติเยอรมันซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง กรกฎาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2096 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 4 ในราชวงศ์ทิวดอร์ เป็นผู้ซึ่งฟื้นฟูศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกในอังกฤษ พระนางได้ดำเนินการเผาเหล่าบุคคลต่างศาสนา ต่างนิกายกว่า 300 คนทั้งเป็น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อว่า แมรีบ้าเลือด หรือ แมรีผู้กระหายเลือด (Bloody Mary).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6

มเด็จพระสันตะปาปา บุญราศีปอลที่ 6 (Paulus PP.) ดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1963 ถึง ค.ศ. 1978 สืบต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ผู้เรียกประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง เมื่อได้รับตำแหน่งพระสันตะปาปาก็ทรงสืบสานงานการประชุมสังคายนานั้นต่อ ซึ่งมีผลให้พระศาสนจักรโรมันคาทอลิกได้ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านคริสตศาสนสัมพันธ์กับนิกายโปรเตสแตนต์และอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เรื่อยมาจนปัจจุบัน ก่อนได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์เคยทำงานรับใช้ใกล้ชิดกับสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 โดยทำงานที่สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน และพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 นี้เองได้แต่งตั้งพระองค์เป็นอัครมุขนายกแห่งมิลาน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นเลขาธิการสภามุขนายกแห่งอิตาลีอีกด้วย ต่อมาในสมณสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ได้รับแต่งตั้งเป็นพระคาร์ดินัล และได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาหลังจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ได้สิ้นพระชนม์ พระองค์เลือกใช้พระนามว่า เปาโล เพื่อสื่อถึงการเน้นพันธกิจทางด้านการประกาศข่าวดีเหมือนนักบุญเปาโลอัครทูต นอกจากนี้หลังจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ยังคงสานงานการประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สองนั้นต่อ ซึ่งมาแล้วเสร็จในสมณสมัยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในวันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6

มเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6 (2 มีนาคม ค.ศ. 1459 - 14 กันยายน ค.ศ. 1523) มีพระนามเดิมว่า Adrian Florisz Boeyens ทรงดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1522 จนกระทั่งสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สวรรค์

วรรค์ (स्वर्ग สฺวรฺค) หมายถึง ภพหนึ่งในคติของศาสนาต่าง ๆ เช่น ศาสนายูดาห์ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามอันเป็นสถานที่ตอบแทนคุณงามความดีของมนุษย์ที่ได้ทำไปเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลกนี้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย

หกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย (The Evangelical Fellowship of Thailand; EFT) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ได้ถูกต่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลคริสตจักรโปรเตสแตนต์และทำหน้าที่เป็น “สภา” ให้กับมิชชั่น คริสตจักรอิสระ และคริสตจักรกลุ่มต่าง ๆ สหกิจฯ ได้รับการรับรองจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์

หราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ หรือ สหภาพสวีเดน–นอร์เวย์ หรือ สวีเดน–นอร์เวย์ (Svensk-norska unionen; Den svensk-norske union) คือรัฐร่วมประมุขระหว่างสวีเดนและนอร์เวย์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สะบาโต

วันสะบาโต (Sabbath Day; שומרי השבת) เป็นวันสำคัญทางศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ สะบาโต มาจากภาษาฮีบรู "ซับบาธ" แปลว่า "พัก" พระเจ้าทรงสร้างโลก 6 วัน และทรงพักในวันที่ 7 เพื่อให้มนุษย์ได้ปฏิบัติเป็นแบบอย่าง ถือเป็นวันบริสุทธิ์ห้ามทำกิจกรรมใด ๆ ได้ถือว่าวันนี้เป็นวันพักผ่อน เป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ให้ทำกิจกรรมที่ถวายแด่พระเจ้า เช่น การอธิษฐาน การอ่านพระคัมภีร์ และการขอบคุณพระเจ้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสะบาโต · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศส

วนแห่ของสันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศสในปารีสในปี ค.ศ. 1590 สันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศส (French Catholic League หรือ Holy League) เป็นขบวนการที่มีบทบาทสำคัญในสงครามศาสนาของฝรั่งเศสที่ก่อตั้งขึ้นโดยอองรีที่ 1 ดยุคแห่งกีสในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสันนิบาตคาทอลิกฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2413 ซึ่งทำให้ฝรั่งเศสสูญเสียอาลซัส-ลอแรน และดำรงอยู่มาจนล่มสลายใน พ.ศ. 2483 จากการรุกรานของนาซีเยอรมัน ทำให้ฝรั่งเศสถูกยึดครอง ยุคนี้เป็นยุคของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่อายุยืนที่สุด นับตั้งแต่มีการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2332 เป็นต้นมา หมวดหมู่:การเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโดมินิกัน

รณรัฐโดมินิกัน (Dominican Republic; República Dominicana) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสาธารณรัฐโดมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ. 1918–1939) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโปแลนด์หรือเครือจักรภพโปแลนด์ (Rzeczpospolita Polska) รัฐโปแลนด์ถูกสร้างใหม่ใน ค.ศ. 1918 เป็นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังความขัดแย้งในภูมิภาคหลายครั้ง เขตแดนของรัฐถูกชี้ชัดใน ค.ศ. 1922 ประเทศโปแลนด์มีเพื่อนบ้าน ได้แก่ เชโกสโลวาเกีย เยอรมนี นครเสรีดันซิก ลิทัวเนีย ลัตเวีย โรมาเนียและสหภาพโซเวียต มีทางเข้าทะเลบอลติกโดยทางชายฝั่งสั้น ๆ ที่อยู่ข้างนครกดือเนีย (Gdynia) ระหว่างเดือนมีนาคมและสงหาคม ค.ศ. 1939 โปแลนด์ยังมีเขตแดนร่วมกับรูธีเนียคาร์พาเธีย (Carpathian Ruthenia) ซึ่งขณะนั้นเป็นจังหวัดของฮังการี แม้มีแรงกดดันทั้งในและนอกประเทศ ประเทศยังคงอยู่จน ค.ศ. 1939 เมื่อโปแลนด์ถูกนาซีเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐสโลวักบุกครอง เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป สาธารณรัฐที่สองมีพื้นที่ต่างจากรัฐโปแลนด์ปัจจุบันมาก โดยมีดินแดนทางทิศตะวันออกมากกว่าและทางทิศตะวันตกน้อยกว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักมิสซัง

มิสซังคาทอลิกเชียงใหม่ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก) หรือ ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) (mission) คือสำนักงานของมิชชันนารี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสำนักมิสซัง · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตนาวี ภัทรานุกุล

รัตนาวี ภัทรานุกุล (สกุลเดิม: สุวิพร; 15 เมษายนพ.ศ. 2524) เป็นนักร้อง, นักแสดง, พิธีกร และดีเจไทย เข้าสู่วงการบันเทิงจากการเป็นอดีตศิลปินดูโอ้นามไทรอัมพ์ส คิงดอม ร่วมกับพรพรรณ รัตนเมธานนท์ ในสังกัดโดโจ ซิตี้ของเบเกอรี่มิวสิก ที่มีชื่อเสียงมาจากแนวดนตรีแบบป็อปแดนซ์ และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์จากการแต่งตัวที่ในเวลานั้นถูกมองว่าขาดความเหมาะสมตามค่านิยมของสังคมไทยhttp://www.movieseer.com/ActorProfileBil.asp?aID.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสุรัตนาวี ภัทรานุกุล · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ

หาสน์ที่ต่อเติมมุขด้านหน้าจากเล่ม 4 ของ "หนังสือสี่เล่มเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม" (I Quattro Libri dell'Architettura) ที่พิมพ์ในลอนดอนในปี ค.ศ. 1736 อาคารกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นอาคารในรูปแบบปัลลาดีโอ สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ (Palladian architecture) หมายถึงลักษณะของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่มาจากการออกแบบโดยอันเดรอา ปัลลาดีโอ (ค.ศ. 1508-1580) สถาปนิกชาวเวนิส คำว่า "แบบปัลลาดีโอ" โดยทั่วไปแล้วมักจะหมายถึงลักษณะของสิ่งก่อสร้างที่ได้รับอิทธิพลมาจากการออกแบบของปัลลาดีโอเอง สิ่งก่อสร้างในปัจจุบันที่จัดอยู่ในกลุ่มสถาปัตยกรรมลักษณะนี้วิวัฒนาการมาจากปรัชญาการออกแบบของปัลลาดีโอ งานของปัลลาดีโอมีพื้นฐานมาจากความสมมาตร ความมีทัศนมิติ และคุณค่าของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างวัดของกรีกและโรมันโบราณ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 การตีความหมายของสถาปัตยกรรมคลาสสิกกลายมาเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า "คตินิยมปัลลาดีโอ" (Palladianism) ลักษณะนี้วิวัฒนาการต่อมาจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 "คตินิยมปัลลาดีโอ" กลายเป็นนิยมกันอยู่ระยะหนึ่งในบริเตนระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ลักษณะนี้ก็หวนกลับมาเป็นที่นิยมไม่แต่ในอังกฤษแต่ยังในหลายประเทศทางตอนเหนือของยุโรปด้วย ต่อมาก็ลดความนิยมลงในยุโรป แต่ไปนิยมกันในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยทอมัส เจฟเฟอร์สัน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอยังคงเป็นที่นิยมกันทั่วไปในยุโรปตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 มักจะในการออกแบบสิ่งก่อสร้างทางราชการหรือทางสารธารณะ ตั้งแต่ครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็มีสถาปัตยกรรมการฟื้นฟูกอทิกเข้ามาเป็นคู่แข่ง ลักษณะหลังนี้สนับสนุนโดยสถาปนิกเช่นออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin) ที่คำนึงถึงที่มาจากวัดโบราณที่ถือว่าเป็นลักษณะ "นอกศาสนา" เกินไปสำหรับผู้นับถือโปรเตสแตนต์และแองโกล-คาทอลิก แต่กระนั้นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอก็ยังคงเป็นที่นิยมและวิวัฒนาการตลอดมา ซึ่งจะเห็นได้จากการการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันในลักษณะหน้าจั่ว ความสมมาตร และความได้สัดส่วน สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอมีลักษณะหนา ดูทึบทึม อาคารหลายแห่งในประเทศไทยที่มีสถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ ได้แก่ กระทรวงกลาโหม, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน, อาคารศุลกสถาน เป็นต้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอเมริกา

งครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War) เป็นสงครามกลางเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐระหว่างปี 1861 ถึง 1865 สืบเนื่องจากข้อโต้แย้งยืดเยื้อเกี่ยวกับทาส ระหว่างฝ่ายหนึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสหภาพซึ่งประกาศความภักดีต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐ กับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนสมาพันธรัฐซึ่งสนับสนุนสิทธของรัฐในการขยายทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในบรรดา 34 รัฐของสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 เจ็ดรัฐทาสในภาคใต้ประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐเพื่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐอเมริกา หรือ "ฝ่ายใต้" สมาพันธรัฐเติบโตจนมี 11 รัฐทาส รัฐบาลสหรัฐไม่เคยรับรองทางการทูตซึ่งสมาพันธรัฐ เช่นเดียวกับประเทศอื่นทุกประเทศ (แม้สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจะให้สถานภาพคู่สงคราม) รัฐที่ยังภักดีต่อสหรัฐ (รวมทั้งรัฐชายแดนซึ่งทาสชอบด้วยกฎหมาย) เรียก "สหภาพ" หรือ "ฝ่ายเหนือ" สงครามเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามกลางเมืองอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามศาสนาของฝรั่งเศส

หตุการณ์สังหารหมู่วันเซนต์บาร์โธโลมิว สงครามศาสนาของฝรั่งเศส (French Wars of Religion) เป็นสงครามกลางเมืองฝรั่งเศส ระหว่างค.ศ. 1562 ถึง ค.ศ. 1598 ระหว่างฝ่ายคาทอลิก นำโดยตระกูลกีส (Guise) กับกลุ่มอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศส นำโดยตระกูลบูร์บง ผลคือฝรั่งเศสเปลี่ยนราชวงศ์ใหม่จากราชวงศ์วาลัวส์ เป็นราชวงศ์บูร์บง และเสรีภาพทางศาสนาของผู้นับถือโปรเตสแตนต์ในฝรั่งเศสตามพระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์ออกโดยพระเจ้าอองรีที่ 4.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามศาสนาของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามสิบปี

งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามสามสิบปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 1584–1598)

งครามสามเฮนรี หรือ สงครามสามอองรี (War of the Three Henrys) (ค.ศ. 1584-ค.ศ. 1589) เป็นสงครามในช่วงสุดท้ายของสงครามกลางเมืองของฝรั่งเศสที่เรียกว่าสงครามศาสนา สงครามสามเฮนรีเป็นสงครามครั้งที่แปดและครั้งสุดท้ายที่เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 1584–1598) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559)

งครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559) หรือบางครั้งก็เรียกว่า สงครามฮับส์บูร์ก-วาลัว (Italian War of 1551–1559 หรือ Habsburg-Valois War) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1559) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1551 จนถึง ค.ศ. 1559 สงครามอิตาลีครั้งนี้เป็นความขัดแย้งที่เริ่มขึ้นเมื่อพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟร็องซัวทรงประกาศสงครามต่อจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยมีจุดประสงค์ที่จะยึดอิตาลีคืน และสร้างเสริมพลานุภาพของฝรั่งเศสในยุโรปให้เหนือกว่าอำนาจของฮับส์บูร์ก ในระยะแรกของสงครามการเข้าไปโจมตีในดัชชีลอแรนของพระเจ้าอ็องรีประสบกับความสำเร็จ โดยทรงยึดนครของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้สามแห่ง คือ แม็ส ตูล และ แวร์เดิง แต่เมื่อทรงเดินทัพไปรุกรานแคว้นทัสกานีในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1551-1559) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโคโลญ

งครามโคโลญเป็นสงครามในยุคการปฏิรูปโปรเตสแตนต์และปฏิรูปคาทอลิกระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และสงครามโคโลญ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง (อินโดนีเซีย: Kepulauan Bangka Belitung) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสุมาตราใต้ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเกาะหลักสองแห่ง ได้แก่ เกาะบังกา และเกาะเบอลีตุง ซึ่งคั่นด้วยช่องแคบกัสปาร์ จังหวัดนี้ถูกแยกจากเกาะสุมาตราโดยช่องแคบบังกา จังหวัดนี้ติดกับทะเลนาตูนาทางทิศเหนือ ติดกับทะเลชวาทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบการีมาตาทางทิศตะวันออก และติดกับจังหวัดสุมาตราใต้ทางทิศตะวันตก เมืองหลักคือปังกัลปีนัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการปกครอง เมืองอื่น ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ซุงไกลีอัต ตันจงปันดัน และมังการ์ สำหรับในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหมู่เกาะเรียว · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

หลักข้อเชื่อของอัครทูต

หลักข้อเชื่อของอัครทูต, คริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย (Symbolum Apostolorum/Symbolum Apostolicum;Apostle’s creed) หรือ “หลักข้อเชื่อของอัครธรรมทูต” บางครั้งเรียกว่า “สัญลักษณ์ของอัครทูต” ชาวคาทอลิกเรียกว่า "บทข้าพเจ้าเชื่อ" เป็นคำแถลงเกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ยุคแรก ซึ่งคำแถลงลักษณะนี้เรียกว่า creed (หลักข้อเชื่อ) หรือ symbol (สัญลักษณ์) หลักข้อเชื่อนี้มีปรากฏใช้ในหลายนิกายทั้งในพิธีกรรมและตำราคำสอน และมักพบมากที่สุดในคริสตจักรตะวันตกที่เน้นพิธีกรรม คือคริสตจักรละติน ลูเทอแรน แองกลิคัน และออทอร์ดอกซ์ตะวันตก ตลอดจนเพรสไบทีเรียน เมทอดิสต์ และคริสตจักรคองกริเกชันแนล หลักข้อเชื่อของอัครทูตเป็นข้อความเชื่อที่อิงกับแนวคิดทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ จดหมายต่าง ๆ ในพันธสัญญาใหม่ และบางส่วนจากพันธสัญญาเดิม หลักข้อเชื่อนี้น่าจะมีต้นกำเนิดมาจากหลักข้อเชื่อโรมัน เพราะในเนื้อหาไม่ได้กล่าวถึงหรือแก้ปัญหาประเด็นปัญหาทางคริสตวิทยาดังที่ปรากฏในหลักข้อเชื่อไนซีนและหลักข้อเชื่ออื่น ๆ ของคริสตชนที่เกิดขึ้นในยุคหลัง เช่น ปัญหาความเป็นพระเจ้าของพระเยซูหรือพระวิญญาณบริสุทธิ์ ชาวคริสต์ยุคแรก ๆ ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตอย่างลัทธิเอเรียสและลัทธิเอกภาพนิยมจึงยอมรับหลักข้อเชื่อนี้ด้วย ชื่อ “หลักข้อเชื่อของอัครทูต” อาจจะเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ตามความเชื่อของคริสตชนที่ว่าอัครทูตทั้งสิบสองคนเป็นผู้แต่งข้อต่าง ๆ ขึ้นมาด้วยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์หลังจากเทศกาลเพนเทคอสต์ แต่ยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใดยืนยันได้ว่าความเชื่อนี้เป็นเรื่องจริงMcGrath, Alister E., Christian Theology: An Introduction", Singapore: Blackwell Publisher, 2007, p. 14.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหลักข้อเชื่อของอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

หลักข้อเชื่อไนซีน

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และเหล่ามุขนายกสมาชิกสภาสังคายนาถือคำประกาศหลักข้อเชื่อไนซีน หลักข้อเชื่อไนซีนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 177 (Nicene Creed; Symbolum Nicaenum) คือการประกาศศรัทธาและหลักข้อเชื่อที่ถูกใช้มากที่สุดในพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์ และเป็นบรรทัดฐานความเชื่อในคริสต์ศาสนากระแสหลักในปัจจุบัน แม้หลักข้อเชื่อฉบับนี้จะถูกเรียบเรียงขึ้นโดยสภาสังคายนาคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่หนึ่งเมื่อปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหลักข้อเชื่อไนซีน · ดูเพิ่มเติม »

หง ซิ่วเฉฺวียน

ประติมากรรมรูปหง ซิ่วเฉฺวียน ที่หนานจิงในปัจจุบัน หง ซิ่วเฉฺวียน ผู้นำกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว (太平天國運動) เกิดในครอบครัวชาวนาเชื้อสายจีนแคะ ในหมู่บ้านกวนลู่ผู่ อำเภอฮัวเสี้ยน มณฑลกวางตุ้ง เมื่อปี พ.ศ. 2356 ตรงกับรัชกาลที่ 2 ของไทย ปีระกา หง ซิ่วเฉฺวียนได้ศึกษาตำราขงจื๊อ เพื่อสอบเข้ารับราชการเช่นเดียวกับชายหนุ่มทั่วไปในสมัยนั้น และสอบไล่เป็น ซิ่วไฉ (บัณฑิตระดับต้น) ที่เมืองกวางเจาถึงสามครั้ง ก็ไม่ผ่าน ในการไปสอบ ซิ่วไฉครั้งที่สอง หง ซิ่วเฉฺวียนได้พบกับนักสอนศาสนาชาวตะวันตก และได้รับแจกหนังสือภาษาจีนอธิบายเกี่ยวกับศาสนาคริสต์จากนักสอนศาสนาผู้นั้นมาเล่มหนึ่ง หนังสือนั้นชื่อว่า "สุนทรกถาเพื่อปลุกเร้ายุคสมัย" เขียนโดยชาวจีนชื่อ เหลียง อาฝา เหลียง อาฝาเป็นผู้ช่วยของ โรเบิร์ต มอริสัน มิชชันนารีชาวอังกฤษ ผู้เดินทางมาเผยแพร่นิกายโปรเตสแทนท์ในประเทศจีนเป็นคนแรก หนังสือเล่มนี้ยังไม่มีอิทธิพลต่อหง ซิ่วเฉฺวียน จนเมื่อสอบตกเป็นครั้งที่สาม หง ซิ่วเฉฺวียนล้มป่วยหนักเจียนตายอยู่ 40 วัน ระหว่างป่วยเกิดนิมิตว่า ถูกนำไปยังสถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่ง มีแสงสว่างจ้า เขาถูกเปลี่ยนอวัยวะภายใน แล้วถูกนำไปพบกับ ผู้เฒ่าสวมเสื้อคลุมดำ ผู้เฒ่ามอบดาบวิเศษให้เขาเพื่อประหารปีศาจร้ายให้หมดสิ้น และผู้เฒ่านั้นได้ด่าบริภาษขงจื๊อมากมาย ซึ่งเมื่อหายป่วยแล้วหง ซิ่วเฉฺวียนเชื่อว่า ผู้เฒ่านั้นคือพระเจ้าและตัวเขาเองเป็นพระอนุชาของพระเจ้า เป็นพระเชษฐาของพระเยซูคริสต์ และพระผู้เป็นเจ้าได้มอบหมายให้เขากำจัดปีศาจร้ายให้หมด นั่นคือ ราชวงศ์ชิงนั่นเอง หลังจากนั้น หง ซิ่วเฉฺวียนก็ได้เปลี่ยนไปเป็นคนละคน มีคุณลักษณะของผู้นำมากขึ้น เขาหันมาสนใจหนังสือ "สุนทรกถาเพื่อปลุกเร้ายุคสมัย" ของเหลียง อาฝา จนในที่สุด เขาก็สร้างลัทธิความเชื่อแบบของเขาขึ้นมาชุดหนึ่ง ทำการเผยแพร่จนมีผู้คนเชื่อถือตามมากขึ้นเรื่อย ๆ หง ซิ่วเฉฺวียนสร้างลัทธิของเขาว่า พระผู้เป็นเจ้าส่งเขาลงมาโลกมนุษย์พร้อมด้วยดาบเพื่อสังหารปีศาจร้าย คริสต์ศาสนาแต่เดิมเป็นคำสอนทางศาสนาของชาวจีน เคยแพร่หลายมาก่อนลัทธิขงจื๊อ อาณาจักรจีนเดิมเป็นที่ประทับของพระผู้เป็นเจ้า หากแต่ปัจจุบันพวกปีศาจร้ายเข้ามาครองครอง พระผู้เป็นเจ้ามีประกาศิตให้หง ซิ่วเฉฺวียนมาปราบปีศาจร้าย โดยจุดสำคัญคือเรื่องความเสมอภาค ภราดรภาพ ตามอุดมคติของคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นแนวความคิดใหม่ที่โดนใจทาสกสิกรที่ถูกศักดินากดขี่ขูดรีดอย่างทารุณ หง ซิ่วเฉฺวียนไปเผยแพร่ลัทธิในเขตชาวจีนแคะที่ลำบากยากจนตามภูเขาในมณฑลกวางสี และได้สหายร่วมอุดมการณ์สำคัญสี่คนซึ่งก็ล้วนเป็นคนจีนแคะทั้งสิ้น คือ หยาง ซิ่วชิง-คนเผาถ่าน, เซียว เฉากุ้ย-คนตัดฟืน, ซือ ต๋าไค-หนุ่มลูกชายเจ้าที่ดิน และวุ่ย จางฮุย-เจ้าที่ดินและนายทุนเงินกู้ ผู้ออกทุนในการเตรียการลุกขึ้นสู้ถึงหนึ่งแสนตำลึง ทั้งสี่คนนี้ภายหลังเป็นแม่ทัพคนสำคัญของกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว หง ซิ่วเฉฺวียนตระเตรียมฐานที่มั่นของกองทัพไว้แถบภูเขาจื่อจิงซาน มีกำลังพลนับหมื่นคน ทางราชสำนักแมนจูจึงส่งกองทัพไปปราบในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2393 แต่ก็พ่ายแพ้ และในครั้งนี้มีชนพื้นเมือง เช่น ชาวจ้วง, ชาวม้ง ร่วมกบฏด้วย กองกำลังสมาคมบูชาพระเจ้า (ไป้ส้างตี้หุ้ย) ของหง ซิ่วเฉฺวียนรบชนะกองทัพหลวง ก็เลยประกาศสถาปนา "ไท่ผิงเทียนกั๋ว" (太平天国) (เมืองแมนแดนสันติ) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ไท่ผิง" (太平) ซึ่งเป็นสิ่งที่อยู่ในอุดมคติ หง ซิ่วเฉฺวียนสถาปนาตัวเองเป็น "เทียนหวาง "(ราชาแห่งสวรรค์) ประกาศยกเลิกประเพณีเก่า ๆ ที่เป็นการลิดรอนสิทธิมนุษยชนและขัดต่อศาสนาคริสต์ เช่น การรัดเท้าผู้หญิง,การมีโสเภณี, การสูบฝิ่น, การกราบไหว้บูชารูปเคารพ เป็นต้น รวมถึงให้มีการสอบจอหงวน ซึ่งได้ผู้ชนะเลิศเป็นจอหงวนหญิงคนเดียวในประวัติศาสตร์จีน คือ ฟู่ ซ่านเสียง และได้ยกพลสามหมื่นบุกเข้าโจมตีเมืองต่าง ๆ แถบกวางสีและกวางตุ้ง ได้รับชัยชนะยึดได้เมืองต่าง ๆ มากขึ้น จนกระทั่งสามารถตีนครหนานจิง ตั้งเป็นเมืองหลวงใช้ชื่อว่า "เทียนจิง" (เมืองสวรรค์) ตั้งสหายร่วมรบคนอื่น ๆ เป็น "หวาง" (อ๋อง) มากมายหลายคน แล้วหง ซิ่วเฉฺวียนก็วางมือ ไม่ค่อยยุ่งกับการบริหารดูแลบ้านเมือง ปล่อยให้หวางคนอื่น ๆ รับหน้าที่บริหาร ซึ่งเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้กบฏไท่ผิงต้องล้มสลายในที่สุด เนื่องจากบรรดาหวางทั้งหลายชิงดีชิงเด่นกัน ต่างคนก็พยายามช่วงชิงผลประโยชน์ส่วนตัวให้ได้มากที่สุดและหนักสุดถึงขนาดฆ่ากันเอง ในขณะที่ตัวผู้นำคือ หง ซิ่วเฉฺวียน ก็ได้วางมือเร็วไปก่อนเวลา ท้ายสุดในปี พ.ศ. 2407 กบฏไท่ผิงก็ถึงจุดล่มสลายเมื่อพ่ายแพ้อย่างราบคาบต่อราชสำนักที่ผสมกำลังปราบปรามร่วมกับกำลังของชาติตะวันตกที่มีผลประโยชน์กับจีน เช่น อังกฤษ, ฝรั่งเศส และหง ซิ่วเฉฺวียน ได้ฆ่าตัวตาย เมื่อ พ.ศ. 2407 มีกบฏล้มตายเป็นจำนวนถึง 30 ล้านคน ในช่วงปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และหง ซิ่วเฉฺวียน · ดูเพิ่มเติม »

อลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง

อลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง (Elizabeth: The Golden Age) เป็นภาคต่อของ อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด (Elizabeth) นำแสดงโดย เคต แบลนเชตต์, ไคลฟ์ โอเวน, เจฟฟรีย์ รัช ร่วมด้วย ซาแมนธา มอร์ตัน กำกับการแสดงโดย เชคการ์ คาปูร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ออกัสตินแห่งฮิปโป

นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป (Augustine of Hippo) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และออกัสตินแห่งฮิปโป · ดูเพิ่มเติม »

ออตโต บรุนเฟลส์

ออตโต บรุนเฟลส์ (Otto Brunfels; ค.ศ. 1488 – 23 ธันวาคม ค.ศ. 1534) เป็นนักเทววิทยาและนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน เขาเรียนจบด้านเทววิทยาและปรัชญาจากมหาวิทยาลัยไมนซ์ และเข้าร่วมกับคณะคาร์ทูเซียน ขณะทำงานอยู่ที่เมืองสทราซบูร์ บรุนเฟลส์ได้พบกับนิโคเลาส์ เจอร์เบล (Nikolaus Gerbel) ซึ่งจุดประกายความสนใจในเรื่องพืชให้แก่เขา ต่อมาบรุนเฟลส์ได้เปลี่ยนไปนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ และเป็นศาสนาจารย์ที่ชไตเนาอันแดร์ชตราเซอ (Steinau an der Straße) ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และออตโต บรุนเฟลส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัญชลี จงคดีกิจ

อัญชลี จงคดีกิจ (ปุ๊) เกิดวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 นักร้องหญิง ที่เริ่มจากการเล่นดนตรี ในตำแหน่งต่างๆ ของหลายวง และมีผลงานเดินแบบ และผลงานการแสดง จนกระทั่งมาโด่งดังกับอัลบั้ม หนึ่งเดียวคนนี้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอัญชลี จงคดีกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อัสกอนา

อัสกอนา (Ascona) เป็นเทศบาลในรัฐตีชีโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมืองแห่งนี้ตั้งอยู่ริมทะเลสาบมัจโจเร บริเวณพรมแดนติดกับประเทศอิตาลี เมืองแห่งนี้มีเทศกาลดนตรีแจ๊สที่มีชื่อเสียง โดยจัดขึ้นราวปลายเดือนมิถุนายนของทุกปี ประชากร 66% นับถือนิกายโรมันคาทอลิก รองลงมา 16.8% นับถือโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอัสกอนา · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูตสวรรค์

อัครทูตสวรรค์ทั้งสามในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก อัครทูตสวรรค์ (Archangel) ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ หัวหน้าทูตสวรรค์ ในนิกายโปรเตสแตนต์ หมายถึงทูตสวรรค์ระดับสูง มีที่มาจากคำในภาษากรีก αρχάγγελος (arch- + angel) พบในความเชื่อของหลายศาสนาทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ส่วนมากถือเหมือนกันว่า อัครทูตสวรรค์ประกอบด้วย มีคาเอล และ กาเบรียล ส่วนหนังสือโทบิตได้นับรวม ราฟาเอล เป็นอัครทูตสวรรค์ด้วย แต่หนังสือเล่มนี้เป็นที่ยอมรับเข้าในสารบบคัมภีร์ไบเบิลเฉพาะในคริสตจักรโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์เท่านั้น ส่วนคริสตจักรในนิกายโปรเตสแตนต์ไม่ยอมรับ ชาวโรมันคาทอลิกนิยมฉลองอัครทูตสวรรค์ทั้งมีคาเอล, กาเบรียล และราฟาเอล ในวันที่ 29 กันยายน (ในอดีตวันฉลองทูตสวรรค์กาเบรียลเป็นวันที่ 24 มีนาคม และฉลองทูตสวรรค์ราฟาเอลในวันที่ 24 ตุลาคม) อัครทูตสวรรค์ที่เป็นที่รู้จักในศาสนาอิสลาม คือ กาเบรียล, มีคาเอล, ราฟาเอล และอิสรออีล ส่วนจารีตอื่น ๆ ถือว่าอัครทูตสวรรค์มี 7 องค์ โดยนามจะแตกต่างกันไปตามแหล่งที่ม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอัครทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากพรรคนาซีเริ่มมีอำนาจ ต่อมาเมื่อกองทัพนาซีเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ พร้อมกับออกมาตรการควบคุมชาวยิวจำนวนมาก เธอและครอบครัวกับผู้อื่นอีก 4 คนจึงต้องไปหลบซ่อนตัวอยู่ในอาคารสำนักงานในกรุงอัมสเตอร์ดัมของออทโท ฟรังค์ ผู้เป็นบิดาในห้องลับบนหลังคาตั้งแต่ พ.ศ. 2485 จนถูกหักหลังและถูกนาซีจับเข้าค่ายกักกันในปี พ.ศ. 2487 อันเนอ ฟรังค์เสียชีวิตด้วยโรคไข้รากสาดใหญ่ในเวลาใกล้เคียงกับพี่สาวในค่ายกักกันแบร์เกิน-เบลเซินประมาณเดือนกุมภาพันธ์ หรือมีนาคม พ.ศ. 2488 สมาชิกตระกูลฟรังค์มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียว คือออทโทผู้เป็นพ่อ เขากลับมาอัมสเตอร์ดัมหลังสงครามสิ้นสุดและได้พบสมุดบันทึกของเธอที่เพื่อนเก็บรักษาไว้ให้ จึงพยายามนำออกตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2490 ใช้ชื่อหนังสือว่า "Het Achterhuis" หลังจากนั้นมีการแปลจากต้นฉบับภาษาดัตช์ออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย ฉบับภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า "The Diary of a Young Girl" ส่วนฉบับแปลภาษาไทยใช้ชื่อว่า "บันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์" อันเนอ ฟรังค์ได้รับสมุดบันทึกเป็นของขวัญวันเกิดครบ 13 ขวบ เธอเริ่มเขียนบันทึกตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2485 และสิ้นสุดในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 บันทึกได้รับการแปลจากภาษาดัตช์ออกเป็นภาษาต่าง ๆ มากมายและกลายเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่มีผู้อ่านมากที่สุดในโลก นอกจากภาพยนตร์แล้วยังมีการนำเรื่องราวไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชุดโทรทัศน์ ละครเวที และแม้แต่อุปรากร งานบันทึกของอันเนอ ฟรังค์ถือว่าเป็นการเขียนงานอย่างผู้ใหญ่เต็มตัวและเต็มไปด้วยความช่างคิด แสดงให้เห็นชีวิตประจำวันที่แท้จริงภายใต้อำนาจพวกนาซี เป็นการพรรณนาถึงเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โด่งดังที่สุด อันเนอ ฟรังค์ ได้รับเลือกจากนิตยสารไทมส์ให้เป็น 1 ใน 100 บุคคลสำคัญแห่งศตวรรษที่ 20 และกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้เพื่อเกียรติภูมิของมนุษ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอันเนอ ฟรังค์ · ดูเพิ่มเติม »

อามีร์ ซารีฟุดดิน

อามีร์ ซารีฟุดดิน (Amir Sjarifuddin) เป็นนักชาตินิยมอินโดนีเซียผู้ก่อตั้งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย และเป็นนายกรัฐมนตรีระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอามีร์ ซารีฟุดดิน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาดาสเปน

วามพ่ายแพ้ของสเปนที่สมรภูมิแห่งกราเวแลงส์ กองเรืออาร์มาดา เกิดขึ้นในยุคสมัยของพระเจ้าเฟลิเปที่ 2 แห่งสเปน โดยเป็นกองเรือที่ถูกเรียกว่าแข็งแกร่งที่สุดเก่งที่สุด ถูกสร้างขึ้นเพื่อเตรียมบุกชิงราชบัลลังก์อังกฤษเนื่องจากพระเจ้าฟิลิปเปที่ 2 ผู้เป็นคริสเตียนนิกายโรมันคาทอลิก ทรงเห็นว่าสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 ผู้ปกครองอังกฤษในขณะนั้น ซึ่งพระนางทรงเป็นคริสเตียนนิกายโปรเตสแตนต์ ไม่คู่ควรกับราชบัลลังก์อังกฤษที่สมควรจะมีไว้สำหรับเชื้อพระวงศ์ที่เป็นโรมันคาทอลิกเท่านั้น แต่เหตุผลที่พระเจ้าฟิลิปเปนำมาอ้างก็คือโจรสลัดอังกฤษปล้นเรือสินค้าของสเปนหลายครั้ง ทำใหสเปนต้องทำการตอบโค้อังกฤษ ในการนี้กองเรืออาร์มาดาได้ยกพลไปบุกอังกฤษถึงสองครังแต่ก็พ่ายแพ่ทั้งสองครั้ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาร์มาดาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญงปาปาซี

พระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง อาวีญงปาปาซี (Avignon Papacy) หรือ สมณสมัยอาวีญง คือช่วงเวลาที่พระสันตะปาปา 7 พระองค์ประทับ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทนการประทับที่กรุงโรมตามปกติ สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างองค์พระสันตะปาปากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ภายหลังจากความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 กับพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 ผู้สืบทอดตำแหน่งสมเด็จพระสันตะปาปาต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 และดำรงสมณศักดิ์ได้เพียง 8 เดือน การประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาให้อาร์ชบิชอปแบร์ทร็อง ชาวฝรั่งเศส ขึ้นดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์ใหม่ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาวีญงปาปาซี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกาวายง

อาสนวิหารกาวายง (Cathédrale de Cavaillon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Véran de Cavaillon) เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาวายงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 จนปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่เมืองกาวายง จังหวัดโวกลูซ ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Saint Véran de Cavaillon) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารกาวายง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมงเปอลีเย

อาสนวิหารมงเปอลีเย (Cathédrale de Montpellier) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งมงเปอลีเย (Cathédrale Saint-Pierre de Montpellier) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่วิหารประจำอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลมงเปอลีเย ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองมงเปอลีเย จังหวัดเอโร แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตสำคัญคือนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่ในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกที่ใหญ่โตที่สุดในเมืองมงเปอลีเย และเป็นอาสนวิหารที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคล็องก์ด็อก-รูซียงอีกด้วย อาสนวิหารมงเปอลีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารมงเปอลีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารลียง

อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟนแห่งลียง (La Primatiale Saint-Jean-Baptiste-et-Saint-Étienne) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์น (Cathédrale Saint-Jean) และ อาสนวิหารลียง (Cathédrale de Lyon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่อยู่ในระดับสูงกว่าอาสนวิหารทั่วไปหรือที่เรียกว่า primatial cathedral เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลลียง โดยตามตำแหน่งแล้ว อัครมุขนายกแห่งลียงยังรั้งตำแหน่งผู้นำแห่งชาวกอลทั้งปวง (Primat des Gaules) อีกด้วย อาสนวิหารตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองลียง จังหวัดโรน แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่สองอัครทูตสำคัญ คือนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟน โดยแต่แรกอาสนวิหารนี้ตั้งใจสร้างเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญสเทเฟน และให้เกียรติแก่ผู้ให้ศีลล้างบาปแก่พระองค์ด้วย นั่นคือนักบุญยอห์น จึงเป็นที่มาของชื่อทั้งสองของอาสนวิหารแห่งนี้ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารลียง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ็องกูแลม

อาสนวิหารอ็องกูแลม (Cathédrale d'Angoulême) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งอ็องกูแลม (Cathédrale Saint-Pierre d'Angoulême) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ประจำมุขมณฑลอ็องกูแลม ตั้งอยู่ที่เมืองอ็องกูแลม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมาเนสก์ อาสนวิหารอ็องกูแลมซึ่งเป็นอาสนวิหารตัวอย่างโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ได้รับการสถาปนาเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ. 1017.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารอ็องกูแลม · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูร์

อาสนวิหารตูร์ (Cathédrale de Tours) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกาเซียงแห่งตูร์ (Cathédrale Saint-Gatien de Tours) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลตูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองตูร์ จังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญกาเซียงแห่งตูร์ อดีตมุขนายกผู้ก่อตั้งมุขมณฑลตูร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 อาสนวิหารแห่งตูร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารนักบุญเปาโล

“อาสนวิหารนักบุญเปาโลเดิม” ก่อน ค.ศ. 1561 ที่ยังมีมณฑป อาสนวิหารนักบุญเปาโล (St Paul's Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ และเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งบิชอปแห่งลอนดอน สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่นักบุญเปาโลอัครทูต ตั้งอยู่ในนครลอนดอน ประเทศอังกฤษ อาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเชื่อกันว่าเป็นอาสนวิหารที่ 5 ตั้งแต่สร้างอาสนวิหารกันมา ณ ที่ตั้งนี้แต่อาจจะสูงกว่านั้นถ้านับการบูรณะเข้าไปด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารนักบุญเปาโล · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแล็สการ์

อาสนวิหารแล็สการ์ (Cathédrale de Lescar) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งแล็สการ์ (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Lescar) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแล็สการ์ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลบายอนและมุขมณฑลอาแฌ็งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองแล็สการ์ จังหวัดปีเรเน-อัตล็องติก แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารแล็สการ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์

้านหน้าของอาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์ อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์แห่งเจนีวา (Cathédrale Saint-Pierre de Genève) เป็นอาสนวิหารนิกายโปรเตสแตนต์ประจำนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สร้างขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งต์

อาสนวิหารแซ็งต์ (Cathédrale de Saintes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็งต์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saintes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในฐานะของอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) ประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแซ็งต์ จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของมุขมณฑลแซ็งตงฌ์จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1802 ถูกยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลลารอแชล จึงได้ถูกลดฐานะเป็นเพียงแค่โบสถ์ประจำเขต ซึ่งต่อมาได้ถูกยกฐานะอีกครั้งเป็นอาสนวิหารร่วมประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 เมื่อ 22 มกราคม ค.ศ. 1852 อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์แซ็งต์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1862 และบริเวณวิหารคดได้รับการขึ้นทะเบียนเมื่อ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1937.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารแซ็งต์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารโลซาน

อาสนวิหารโลซาน อาสนวิหารโลซาน (Cathédrale de Lausanne) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งโลซาน (Cathédrale Notre-Dame de Lausanne) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ระดับอาสนวิหารประจำเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อาสนวิหารแห่งนี้เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารโลซาน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเวียน

อาสนวิหารเวียน (Cathédrale de Vienne) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารนักบุญมอริซแห่งเวียน (Cathédrale Saint-Maurice de Vienne) ปัจจุบันเป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหาร ที่ตั้งอยู่ที่เมืองเวียน ในจังหวัดอีแซร์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารเวียนเป็นอาสนวิหารที่อุทิศแด่นักบุญมอริซ เดิมอาสนวิหารเป็นที่ทำการของบิชอปของมุขมณฑลเวียน และต่อมาของอัครมุขมณฑลเวียน และภายหลังถูกยุบไปตามข้อตกลง ค.ศ. 1801 ระหว่างจักรพรรดินโปเลียนกับสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 โดยไปเพิ่มตำแหน่งของบิชอปแห่งลียงให้เป็นบิชอปแห่งลียง-เวียน (ค.ศ. 1822–2006) และตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารเวียน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเซอแนซ

อาสนวิหารเซอแนซ (Cathédrale de Senez) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งเซอแนซ (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Assomption de Senez) ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริช นิกายโรมันคาทอลิก ในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลเซอแนซซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลดีญตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองเซอแนซ จังหวัดอาลป์-เดอ-โอต-พรอว็องส์ ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่พระแม่มารีรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาสนวิหารเซอแนซ · ดูเพิ่มเติม »

อาเรา

อาเรา (Aarau) เป็นเมืองหลวงของรัฐอาร์เกาซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของสวิตเซอร์แลนด์ เป็นเมืองที่ประชากรพูดภาษาเยอรมันและผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เป็นหลัก อาเราตั้งอยู่บนที่ราบสูงสวิส ทางตอนใต้ติดกับภูเขาจูราBridgwater, W. & Beatrice Aldrich.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาเรา · ดูเพิ่มเติม »

อาเดลโบเดิน

อาเดลโบเดิน (Adelboden) เป็นหมู่บ้านบนภูเขาในรัฐแบร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หมู่บ้านนี้ตั้งอยู่ทางตะวันตกของที่ราบสูงแบร์น ที่ระดับความสูง 1,350 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล หมู่บ้านมีประชากรราว 3,500 คน ประชากรร้อยละ 66 นับถือโปรเตสแตนต์ รองลงมาร้อยละ 32 นับถือคาทอลิก ภาคเศรษฐกิจหลักของหมู่บ้านได้แก่การท่องเที่ยว, น้ำแร่บรรจุขวด, งานไม้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอาเดลโบเดิน · ดูเพิ่มเติม »

อูเกอโนต์

อูเกอโนต์ (huguenots) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาของคริสเตียน (โปรเตสแตนต์) ฝรั่งเศสผู้นับถือขนบปฏิรูป คำนี้ใช้เรียกสมาชิกคริสตจักรปฏิรูปแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 ถึงประมาณปี 1800 คำนี้มีจุดกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส อูเกอโนต์เป็นคริสเตียนฝรั่งเศสซึ่งมาจากทางเหนือของประเทศฝรั่งเศสเป็นหลัก ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากงานเขียนของนักเทววิทยาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 และผู้สนับสนุนขนบปฏิรูปของนิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งขัดกับประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเยอรมันนับถือนิกายลูเทอแรนในอาลซัส มอแซลและมงเบลียาร์ ฮันส์ ฮิลเลอร์แบรนด์ (Hans Hillerbrand) ในสารานุกรมนิกายโปรเตสแตนต์อ้างว่าชุมชนอูเกอโนต์มีประชากรมากถึงร้อยละ 10 ของประชากรฝรั่งเศสในวันก่อนการสังหารหมู่วันนักบุญบาร์โทโลมิว โดยลดลงเหลือร้อยละ 7–8 เมื่อประมาณปี 1600 และยิ่งลดลงหลังการเบียดเบียนอย่างหนักซึ่งเริ่มต้นอีกหลังพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบลโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จำนวนของอูเกอโนต์สูงสุดประมาณเกือบสองล้านคนในปี 1562 โดยส่วนใหญ่กระจุกอยู่ส่วนใต้และตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เมื่ออูเกอโนต์มีอิทธิพลและแสดงออกซึ่งศรัทธาของพวกตนอย่างเปิดเผยมากขึ้น ความเป็นปรปักษ์ของคาทอลิกก็เติบโตขึ้นด้วย แม้มีการผ่อนปรนทางการเมืองและพระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนาจากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส มีความขัดแย้งทางศาสนาหลายครั้งตามมา เรียก สงครามศาสนาฝรั่งเศส ซึ่งสู้รบกันเป็นพัก ๆ ตั้งแต่ปี 1562 ถึง 1598 อูเกอโนต์มีแฌน ดาเบร (Jeanne d'Albret) และพระราชโอรส อนาคตพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และเจ้ากองเด สงครามยุติด้วยพระราชกฤษฎีกานองซ์ ซึ่งให้อัตตาณัติศาสนา การเมืองและทหารพอสมควรแก่อูเกอโนต์ กบฏอูเกอโนต์ในคริสต์ทศวรรษ 1620 ทำให้มีการเลิกเอกสิทธิ์ทางการเมืองและทางทหารของพวกเขา พวกเขายังคงไว้ซึ่งบทบัญญัติทางศาสนาของพระราชกฤษฎีกานองซ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ค่อย ๆ เพิ่มการเบียดเบียนอูเกอโนต์จนทรงตราพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (ปี 1685) ยุติการรับรองนิกายโปรเตสแตนต์ใด ๆ ตามกฎหมายในประเทศฝรั่งเศสและบีบให้อูเกอโนต์เข้ารีตหรือหลบหนีในระลอกดราโกนาเดอ (dragonnades) รุนแรง พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทำให้ประชากรอูเกอโนต์ฝรั่งเศส 800,000 ถึง 900,000 คนลดเหลือ 1,000 ถึง 1,500 คน กระนั้น อูเกอโนต์จำนวนเล็กน้อยยังเหลือรอดและเผชิญการเบียดเบียนต่อเนื่องมาถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เสด็จสวรรคตในปี 1774 ลัทธิคาลวินในฝรั่งเศสเกือบสูญสิ้นทั้งหมด การเบียดเบียนคริสเตียนยุติลงอย่างเป็นทางการด้วยพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (พระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนา) ซึ่งพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงลงพระปรมาภิไธยในปี 1787 สองปีให้หลัง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองปี 1789 ให้คริสเตียนได้รับสิทธิเท่าเทียมเป็นพลเมืองAston, Religion and Revolution in France, 1780–1804 (2000) pp 245–50 ผู้อพยพอูเกอโนต์จำนวนมากอพยพไปยังรัฐโปรเตสแตนต์อย่างอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์ สาธารณรัฐดัตช์ รัฐผู้คัดเลือกบรันเดนบูร์กและรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ดัชชีปรัสเซีย หมู่เกาะแชนเนล ตลอดจนไอร์แลนด์ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกแต่โปรเตสแตนต์ควบคุม พวกเขายังแพร่ไปยังอาณานิคมแหลมดัตช์ในแอฟริกาใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกดัตช์ แคริบเบียน นิวเนเธอร์แลนด์และอาณานิคมอังกฤษหลายแห่งในทวีปอเมริกาเหนือ ครอบครัวจำนวนน้อยไปยังรัสเซียที่นับถือออร์โธด็อกซ์และควิเบกที่นับถือคาทอลิก ปัจจุบัน อูเกอโนต์ส่วนใหญ่กลืนเข้าสู่สังคมและวัฒนธรรมต่าง ๆ แต่ชุมชนหลงเหลือกามีซาร์ (Camisards) ในเทือกเขาซีเวน (Cévennes) สมาชิกของคริสตจักรโปรเตสแตนต์รวมฝรั่งเศส สมาชิกฝรั่งเศสของคริสตจักรปฏิรูปโปรเตสแตนต์อาลซัสและลอแรนซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยอรมัน ตลอดจนกลุ่มอูเกอโนต์ในประเทศอังกฤษและออสเตรเลียยังคงความเชื่อของพวกตนและการเรียกชื่ออูเกอโนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอูเกอโนต์ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อโดนิรัม จัดสัน

อโดนิรัม จัดสัน (Adoniram Judson) และแนนซี จัดสัน เป็นมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ชาวอเมริกันกลุ่มแรมที่ไปรับใช้ต่างแดงถึงแม้จะพบอุปสรรคแต่พวกเขาไม่เคยยกเลิกงานที่ยิ่งใหญ่ของพระเจ้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และอโดนิรัม จัดสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิลลารี คลินตัน

ลลารี ไดแอน ร็อดแดม คลินตัน เกิดวันที่ 26 ตุลาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฮิลลารี คลินตัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮุลดริช ซวิงลี

ลดริช ซวิงลี ฮุลดริช ซวิงลี (Huldrych Zwingli; 1 มกราคม ค.ศ. 1484 – 11 ตุลาคม ค.ศ. 1531) หรือ อุลริช ซวิงลี (Ulrich Zwingli) เป็นศิษยาภิบาลและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ชาวสวิส และเป็นผู้นำในการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฮุลดริช ซวิงลี · ดูเพิ่มเติม »

ฌอน คอนเนอรี

อน คอนเนอรี่ ในงานเทศกาลของชาวสกอตแลนด์ ที่จัดในกรุงวอชิงตันดีซี ฌอน คอนเนอรี่ ในสมัยรับบทเจมส์ บอนด์ ฌอน คอนเนอรี่ (Sean Connery) มีชื่อจริงว่า โธมัส ฌอน คอนเนอรี่ (Thomas Sean Connery) เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1930 ที่เมืองเอดินเบอระ แคว้นสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร บิดาชื่อว่า โจเซฟ คอนเนอรี่ (Joseph Connery) นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ในขณะที่มารดา อูฟาเมีย แม็คลีน (Euphamia Maclean) นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ เขาเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกในค.ศ. 1954 แต่รับบทเป็นเพียงตัวประกอบเล็กๆ ไม่มีบทบาทสำคัญใดๆ ในภาพยนตร์เรื่อง Lilacs in the Spring การรับบทตัวละครสำคัญๆครั้งแรกของฌอน คือใน ค.ศ. 1957 นับเป็นการก้าวสู่วงการบันเทิงอย่างเต็มตัว และไม่นานก็สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนได้อย่างรวดเร็ว ต่อมา ค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็น (EON Productions) จะทำภาพยนตร์ชุดบอนด์เดอะซีรีส์ โดยสร้างภาพยนตร์จากนวนิยายสายลับของ เอียน เฟลมมิ่ง เขาจึงได้รับคัดเลือกเป็นผู้รับบทเจมส์ บอนด์คนแรก และเริ่มแสดงภาพยนตร์ชุดบอนด์ โดยภาพยนตร์ชุดบอนด์ตอนแรกได้ออกฉายเป็นครั้งแรกในค.ศ. 1962 ชื่อตอนคือ Dr. No หรือชื่อภาษาไทยว่า พยัคฆ์ร้าย 007 ด้วยทุน 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กวาดรายได้ถล่มทลายถึง 59,600,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเมื่อเทียบเป็นค่าของเงินในค.ศ. 2008 แล้วจะได้ถึง 425,488,741 ดอลลาร์สหรัฐ เขาและอีโอเอ็นจึงเดินหน้าถ่ายทำตอนถัดๆไปเรื่อยๆ ถึง 5 ตอน จอร์จ ลาเซนบี้ ก็เข้ามารับบทเป็นเจมส์ บอนด์แทน แต่เขาไม่สามารถชนะใจแฟนๆภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ได้ ฌอน คอนเนอรี่ จึงต้องกลับมารับบทเจมส์บอนด์อีกตอนหนึ่ง คือ Diamonds Are Forever หรือ เพชรพยัคฆราช และเป็นตอนสุดท้ายที่เขาแสดงให้ค่ายอีโอเอ็น แต่ต่อมาเขาก็มาแสดงบทเจมส์ บอนด์ในภาพยนตร์อีกค่ายหนึ่งที่ไม่ใช่ค่ายอีโอเอ็นอีกในค.ศ. 1983 ชื่อว่าตอน Never Say Never Again หรือ พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ และเขายังแสดงภาพยนตร์อยู่เรื่อยๆมาอีกหลายสิบปี โดยก่อนหน้าที่จะมารับบทเจมส์ บอนด์ นั้น คอนเนอรี่เป็นเพียงนักแสดงตัวประกอบโนเนมคนหนึ่งเท่านั้นเอง ซ้ำยังมีอาชีพเสริมคือรับจ้างส่งนมขวดตามบ้านอีกด้วย อีกทั้งยังไม่มีบุคลิกของเจมส์ บอนด์ ตามทรรศนะของเอียน เฟลมมิ่ง เจ้าของบทประพันธ์อีกต่างหาก แต่เมื่อเขาได้รับการคัดเลือกให้มาทดสอบบท โดยเดินเข้ามาและหยิบบุหรี่ที่วางอยู่บนโต๊ะคาบใส่ปากแล้วพูดประโยคอมตะว่า " Bond, James Bond " เขาก็ได้รับบทนี้จาก อัลเบิร์ต อาร์. บรอลโคลี่ ผู้อำนวยการสร้างทันที และก็ไม่ได้ทำให้ผิดหวัง เมื่อเขากลายมาเป็นเจมส์ บอนด์ อันดับหนึ่งตลอดกาลในใจของแฟน ๆ ภาพยนตร์ชุดนี้ทั่วโลก และผู้ชมภาพยนตร์คนอื่น ๆ ทั้ง ๆ ที่มีนักแสดงหลายต่อหลายคนมารับบทนี้ต่อจากคอนเนอรี่ แต่ก็ไม่มีใครสามารถสร้างความประทับใจได้เท่าคอนเนอรี่ ฌอน คอนเนอรี่ ประกาศวางมือจากวงการบันเทิงเมื่อปี ค.ศ. 2006 รวมระยะเวลาที่อยู่ในวงการบันเทิง 52 ปี นับเป็นนักแสดงในระดับซุปเปอร์สตาร์คนหนึ่งของโลก มีผลงานมากมาย และเคยได้รับรางวัลออสการ์สาขาดาราประกอบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง The Untouchables ในปี ค.ศ. 1987 มาแล้วอีกด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฌอน คอนเนอรี · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก แนแกร์

ัก แนแกร์ (Jacques Necker) เป็นนายธนาคารชาวสวิสซึ่งกลายเป็นรัฐบุรุษ รัฐมนตรีคลัง และหัวหน้ารัฐบาลของฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แนแกร์เกิดในเจนีวาในยุคที่เจนีวายังเป็นรัฐอิสระ เขาเป็นบุตรของคาร์ล ฟริดริช เน็คเคอร์ ชาวเยอรมันเชื้อสายปรัสเซีย แนแกร์เริ่มมีผลงานด้านกฎหมายระหว่างประเทศ เขาก็เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายมหาชนที่เจนีวา ต่อมาในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฌัก แนแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอยทูเดอะเวิลด์

อยทูเดอะเวิลด์ หรือ พระทรงบังเกิด (คาทอลิก) หรือ ความสุขเปรมปรีดิ์มีแก่ชาวโลก (โปรเตสแตนต์) เป็นเพลงเทศกาลที่ได้รับความนิยมที่สุดในช่วงวันคริสต์มาส เนื้อเพลงภาษาอังกฤษถูกเขียนขึ้น โดย ไอแซค วัตต์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับช่วงครึ่งหลังของพระธรรมสดุดี บทที่ 98 ในพระคัมภีร์ไบเบิล และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..1719 ในผลงานของ ไอแซค วัตต์ เนื้อหาพระธรรมสดุดีของเดวิดในส่วนนี้เป็นการสื่อเรื่องราวถึงพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ และนำไปใช้ในการนมัสการของเหล่าคริสเตียน ไอแซค วัตต์ เขียนคำพูดไว้ว่า "จอยทูเดอะเวิลด์" เป็นเพลงนมัสการพระเกียรติและชัยชนะของพระคริสต์ และเพื่อการรับเสด็จการกลับมาอีกครั้งของพระคริสต์ในวันพิพากษาโลก ซึ่งเพลงจอยทูเดอะเวิลด์ได้รับการขนานนามจากชาวอิสราเอลว่าเป็นเพลงที่แสดงถึงความชื่นชมยินดี ที่พระคริสต์ได้นำหนทางที่จะได้คืนดีกับพระเป็นเจ้ามาให้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจอยทูเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น บี. วอตสัน

อห์น โบรดัส วอตสัน (John Broadus Watson; 9 มกราคม ค.ศ. 1878 – 25 กันยายน ค.ศ. 1958) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งพฤติกรรมนิยม วอตสันทำวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ นำมาซึ่งการตั้งแขนงวิชาพฤติกรรมศาสตร์ในวิชาจิตวิทยา เขายังเป็นผู้ทำการทดลอง "หนูน้อยอัลเบิร์ต" ซึ่งเป็นที่ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจอห์น บี. วอตสัน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซ่ง

ซ่ง ช่างเจี๋ย (27 กันยายน 1901 – 18 สิงหาคม 1944) หรือ จอห์น ซ่ง (John Sung) เป็นผู้ประกาศข่าวประเสริฐนิกายโปรเตสแตนต์ชาวจีน ผู้มีบทบาทสำคัญในการนำการฟื้นฟูความเชื่อในหมู่ชาวจีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจอห์น ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ

อห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ (John Churchill, 1st Duke of Marlborough) เป็นแม่ทัพและรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้รับราชการในพระเจ้าแผ่นดิน 5 พระองค์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 18 เขาเป็นแม่ทัพคนสำคัญในสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ซึ่งทำให้อังกฤษได้เข้าครอบครองช่องแคบยิบรอลตาร์และเกาะมินอร์กา จอห์น เชอร์ชิลเริ่มขีวิตการทำงานด้วยการเป็นมหาดเล็กในราชสำนักของราชวงศ์สจวตในราชอาณาจักรอังกฤษ แต่ความเก่งกล้าสามารถในสนามรบทำให้ได้รับการเลื่อนตำแหน่งขึ้นอย่างรวดเร็วจากเจ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์ค เมื่อเจ้าชายเจมส์ขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1685 เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เชอร์ชิลได้มีบทบาทสำคัญในการพ่ายแพ้ของการกบฏที่นำโดยเจมส์ สกอตต์ ดยุกแห่งมอนม็อธที่ 1 แต่สามปีต่อมาจอห์น เชอร์ชิลได้ละทิ้งพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ผู้เปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกไปเข้าข้างพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ผู้เป็นโปรแตสแตนท์ ในพระราชพิธีราชาภิเษกจอห์น เชอร์ชิลได้รับแต่งตั้งให้เป็น “เอิร์ลแห่งมาร์ลบะระ” และได้รับราชการมีผลงานดีเด่นในราชอาณาจักรไอร์แลนด์ และฟลานเดอร์สระหว่างสงครามเก้าปี แต่ความสัมพันธ์ระหว่างลอร์ดแห่งมาร์ลบะระและภรรยาซาราห์ กับพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 และ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 ตลอดรัชสมัยของทั้งสองพระองค์ไม่ค่อยดีนัก หลังจากที่ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนสมรู้ร่วมคิดกับอดีตพระเจ้าแผ่นดิน ลอร์ดมาร์ลบะระก็ถูกปลดจากตำแหน่งทุกตำแหน่งทั้งการทหารและพลเรือนและถูกจำคุกที่หอคอยลอนดอนอยู่ชั่วระยะหนึ่ง หลังจากพระราชินีนาถแมรีที่ 2 สวรรคตและอังกฤษเผชิญกับสงครามที่เกิดขึ้นในยุโรป ลอร์ดมาร์ลบะระจึงได้กลับมาเป็นคนโปรดอีกครั้งหนึ่ง ลอร์ดมาร์ลบะระมีอิทธิพลในราชสำนักมากที่สุดในรัชการของพระราชินีนาถแอนน์ผู้เป็นสหายสนิทของซาราห์ และได้รับแต่งตั้งให้เป็น “ผู้บัญชาการทหารสูงสุด” (Captain-General) ของกองทัพอังกฤษ แต่ต่อมาได้รับเลื่อนขึ้นเป็นดยุก ดยุกแห่งมาร์ลบะระมีชื่อเสียงจากการต่อสู้ในสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในยุทธการเบล็นไฮม์ (Battle of Blenheim) ยุทธการรามิลีส์ (Battle of Ramillies) และ ยุทธการอูเดนาร์ด (Battle of Oudenarde) แต่เมื่อซาราห์ไม่ได้กลายเป็นสหายสนิทของพระราชินีนาถแอนน์และพรรคทอรี จึงต้องมีการสงบศึกกับฝรั่งเศสซึ่งทำให้ดยุกแห่งมาร์ลบะระหมดอำนาจลง ดยุกแห่งมาร์ลบะระถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกงจึงถูกปลดจากตำแหน่งทุกตำแหน่งทั้งการทหารและพลเรือนอีกครั้งหนี่ง แต่ก็มารุ่งเรืองขึ้นอีกเมื่อพระเจ้าจอร์จที่ 1 ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1714 แต่สุขภาพของดยุกได้เริ่มเสื่อมโทรมลง หลังจากการอุดตันของเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงสมองเกิดขึ้นสองสามครั้ง ในที่สุดก็เสียชีวิตที่บ้านวินด์เซอร์เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1722.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 จนกระทั่งสวรรคต และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอำนาจของยุโรปในสมัยนั้น ในช่วงระยะเวลาของรัชสมัยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มหาราช พระองค์ได้ทรงสร้างประเทศเป็น “จักรวรรดิ” ที่เป็นที่น่าเกรงขามได้สำเร็จ การติดต่อด้านการค้าและการทูตกับต่างประเทศ การรับเอาความเจริญทางด้านการทหาร การช่างและวิทยาศาสตร์มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยต้นราชวงศ์โรมานอฟล้วนแต่เป็นการแผ้วทางไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเป็นมหาอํานาจของรัสเซีย เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย (Пётр III Фëдорович, Pyotr III Fyodorovitch) (21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1728 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1762) ทรงปกครองจักรวรรดิรัสเซียในฐานะพระจักรพรรดิเป็นเวลา 6 เดือน (5 มกราคม ค.ศ. 1762 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1762).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแอฟริกากลาง

ักรวรรดิแอฟริกากลาง (ฝรั่งเศส: Empire centrafricain) เป็นจักรวรรดิที่ได้รับการสถาปนาเป็นช่วงสั้น ๆ โดยการประกาศระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เผด็จการ และสถาบันพระมหากษัตริย์ จักรวรรดิได้การการสถาปนานาขึ้นมาแทนที่สาธารณรัฐแอฟริกากลาง แต่ในที่สุดก็ล่มสลายและมีการฟื้นฟูธารณรัฐแอฟริกากลางขึ้นมาอีกครั้ง จักรวรรดิได้รับการก่อตั้งโดยฌ็อง-เบแดล บอกาซา ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ได้ประกาศสถาปนาตนเป็น "สมเด็จพระจักรพรรดิโบคัสซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง" เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 1976 โบคัสซาใช้เงินประมาณ 20 ล้านดอลลาสหรัฐ หรือหนึ่งในสี่ของรายได้ของประเทศในช่วงรัฐบาลของเขา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกล้มล้างและแทนที่ด้วย "สาธารณรัฐแอฟริกากลาง" เมื่อวันที่ 21 กันยายน 1979 หลังจากที่โบคัสซาไม่ได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสอีกต่อไป.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจักรวรรดิแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวากลาง

วากลาง (Jawa Tengah, ꦗꦮꦠꦼꦔꦃ) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เมืองเอกคือ เซอมารัง (Semarang) นับเป็นหนึ่งในจังหวัดทั้งหกของเกาะชวา ชวากลางมีจุดเด่นทั้งด้านวัฒนธรรม และทางการเมือง ยอกยาการ์ตาเป็นส่วนสำคัญแห่งหนึ่งของชวากลาง อย่างไรก็ตาม ในเชิงการบริหารแล้ว เมืองนี้และพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่พิเศษที่แยกต่างหาก นับตั้งแต่อินโดนีเซียประกาศเอกราช จังหวัดชวากลางมีพื้นที่ 32,548.20 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสี่ของพื้นที่เกาะชวา มีประชากร 31,820,000 (พ.ศ. 2548) จึงเป็นจังหวัดที่มีประชากรมากเป็นอันดับสามของอินโดนีเซีย รองจากชวาตะวันตก และชวาตะวันออก และมีประชากรประมาณหนึ่งในสี่ของเกาะนี้ ชวากลาง หมวดหมู่:จังหวัดชวากลาง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดชวากลาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวาตะวันตก

วาตะวันตก (Jawa Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองบันดุงเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดชวาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบันเติน

ันเติน (Banten) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ที่อ่าวบันเตินทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 9,160.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 9,083,114 คน (พ.ศ. 2548) จังหวัดบันเตินก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยแยกออกจากจังหวัดชวาตะวันตก มีเมืองหลวงคือเซอรัง (Serang).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดบันเติน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟรีสลันด์

ฟรีสลันด์ (Friesland) หรือ ฟริสลอน (ฟรีเซียตะวันตก: Fryslân) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักอยู่ที่เลวาร์เดิน ทิศเหนือจรดทะเลเหนือ ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดโกรนิงเงินและจังหวัดเดรนเทอ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดโอเฟอไรส์เซิลและจังหวัดเฟลโฟลันด์ ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์ "ฟรีสลันด์" เป็นชื่อทางการของจังหวัดมาจนถึงปลายปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดฟรีสลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมาลูกู

มาลูกู (Maluku) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดมาลูกู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัมปุง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดลัมปุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลิมบูร์ก (เนเธอร์แลนด์)

ลิมบูร์ก (Limburg) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดในบรรดาสิบสองจังหวัดของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักอยู่ที่มาสทริชท์ จังหวัดลิมบูร์กมีพรมแดนทางตอนใต้และบางส่วนทางตะวันตกติดกับประเทศเบลเยียม บางส่วนทางตะวันตกติดกับจังหวัดนอร์ทบราแบนต์ และทางเหนือติดกับจังหวัดเกลเดอร์ลัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดลิมบูร์ก (เนเธอร์แลนด์) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัว

ปาปัว (Papua) เป็น 1 ใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงคือ จายาปุระ มีพื้นที่ทั้งหมด 319,036.05 กม2 (123,181 ไมล์2) มีประชากรทั้งหมด 2,833,381 คน ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัวตะวันตก

ปาปัวตะวันตก (Papua Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ครอบคลุมคาบสมุทรทั้งสองแห่งของเกาะนิวกินี มีเมืองหลักชื่อมาโนะก์วารี แต่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือโซรง เมื่อปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดปาปัวตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์ทบราแบนต์

นอร์ทบราแบนต์ (North Brabant; Noord-Brabant) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางทิศใต้จรดจังหวัดแอนต์เวิร์ปและจังหวัดลิมบูร์กของประเทศเบลเยียม ทางทิศเหนือจรดแม่น้ำมาส ทางทิศตะวันออกจรดจังหวัดลิมบูร์ก และทางทิศตะวันตกจรดจังหวัดเซลันด์ นอร์ทบราแบนต์.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดนอร์ทบราแบนต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์

นอร์ทฮอลแลนด์ (North Holland) หรือ โนร์ด-โฮลลันด์ (Noord-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักของจังหวัดคือเมืองฮาร์เลม เมืองที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงอัมสเตอร์ดัม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอเฟอไรส์เซิล

โอเฟอไรส์เซิล (Overijssel, Overissel) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ตอนกลาง-ตะวันตกของประเทศ ความหมายของชื่อคือ "พื้นที่แนวแม่น้ำไอส์เซิล" เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองซโวลเลอ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองแอ็นสเคอเด ณ ปี ค.ศ. 2006 จังหวัดนี้มีประชากร 1,113,529 คน โอเฟอไรส์เซิล.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดโอเฟอไรส์เซิล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบิงกูลู

งกูลู (Bengkulu) หรือที่ในอดีตเรียกว่า เบงคูเลน (Bencoolen) เป็นชื่อจังหวัดและเมืองท่าทางตอนใต้ของสุมาตราฝั่งตะวันตก เป็นที่ตั้งสถานีการค้าและป้อมปราการของบริษัทอินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดเบิงกูลู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเฟลโฟลันด์

ฟลโฟลันด์ (Flevoland) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ ก่อตั้งเป็นจังหวัดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดเฟลโฟลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเกลเดอร์ลันด์

เกลเดอร์ลันด์ (Gelderland) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ตอนกลาง-ตะวันออกของประเทศ มีมาตั้งแต่จักรวรรดิโรมัน เมืองหลักของจังหวัดชื่อเมืองอาร์เนม มีเมืองสำคัญอื่นเช่นเมืองไนเมเคินและอาเพลโดร์นที่มีขนาดใกล้เคียงกัน จังหวัดเกลเดอร์ลันด์เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ หมวดหมู่:จังหวัดเกลเดอร์ลันด์.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดเกลเดอร์ลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเรียว

รียว (Riau) เป็นหนึ่งใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของเกาะสุมาตราซึ่งจรดช่องแคบมะละกา มีเมืองหลักชื่อเปอกันบารู จังหวัดมีเนื้อที่ 72,569 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 5,538,367 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดเรียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์

ซาท์ฮอลแลนด์ (South Holland) หรือ เซยด์-โฮลลันด์ (Zuid-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเหนือ ทางตะวันตกของประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองเดอะเฮก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือรอตเทอร์ดาม จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์เป็นหนึ่งในที่ที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุดในโลก และเป็นแหล่งอุตสาหกรรม มีประชากร 3,502,595 คน (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009) มีพื้นที่ 3,403 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

จารุวรรณ เมณฑกา

ณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา (ชื่อเล่น: เป็ด; เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกคริสตจักรวัฒนา อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และอดีตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) จารุวรรณได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจารุวรรณ เมณฑกา · ดูเพิ่มเติม »

จิรศักดิ์ ปานพุ่ม

รศักดิ์ ปานพุ่ม หรือชื่อเดิม จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ชื่อเล่น แมว (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2513) เป็นนักร้องและนักดนตรีชาวไทย เขาเป็นหัวหน้าวง Type One Error ในสังกัด สหภาพดนตรี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจิรศักดิ์ ปานพุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

จินเจษฎ์ วรรธนะสิน

นเจษฎ์ วรรธนะสิน ชื่อเล่น เจ้านาย เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2544 นักร้องชายสัญชาติไทยอเมริกัน เป็นที่รู้จักในวงกว้างจากผลงานเพลง คนละชั้น โดยปัจจุบันเจ้านายเป็นศิลปินของค่าย Jaymidi ซึงเป็นค่ายเพลงที่ เจ เจตรินสร้างขึ้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจินเจษฎ์ วรรธนะสิน · ดูเพิ่มเติม »

จีโรลาโม ซาโวนาโรลา

รลาโม ซาโวนาโรลา (Girolamo Savonarola) (21 กันยายน ค.ศ. 1452 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1498) จิโรลาโม ซาโวนาโรลาเป็นนักบวชลัทธิโดมินิกันชาวอิตาลีและผู้นำของฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจีโรลาโม ซาโวนาโรลา · ดูเพิ่มเติม »

จงฟังเพลงแห่งทูตสวรรค์

งฟังเพลงแห่งทูตสวรรค์ (Hark! The Herald Angels Sing).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และจงฟังเพลงแห่งทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ธุลีปริศนา

ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ. 1997) และสู่เส้นทางมรณะ (ค.ศ. 2000) โดยได้รับการแปลกว่า 40 ภาษา และจัดจำหน่ายหนังสือได้กว่า 15 ล้านเล่ม ผลงานทั้งสามได้รับรางวัลเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สู่เส้นทางมรณะ ซึ่งได้รับรางวัลหนังสือวิทเบรดประจำปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และธุลีปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไอร์แลนด์

งชาติไอร์แลนด์ (แถบสีทอง) ธงชาติสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (bratach na hÉireann / suaitheantas na hÉireann) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นธงแบ่งแถบสีตามแนวตั้ง แต่ละแถบมีขนาดเท่ากัน เรียงตามลำดับ คือ สีเขียว สีขาว และสีแสด ธงนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "ธงไตรรงค์ไอริช" หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "Irish tricolour" สัดส่วนของธงกว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน โดยทางการแล้ว ความหมายของธงไชาติไอร์แลนด์มิได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐ แต่โดยทั่วไปแล้ว ได้มีนิยามความหมายของธงไว้ว่า สีเขียวคือสีแห่งความเป็นชาตินิยมของชาวไอริชตามธรรมเนียมปฏิบัติ สีแสดเป็นสีของกลุ่มออเรนจ์อินสติติวชั่น (Orange Institution) ซึ่งเป็นชื่อขององค์กรศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์แห่งหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในทางการเมืองของไอร์แลนด์ ส่วนสีขาวซึ่งแทรกอยู่ระหว่างสีทั้งสองถือเป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ สีขาวที่กลางธงนี้ยังอาจหมายถึงการสงบศึกครั้งสุดท้ายระหว่างฝ่ายสีเหลืองกับฝ่ายสีแสดก็ได้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และธงชาติไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงศาสนาคริสต์

งศาสนาคริสต์ หรือธงคริสเตียน ธงศาสนาคริสต์ หรือ ธงคริสเตียน (Christian Flag) เป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ถูกออกแบบในช่วงคริสศตวรรษที่ 20 และได้รับความนิยมมากที่สุดในกลุ่มของโบสถ์นิกายโปรเตสแตนต์ ในทวีปอเมริกา แอฟริกา และละตินอเมริกา โดยสีพื้นของธงเป็นสีขาว ประกอบด้วยสัญลักษณ์กางเขนละตินสีแดง บนกรอบสีน้ำเงินสี่เหลี่ยม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และธงศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ (Catholic doctrine regarding the Ten Commandments) เป็นการกำหนดบัญญัติสิบประการโดยพระสันตปาปา เพื่อเป็นแนวทางให้กับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก โดยการกำหนดรูปแบบข้อบัญญัตินี้เรียกว่า คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งถือตามฉบับนักบุญออกัสติน ใช้ในนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ · ดูเพิ่มเติม »

ทินลิซซี

ทินลิซซี (Thin Lizzy) เป็นวงฮาร์ดร็อกจากกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ก่อตั้งในปี 1969 ด้วย 2 ผู้ก่อตั้งหลัก ได้แก่มือกลองไบรอัน ดาว์นีย์ (Brian Downey) และมือเบสและร้องนำ ฟิล ลินอตต์ (Phil Lynott) ซึ่งพวกเขารวมกลุ่มกันสมัยเรียนอยู่ในโรงเรียน โดยมีลินอตต์ ที่ถือเป็นไอคอนของวง ซึ่งได้รับการจดจำด้วยเอกลักษณ์ไว้หนวดอ่อนๆและทรงผมบ๊อบ เขาได้ร่วมอัดสตูดิโอกับวงถึง 12 อัลบั้ม ทินลิซซีมีเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอาทิเช่น "วิสกีย์อินเดอะจาร์" (Whiskey in the Jar), "เจลล์เบรค" (Jailbreak) และ "เดอะบอยส์อาร์แบ๊กค์อินทาวน์" (The Boys Are Back in Town) ซึ่งเพลงเหล่านี้ยังคงถูกนำมาเล่นบ่อยครั้งในสไตล์ฮาร์ดร็อกและคลาสสิกร็อกตามเสียงวิทยุ นับตั้งแต่ลินอตต์เสียชีวิตลงในปี 1986 ด้วยวัยเพียง 36 ปี กระแสความนิยมของทินลิซซีก็หายไป จนต่อมาสมาชิกวงรุ่นที่ร่วมเล่นกับลินอตต์ก็กลับมารวมอีกครั้งทั้งมือกีตาร์ สกอตต์ กอร์แฮม (Scott Gorham) และจอห์น ไซเคส (John Sykes) แม้ว่าไซเคสจะออกไปในปี 2009 ก็ตาม กอร์แฮมก็ยังคงวงชื่อนี้ไว้ต่อ โดยได้มือกลองไบรอัน โดนีย์มาร่วม (Brian Downey) ทินลิซซีภายใต้มือเบสและร้องนำอย่าง ลินอตต์ ซึ่งแต่งเพลงเกือบทุกเพลงของวง และถือเป็นชาวไอริชผิวสีคนแรกๆที่ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างสูงในวงการร็อก ทินลิซซี ยังประกอบด้วยมือกีตาร์ที่สร้างความสำเร็จให้กับเพลงในสไตล์ฮาร์ดร็อกและรวมถึงมือกลองที่คอยสร้างจังหวะเคียงคู่กับลินอตต์ในฐานะมือเบส วงได้เปลี่ยนสมาชิกบ่อยครั้ง เคยมีครั้งหนึ่งที่เปิดรับสมาชิกที่เป็นคาทอลิกและโปรแตสแตนท์ ในช่วงที่ไอร์แลนด์กำลังมีปัญหาเรื่องนิกายกันอยู่ ดนตรีของพวกเขาส่งผลต่ออิทธิพลต่อหลายแนวดนตรี ทั้ง บลูส์, โซล, ไซเคเดลิกร็อก และรวมถึงดนตรีโฟล์คพื้นบ้านของชาวไอริช แต่ทินลิซซีมักจะถูกจัดเป็นวงฮาร์ดร็อกและในบางครั้งก็เป็นถึงขั้นเฮฟวีเมทัล อ้างจากนิตยสารโรลลิงสโตน ก็ได้กล่าวว่าทินลิซซี เป็นวงฮาร์ดร็อกอย่างแท้จริง "แสนจะห่างไกลจากเสียงร้องแนวเมทัลยุค 70".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และทินลิซซี · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ขอเชิญท่านผู้วางใจ

ทำนองเพลงเริ่มต้น "ขอเชิญท่านผู้วางใจ" ขอเชิญท่านผู้วางใจ เป็นเพลงเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งมีผู้แต่งเนื้อร้องจากหลายท่าน รวมทั้ง จอห์น ฟรานซิส เว..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และขอเชิญท่านผู้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า

้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ข้าพเจ้าเชื่อในพระเจ้า (ศัพท์คาทอลิก) (I believe in GOD; Credo) เป็นวรรคที่ 1 ในหลักข้อเชื่อของอัครทูต และเป็นหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนาที่สำคัญที่สุด หรือที่เรียกว่าแก่นธรรมของศาสนาคริสต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และข้าพเจ้าเชื่อวางใจในพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์

อนัลด์ เฮนรี รัมส์เฟลด์ (Donald Henry Rumsfeld) เป็นนักการเมืองและนักธุรกิจชาวอเมริกัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาคนที่ 13 ภายใต้ประธานาธิบดี เจอรัลด์ ฟอร์ด และคนที่ 21 ภายใต้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช วาระแรกที่ตำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมนั้น รัมส์เฟลด์ด้วยวัย 43 ปีถือเป็นรัฐมนตรีกลาโหมที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ นอกจากนั้น เขายังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจากรัฐอิลลินอยส์, ผู้อำนวยการสำนักงานโอกาสทางเศรษฐกิจ, ที่ปรึกษาประธานาธิบดี, ผู้แทนถาวรสหรัฐประจำนาโต้ และ เสนาธิการทำเนียบขาว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีปรัสเซีย

ัชชีปรัสเซีย หรือ ดัชชีพรอยเซิน (Herzogtum Preußen; Prusy Książęce; Prūsijos kunigaikštystė; Duchy of Prussia) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1525 จนมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1618 รัฐนี้เริ่มจากการเป็นดัชชีโปรเตสแตนต์ที่ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาเยอรมัน โปแลนด์ และ ปรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1525 ระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์อัลเบรชท์ผู้เป็นแกรนด์มาสเตอร์แห่งคณะอัศวินทิวทอนิกก็ยุบคณะและตั้งตนเป็นอัลเบรชท์ ดยุกแห่งปรัสเซีย ดัชชีของอัลเบรชท์มีเมืองหลวงอยู่ที่เคอนิกสแบร์กก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นภายใต้ราชบัลลังก์แห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ (Crown of the Kingdom of Poland) ที่ต่อมาตกไปอยู่ในความครอบครองของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบูร์กแห่งราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นในปี ค.ศ. 1618 การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรครั้งนี้เรียกว่าบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซีย ฟรีดิช วิลเฮล์มได้รับอำนาจบริหารราชอาณาจักรเต็มที่ในปี ค.ศ. 1657 สนธิสัญญาเวห์เลา (Treaty of Wehlau) ที่ได้รับการยืนยันในปี ค.ศ. 1660 ในสนธิสัญญาโอลิวา ดัชชีปรัสเซียได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นราชอาณาจักรปรัสเซียในปี ค.ศ. 1701.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และดัชชีปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ดูมาเกเต

ูมาเกเต (เซบัวโน: Dumaguete; Dumaguete)เป็นนครศูนย์กลางของจังหวัดซีลางังเนโกรส ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และดูมาเกเต · ดูเพิ่มเติม »

คริสตาเดลเฟียน

Christadelphian Hall, Bath, England คริสตาเดลเฟียน (Christadelphians; ชื่อหมายถึง "พี่น้องในพระคริสต์") เป็นคริสตจักรโปรเตสแตนต์เล็ก ๆ ในอังกฤษและออสเตรเลี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสตาเดลเฟียน · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักร

ริสตจักร (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระศาสนจักร (ศัพท์คาทอลิก) (Christian Church; The Church) คือประชาคมของผู้เชื่อและยอมรับว่าพระเยซูเป็นพระคริสต์ มาบังเกิดเป็นมนุษย์เพื่อช่วยไถ่มนุษย์จากบาปราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 152 ประชาคมนี้ถือเป็นหนึ่งเดียวกัน หากเปรียบเป็นร่างกาย พระเยซูคือศีรษะ และคริสตจักรคือร่างกายส่วนอื่น ๆ ทั้งหมด หรืออีกนัยหนึ่งคือคริสตชนทุกคนเปรียบเหมือนอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกายเดียวกัน โดยมีพระเยซูทรงเป็นหลัก และคริสตชนทุกคนจะร่วมกันปฏิบัติพันธกิจคือการประกาศข่าวดีว่าพระเยซูสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อไถ่บาป มนุษย์ทุกคนที่เชื่อจะพ้นจากบาป และเชื่อว่าจะได้รับความรอดและบำเหน็จจากพระเป็นเจ้าในการพิพากษาครั้งสุดท้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรที่ 1 สำเหร่

ริสตจักรที่ 1 สำเหร่ ภาพในอดีต ค.ศ. 1928 คริสตจักรที่ 1 สำเหร่ (The First Presbyterian Church of Bangkok) เป็นโบสถ์คริสต์ของนิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 37 ซอยเจริญนคร 59 ถนนเจริญนคร แขวงสำเหร่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นคริสตจักรแห่งแรกของคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน (The American Presbyterian Mission) ซึ่งมิชชันนารีคณะนี้ได้เริ่มวางรากฐานการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสตจักรที่ 1 สำเหร่ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรปฏิรูป

ริสตจักรปฏิรูปราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 415-6 (Reformed churches) เป็นกลุ่มผู้นับถือศาสนาคริสต์ในนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีปรัชญาคล้ายคลึงกับลัทธิคาลวิน ที่มีต้นตอที่เกี่ยวข้องกับลัทธิที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะคริสตจักรปฏิรูปสวิสเซอร์แลนด์ที่นำโดยฮุลดริช ซวิงลี (Huldrych Zwingli) และหลังจากนั้นไม่นานนักก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันกลาง แต่ละชาติที่ระบบปฏิรูปเผยแพร่เข้าไปต่างก็ก่อตั้งระบบการปกครองลัทธิของตนเองขึ้น ลัทธิบางลัทธิก็ขยายตัวไปทั่วโลกและบางลัทธิก็แบ่งย่อยต่อไปอีก การสั่งสอนปรัชญาคาลวินก็คงติดตามลัทธิเหล่านี้ไปด้วยที่สะท้อนให้เห็นจากปรัชญาของแต่ละลัทธิ แต่ในบางกรณีก็มีได้เป็นปรัชญาหลักของลัทธิอีกต่อไป จากการสำรวจในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสตจักรปฏิรูป · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย

ริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย คือ คริสตจักรของนิกายแองกลิคันในประเทศไทย ปัจจุบันสังกัดสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศาสนิกชน

ัญลักษณ์กางเขนและอิกธัส (Ichthys) ซึ่งคริสต์ศาสนิกชนมักใช้แทนศาสนาของตน คริสต์ศาสนิกชน หรือ คริสตชน หมายถึง บุคคลที่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยมอันเกิดจากคำสอนของพระเยซูชาวนาซาเรธ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าพระองค์คือพระคริสต์หรือพระเมสสิยาห์ที่ถูกพยากรณ์ไว้ในคัมภีร์ฮีบรู และเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าด้วย, BBC คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่เชื่อเรื่องพระตรีเอกภาพ คือ เชื่อว่าพระเป็นเจ้าพระองค์เดียวได้ปรากฏเป็น 3 พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามมีคริสต์ศาสนิกชนบางกลุ่มไม่ยอมรับเรื่องพระตรีเอกภาพ จึงเรียกว่า "อตรีเอกภาพนิยม" เช่น พยานพระยะโฮวา ในประเทศไทยเรียกคริสต์ศาสนิกชนชาวโรมันคาทอลิกว่าคริสตัง และชาวโปรเตสแตนต์ว่าคริสเตียน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความคิดเห็นทางศาสนาของไอแซค นิวตัน

ก็อดฟรีย์ เนลเลอร์ ในปี 1689. ไอแซก นิวตัน (25 ธันวาคม 1642 – 20 มีนาคม 1727) เป็นนักศาสนศาตร์ที่มีความรู้และความเชียวชาญ (ตามความเห็นของบุคคลที่อยู่ในยุคเดียวกัน).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และความคิดเห็นทางศาสนาของไอแซค นิวตัน · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลง ค.ศ. 1801

วามตกลง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และความตกลง ค.ศ. 1801 · ดูเพิ่มเติม »

คอนโดลีซซา ไรซ์

อนโดลีซซา ไรซ์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66 และเป็นรัฐมนตรีลำดับที่สองในคณะรัฐบาลของประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช นางเข้ามาดำรงตำแหน่งแทนคอลิน พอเวลล์ เมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2005 คอนโดลีซซา ไรซ์ เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ตลอดสมัยแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี (ค.ศ. 2001-ค.ศ. 2005) ก่อนที่จะเข้าร่วมคณะบริหารประเทศของบุช เธอเคยเป็นอาจารย์สาขารัฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และเป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยระหว่างปี ค.ศ. 1993 จนถึงปี ค.ศ. 1999.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคอนโดลีซซา ไรซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์อธิกธรรม

ัมภีร์อธิกธรรม หรือ คัมภีร์สารบบที่สอง (Deuterocanonical books) เป็นคำที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อหมายถึงหนังสือจำนวนหนึ่งที่สภาแจมเนียไม่ยอมรับเข้าในสารบบคัมภีร์ฮีบรู แต่คริสตจักรทั้งสองยังคงยอมรับให้รวมอยู่ในสารบบพันธสัญญาเดิม การเรียกว่า "สารบบที่สอง" เพื่อให้ต่างจากคัมภีร์สารบบที่หนึ่งที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับเหมือนกัน ด้วยเหตุนี้คัมภีร์สารบบที่สอง จึงถือเป็นคัมภีร์ในสารบบคัมภีร์ไบเบิลของนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ ต่างจากนิกายโปรเตสแตนต์ส่วนใหญ่ที่ไม่ยอมรับหนังสือชุดดังกล่าว และถือว่าเป็นคัมภีร์นอกสารบบ คริสตจักรโรมันคาทอลิก ถือว่าคัมภีร์พันธสัญญาเดิม สารบบที่สอง มี 9 เล่ม ได้แก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคัมภีร์อธิกธรรม · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ฮีบรู

ต้นฉบับ “คัมภีร์ฮีบรู” พร้อมกับคำแปลภาษาแอราเมอิก คัมภีร์ฮีบรู (Hebrew Bible; Biblia Hebraica) หมายถึง คัมภีร์ทานัค (Tanakh; תנ"ך) ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ในศาสนายูดาห์ และเป็นที่มาของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ด้วย คัมภีร์นี้ส่วนใหญ่บันทึกเป็นภาษาฮีบรูไบเบิล บางส่วนเป็นภาษาแอราเมอิกไบเบิล (เช่น หนังสือดาเนียล หนังสือเอสรา เป็นต้น) ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูนี้มีหนังสือทั้งสิ้น 24 เล่ม สารบบของคัมภีร์ฮีบรูที่ใช้ในปัจจุบันสอดคล้องกับคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของนิกายโปรเตสแตนต์ แต่ไม่ตรงกับของนิกายโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ซึ่งได้เพิ่ม "คัมภีร์อธิกธรรม" และ Anagignoskomena เข้ามา ความหมายของคัมภีร์ฮีบรูจึงไม่เกี่ยวกับชื่อ จำนวน และลำดับหนังสือ ต่างจากสารบบคัมภีร์ไบเบิลที่ศาสนาคริสต์จัดระบบขึ้นในยุคหลัง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคัมภีร์ฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคัมภีร์ไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คัสพาร์ เบาฮีน

ัสพาร์ เบาฮีน (Caspar Bauhin), กัสปาร์ โบแอ็ง (Gaspard Bauhin) หรือ กัสปารุส เบาฮีนุส (Casparus Bauhinus; 17 มกราคม ค.ศ. 1560 – 5 ธันวาคม ค.ศ. 1624) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสวิส เป็นบุตรของฌ็อง โบแอ็ง แพทย์ชาวฝรั่งเศสที่ย้ายมาอยู่ที่เมืองบาเซิลหลังเปลี่ยนมานับถือนิกายโปรเตสแตนต์ คัสพาร์มีพี่ชายที่เป็นนักพฤกษศาสตร์เหมือนกันคือโยฮันน์ เบาฮีน คัสพาร์เรียนวิชาแพทย์ที่เมืองปาโดวา, มงเปอลีเยและในเยอรมนี ก่อนจะกลับมาที่บาเซิลในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคัสพาร์ เบาฮีน · ดูเพิ่มเติม »

คาลวิน

ลวิน หรือ แคลวิน (Calvin) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคาลวิน · ดูเพิ่มเติม »

คาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล

รลีเนอ อมาเลีย เอลีซาเบ็ท แห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล (Caroline Amalie Elisabeth von Braunschweig-Wolfenbüttel) ทรงเป็นเจ้าหญิงเยอรมันซึ่งอภิเษกเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ คาโรลีเนอประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1768 ที่เบราน์ชไวค์ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นพระธิดาของคาร์ล วิลเฮล์ม แฟร์ดีนันด์ ดยุกแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล กับเจ้าหญิงออกัสตาแห่งบริเตนใหญ่ (พระขนิษฐาองค์โตของพระเจ้าจอร์จที่ 3) คาโรลีเนอเป็นพระราชินีในพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1820 จนสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1821 ที่ลอนดอน อังกฤษ พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารเบราน์ชไว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคาโรลีเนอแห่งเบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล · ดูเพิ่มเติม »

คาเรน กรัยวิเชียร

ณหญิงคาเรน กรัยวิเชียร (สกุลเดิม: แอนเดอร์เซน; ไม่ทราบปี – พ.ศ. 2538) เป็นสุภาพสตรีชาวเดนมาร์ก เป็นที่รู้จักจากการเป็นภริยาของธานินทร์ กรัยวิเชียร นายกรัฐมนตรีคนที่ 14 ของประเทศไท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคาเรน กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า

ำอธิษฐาน (โปรเตสแตนต์) หรือ บทภาวนา (คาทอลิก) ขององค์พระผู้เป็นเจ้า (the Lord's Prayer) เป็นการอธิษฐานในศาสนาคริสต์ ซึ่งมีที่มาจากคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ คัมภีร์ระบุคำอธิษฐานนี้ไว้อยู่สองแบบ คือแบบพระวรสารนักบุญมัทธิวตอนที่พระเยซูแสดงคำเทศนาบนภูเขา และแบบพระวรสารนักบุญลูกาตอนที่สาวกคนหนึ่งทูลพระเยซูว่า "องค์พระผู้เป็นเจ้า ขอทรงสอนพวกข้าพระองค์อธิษฐาน เหมือนที่ยอห์นสอนพวกศิษย์ของท่าน".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

คิม ฮย็อง-จิก

ม ฮย็อง-จิก (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2469) เป็นบิดาของคิม อิล-ซ็อง เป็นปู่ของคิม จ็อง-อิล และเป็นทวดของคิม จ็อง-อึน ผู้นำประเทศเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคิม ฮย็อง-จิก · ดูเพิ่มเติม »

คิม จง-ฮย็อน

ม จง-ฮย็อน (8 เมษายน ค.ศ. 1990 – 18 ธันวาคม ค.ศ. 2017) รู้จักกันในชื่อที่ใช้ในวงการคือ จงฮย็อน เป็นนักร้องนักแต่งเพลงชาวเกาหลีใต้ นักจัดรายการวิทยุ และนักเขียน เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกและนักร้องเสียงหลักของวงบอยแบนด์เกาหลีใต้วง ชายนี ที่ได้เข้าร่วมกับโปรเจกต์กลุ่มนักร้องบัลลาด S.M. THE BALLAD และยังได้เดบิวต์เป็นศิลปินเดี่ยวภายใต้ค่าย SM เอนเตอร์เทนเมนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคิม จง-ฮย็อน · ดูเพิ่มเติม »

คิม ซ็อก-รยู

ม ซอกรยู (김석류; Kim SeokRyoo; 25 สิงหาคม ค.ศ. 1983 —) เป็นอดีตผู้ประกาศข่าวเบสบอลชาวเกาหลีใต้ ทางเคเบิลทีวีบรอดคาสติ้ง ช่องเคบีเอส เอ็น10 아시아 - 2010년 6월 기사 10 아시아 - 2010년 6월 기사.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคิม ซ็อก-รยู · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาเซนต์คาเบรียล

ณะภราดาเซนต์คาเบรียล (Frères de Saint-Gabriel, The Montfort Brothers of St.) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกคณะหนึ่งซึ่งขึ้นตรงต่อพระสันตะปาปา นักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ตเป็นผู้ก่อตั้งคณะ และบาทหลวงกาเบรียล เดแอ เป็นผู้ฟื้นฟูคณะ นักบวชในคณะปฏิญาณตนต่อพระเจ้าเพื่อถือ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความนบนอบ ทำงานรับใช้พระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ด้วยการอุทิศตน เสียสละ รับใช้ผู้อื่นดังพี่น้อง โดยมุ่งที่จะให้บริการศึกษาอบรมที่เป็นความรู้ทางโลกและทางธรรมแก่สังคม คณะภราดาเซนต์คาเบรียลมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี สมาชิกประกอบด้วยภราดาที่ทำงานรับใช้พระเป็นเจ้าผ่านทางการให้การศึกษาแก่เยาวชน และเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อคนยากจน ตามจิตตารมณ์ของนักบุญมงฟอร์ต ปัจจุบัน ภราดา John Kallarackal เป็นอัคราธิการ และภราดาสุรสิทธิ์ สุขชัย เป็นอธิการเจ้าคณะแขวงประเทศไท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคณะภราดาเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

คณะซี. เอ็ม. เอ.

องค์การเดอะคริสเตียนแอนด์มิชชันนารีอะไลแอนซ์ (Christian and Missionary Alliance) เรียกโดยย่อว่า คณะซี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และคณะซี. เอ็ม. เอ. · ดูเพิ่มเติม »

ค็อนราท เก็สส์เนอร์

็อนราท เก็สส์เนอร์ (Conrad Gessner; 26 มีนาคม ค.ศ. 1516 – 13 ธันวาคม ค.ศ. 1565) เป็นนักธรรมชาติวิทยา แพทย์และนักภาษาศาสตร์ชาวสวิส เกิดที่เมืองซูริก เป็นบุตรชายของเออร์ซุส เก็สส์เนอร์ และอกาเธอ ฟริตซ์ (หรือ ฟริก) ต่อมาเก็สส์เนอร์ไปอาศัยอยู่กับลุงที่ทำงานด้านสมุนไพร ทำให้เขาสนใจด้านพืชตั้งแต่เด็ก เก็สส์เนอร์เรียนที่เมืองซูริกและเซมินารีในเฟรามึนสเตอร์และได้รับการสนับสนุนให้เรียนที่มหาวิทยาลัยสทราซบูร์และมหาวิทยาลัยบูร์ช หลังบิดาเสียชีวิตในสงครามคัพเพิลครั้งที่สอง เก็สส์เนอร์ย้ายไปอยู่ที่เมืองสทราซบูร์และเรียนภาษาฮีบรูที่สถาบันในเมืองนั้น แต่ความขัดแย้งทางศาสนาทำให้เขาต้องย้ายกลับมาอยู่ที่ซูริก ต่อมาเก็สส์เนอร์แต่งงานกับบาร์บารา ซิงเจอรินและได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อนให้เข้าเรียนที่เมืองบาเซิลในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และค็อนราท เก็สส์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเอกภาพ

จิตรกรรมฝาผนัง “ตรึเอกภาพ” โดยลูคา โรสเซ็ทที (Luca Rossetti) แสดงให้เห็นพระเจ้าพระบิดา (พระยาห์เวห์) พระเจ้าพระบุตร (พระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ในรูปของนกพิราบ (ค.ศ. 1738-ค.ศ. 1739) ที่โบสถ์เซนต์กอเซนซิโอ ที่เมื่องอิฟเรีย ใกล้ตูริน ตรีเอกภาพ (ศัพท์โรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) หรือ ตรีเอกานุภาพ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Trinity) คือภาวะที่พระเป็นเจ้าพระองค์เดียวเป็นเอกภาพ แต่ปรากฏเป็นสามพระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร (เชื่อว่ามาเกิดเป็นพระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 เทววิทยาศาสนาคริสต์ทั้งทางตะวันออกและตะวันตกยอมรับว่า “ในพระเจ้าเดียว มีสามพระบุคคล” สามสิ่งนี้ต่างบุคคลกันแต่มีธรรมชาติเดียวคือความเป็นพระเจ้า ทางปรัชญายังกล่าวต่อไปว่าพระบุตรหรือพระเยซูมีสองธรรมชาติรวมอยู่ในบุคคลเดียวกัน คือความเป็นพระเจ้าและขณะเดียวกันก็เป็นมนุษย์ (hypostatic union) ความเชื่อเรื่อง “ตรีเอกภาพ” เรียกว่า “ตรีเอกภาพนิยม” คริสตจักรเกือบทุกคริสตจักรในคริสต์ศาสนามีความเชื่อแบบ “ตรีเอกภาพนิยม” และถือว่าเป็นรากฐานของคำสอนของคริสต์ศาสนาHarris, Stephen L. (1985) Understanding the Bible Palo Alto: Mayfield.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และตรีเอกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแบบนอร์ดิก

งของประเทศนอร์ดิก ตัวแบบนอร์ดิก หรือ ทุนนิยมแบบนอร์ดิก หรือ ประชาธิปไตยสังคมนิยมแบบนอร์ดิก (Nordic model, Nordic capitalismThe Nordic Way, Klas Eklund, Henrik Berggren and Lars Trägårdh.) หมายถึงนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมที่สามัญในประเทศกลุ่มนอร์ดิก รวมทั้งเดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และสวีเดน ซึ่งรวมระบบทุนนิยมตลาดเสรี กับรัฐสวัสดิการและการร่วมเจรจาต่อรองของแรงงานในระดับประเทศ เป็นตัวแบบที่เริ่มได้ความสนใจหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ประเทศต่าง ๆ จะต่างกันอย่างสำคัญ แต่ก็มีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน รวมทั้ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และตัวแบบนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ฉบับพระเจ้าเจมส์

ฉบับพระเจ้าเจมส์ (King James Version: KJV) หรือ ไบเบิลพระเจ้าเจมส์ (King James Bible: KJB) หรือ ฉบับอนุมัติ (Authorized Version: AV) เป็นฉบับแปลภาษาอังกฤษของคัมภีร์ไบเบิลในคริสต์ศาสนา จัดทำขึ้นสำหรับคริสตจักรอังกฤษ เริ่มดำเนินการใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และฉบับพระเจ้าเจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา)

นครซันเฟร์นันโด (กาปัมปางัน: Lakanbalen ning San Fernando; Lungsod ng San Fernando) เป็นนครและเมืองหลักของจังหวัดปัมปังกา ประเทศฟิลิปปินส์ ใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา) · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์

อร์แลนด์ราว ค.ศ. 1014 ที่ประกอบด้วยอาณาจักรต่างๆ ที่เป็นอริต่อกัน ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ (History of Ireland) การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ครั้งแรกในไอร์แลนด์เริ่มขึ้นราว 8000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อหมู่ชนของระบบสังคมล่าสัตว์-เก็บพืชผักเริ่มเดินทางเข้ามาจากแผ่นดินใหญ่ยุโรปอาจจะโดยทางสะพานแผ่นดินที่เคยเชื่อมระหว่างสองทวีป หลักฐานทางโบราณคดีของประชากรกลุ่มนี้แทบจะไม่มีร่องรอยให้เห็น แต่ผู้สืบเชื้อสายจากคนกลุ่มนี้และต่อมาของกลุ่มคนที่โยกย้ายเข้ามาจากคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้ทิ้งร่องรอยของแหล่งโบราณคดีสำคัญๆ ของยุคหินใหม่เอาไว้ เช่นอนุสรณ์นิวเกรนจ์ การมาถึงของนักบุญแพทริคและผู้เผยแพร่ศาสนาในต้นจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 คริสต์ศาสนาก็เข้ามาแทนที่ลัทธิพหุเทวนิยมของเคลติคที่มาสิ้นสุดลงโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ. 600 ตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 800 และอีกกว่าหนึ่งร้อยปีหลังจากนั้น ไวกิงก็เข้ามารุกรานไอร์แลนด์ และสร้างความวุ่นวายและความเสียหายให้แก่วัฒนธรรมของสำนักสงฆ์และกลุ่มตระกูลท้องถิ่นต่างๆ บนเกาะไอร์แลนด์ แต่กระนั้นสถาบันทั้งสองก็พิสูจน์ตนเองว่ามีความมั่นคงพอที่จะเอาตัวรอดและสามารถผสานกลืนไปกับวัฒนธรรมผู้ที่เข้ามารุกรานได้ การเข้ามาของอัศวินรับจ้างแคมโบร-นอร์มันภายใต้ริชาร์ด เดอ แคลร์ เอิร์ลแห่งเพมโบรคที่ 2 หรือที่เรียกกันว่า "Strongbow" ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทุมพร วัชรเสถียร

รองศาสตราจารย์ ประทุมพร วัชรเสถียร (สกุลเดิม: เหล่าวานิช; 27 กันยายน พ.ศ. 2486 — 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553) ชื่อเล่น ตุ้ง เป็นนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศแถบยุโรป, นักเขียน, นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ ตลอดจนเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร..ประทุมพร เป็นรัฐศาสตรบัณฑิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 14 จากนั้น ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐ ได้ป็นมหาบัณฑิตด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนด้านครอบครัว ประทุมพรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ และได้สมรสกับธีระ วัชรเสถียร สามีนับถือนิกายโรมันคาทอลิก มีบุตรชายด้วยกันคือพลธร วัชรเสถียร ร..ประทุมพร เป็นที่รู้จักมากในบทบาทนักเขียน และสื่อมวลชน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 เป็นหนึ่งใน 100 บุคคลที่ร่วมลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอมพลถนอม กิตติขจร ด้วย ถึงแก่กรรมเมื่อเวลา 04.10 น. ของวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประทุมพร วัชรเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศติมอร์-เลสเต

ติมอร์-เลสเต (Timor-Leste,, ตีโมร์แลชตือ) หรือ ติมอร์ตะวันออก (Timór Lorosa'e) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (República Democrática de Timor-Leste; Repúblika Demokrátika Timór-Leste) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (Jaco) ที่อยู่ใกล้เคียง และเทศบาลโอเอกูซี (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนาอูรู

นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศนาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคเมอรูน

แคเมอรูน (Cameroon; Cameroun) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแคเมอรูน (Republic of Cameroon; République du Cameroun) เป็นสาธารณรัฐในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตจรดไนจีเรีย ชาด สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐคองโก กาบอง อิเควทอเรียลกินี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2411

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2411 ในประเทศไท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์ลูเชีย

ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเซนต์ลูเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรู

ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2364 ชื่อเปรูมาจากคำว่า "บีรู" (Birú) ซึ่งเป็นชื่อของผู้ปกครองท้องถิ่นบริเวณอ่าวซานมีเกลในปานามา โดยบริเวณนี้เป็นจุดใต้สุดที่ชาวยุโรปรู้จักเมื่อครั้งนักสำรวจชาวสเปนมาถึงในปี พ.ศ. 2065 ดังนั้นเมื่อฟรันซิสโก ปีซาร์โรเดินทางสำรวจต่อไปทางใต้ จึงเรียกภูมิภาคเหล่านั้นว่า บีรูหรือเปรูด้วย จักรวรรดิสเปนรับรองชื่อนี้ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และประเทศเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ปรัสเซีย

ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ. 1992 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ปรากเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และปราก · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และปัญหาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช

ปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช (Peter Carl Fabergé) ปี.ศ 1846 - 1928 หนึ่งในสุดยอดช่างทอง ช่างอัญมณีที่มีชื่อเสียงในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 และยังเป็นผู้ออกแบบงานที่มีชื่อเสียงอย่างมาก งานของเขามีชื่อเสียงขจรขจายไปยังทั่วยุโรปและโลก รวมทั้งยังเป็นที่ต้องการแม้กระทั่งเหล่าบรรดาราชวงศ์ต่างๆในยุโรปในเวลานั้นด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และปีเตอร์ คาร์ล แฟเบอร์เช · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)

ปีเตอร์ เบรอเคิล ชัยชนะของความตาย (The Triumph of Death) ประมาณ พ.ศ. 2105 (ค.ศ.1562) พิพิธภัณฑ์ปราโด มาดริด ปีเตอร์ เบรอเคิล ผู้พ่อ (Pieter Bruegel de Oude,; Pieter Bruegel the Elder; พ.ศ. 2068 - 9 กันยายน พ.ศ. 2112) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช เบรอเคิลมีชื่อเสียงในด้านการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์และภาพชีวิตประจำวันโดยเฉพาะของเกษตรกร ที่ทำให้ได้รับสมญาว่า "Peasant Bruegel" เพื่อให้ต่างจากสมาชิกผู้อื่นในตระกูล "Brueghel" ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) · ดูเพิ่มเติม »

นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญองค์อุปถัมภ์

นักบุญโยเซฟ องค์อุปถัมภ์คริสตจักรสากล นักบุญองค์อุปถัมภ์ (patron saint) คือนักบุญบนสวรรค์ ซึ่งบางคริสตจักร เช่น อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โรมันคาทอลิก หรือออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ นับถือว่าเป็นผู้ที่ได้ใกล้ชิดพระยาห์เวห์และสามารถอ้อนวอนขอพรจากพระองค์เพื่อพระหรรษทานในสิ่งต่าง ๆ แก่คริสต์ศาสนิกชนบนโลก เช่น สถานที่ อาชีพ กลุ่มบุคคล เป็นต้น นักบุญต่าง ๆ มักได้รับยกย่องให้เป็นองค์อุปถัมภ์ในดินแดนที่ท่านเกิดหรือปฏิบัติศาสนกิจ ในบางกรณีสถานที่นั้นอาจไม่เกี่ยวข้องกับนักบุญขณะยังมีชีวิต แต่ได้เป็นที่ฝังศพหลังจากมรณกรรมก็ถือว่านักบุญนั้นเป็นองค์อุปถัมภ์เมืองนั้น ในลาตินอเมริกามีหลายเมืองตั้งชื่อตามนักบุญ โดยถือว่านักเดินเรือชาวโปรตุเกสและสเปนมาถึงเมืองตรงกับวันฉลองนักบุญใด ผู้ค้นพบก็จะตั้งชื่อเมืองตามชื่อนักบุญนั้น ทำให้นักบุญนั้นได้กลายเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เมืองในเวลาต่อมา นักบุญองค์อุปถัมภ์วิชาชีพมาจากอาชีพที่นักบุญนั้นเคยทำขณะยังมีชีวิตอยู่ หรือเคยแสดงการอัศจรรย์ซึ่งเทียบเทียมได้กับอาชีพนั้น ๆ เช่น นักบุญเวโรนีกาผู้ถวายผ้าคลุมผมของตนให้พระเยซูใช้ซับพระพักตร์ระหว่างเดินทางไปตรึงกางเขน แล้วเกิดปาฏิหาริย์รอยพระพักตร์ปรากฏติดบนผ้าผืนนั้น คริสตจักรจึงยกย่องนักบุญเวโรนีกาเป็นองค์อุปถัมภ์การถ่ายภาพ นิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น เพรสไบทีเรียน ไม่ยอมรับการนับถือหรือให้ความสำคัญกับนักบุญ เพราะถือว่าเข้าข่ายการบูชาเทวรูป.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนักบุญองค์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ)

นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ หรือ นักบุญเจอโรมแปลพระคัมภีร์ (Saint Jerome Writing) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1605 ถึงปี ค.ศ. 1606 เป็นภาพที่เปรียบเทียบได้กับภาพ “นักบุญเจอโรมวิปัสสนา” (พิพิธภัณฑ์สำนักสงฆ์ซานตามาเรีย, มอนเซอร์รัต) ที่เขียนในช่วงเวลาเดียวกัน และภาพในหัวข้อเดียวกันที่เขียนหลังจากนั้น “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (วาเล็ตตา)” ในขณะที่ฝ่ายโปรเตสแตนต์ต้องการจะแปลพระคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาท้องถิ่นเพื่อเป็นการเผยแพร่พระวจนะของพระเจ้าแก่บรรดาผู้นับถือคริสต์ศาสนาโดยทั่วไป ฝ่ายโรมันคาทอลิกก็พยายามในการต่อสู้เพื่อที่ให้เหตุผลในการสนับสนุนการรักษาการใช้ภาษาละตินที่แปลโดยนักบุญเจอโรมในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ต่อไป นักบุญเจอโรมได้ทำการรับศีลจุ่มจากพระสันตะปาปาองค์หนึ่ง, ได้รับมอบหน้าที่ให้เป็นผู้แปลโดยพระสันตะปาปาอีกองค์หนึ่ง และประกาศว่านักบุญปีเตอร์เป็นพระสังฆราชองค์แรกของโรม นักบุญเจอโรมเป็นผู้มีอิทธิพลมากที่สุดองค์หนึ่งในบรรดาคริสต์ศาสนปราชญ์ในการต่อต้านผู้นอกศาสนา ในการโจมตีลัทธินิยมนักบุญ และในการจำกัดการเรียนรู้ภาษาละตินให้อยู่ในวงของผู้มีการศึกษา ฉะนั้นภาพนี้จึงเป็นภาพที่เหมาะสมในการภาพแรกที่สคิปิโอเน บอร์เกเซซื้อไม่นานหลังจากที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคาร์ดินัลในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

นิกาย

นิกายในศาสนา (Religious denomination) หมายถึง หมู่ หรือพวกคณะนักบวชในศาสนาเดียวกัน ที่แยกออกไปเป็นพวก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนิกายลูเทอแรน · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาคริสต์

นิกายในศาสนาคริสต์ (Christian denominations) คือการแบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination) ก็แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church) รายการข้างล่างนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนิกายในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นียง

นียง (Nyon) เป็นเมืองในรัฐโว ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งริมทะเลสาบเจนีวาบริเวณทางเหนือของนครเจนีวาไปราว 26 กิโลเมตร ประชากรร้อยละ 37 นับถือนิกายโรมันคาทอลิก รองลงมาร้อยละ 28 นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ เมืองแห่งก่อก่อตั้งขึ้นโดยโรมันระหว่างปี 50 ถึง 44 ก่อนคริสต์ศักราช และเป็นหนึ่งในนิคมที่สำคัญที่สุดของโรมันในพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนียง · ดูเพิ่มเติม »

นครเซบู

ซบูซิตี (เซบัวโน: Dakbayan sa Sugbu; Lungsod ng Cebu) เป็นนครหนาแน่นในจังหวัดเซบู เขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ปกครองอย่างอิสระจากตัวจังหวัด ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และนครเซบู · ดูเพิ่มเติม »

แบปทิสต์

นิกายแบปทิสต์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ แบ๊บติสต์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Baptists) เป็นนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ ชื่อของนิกายนี้มาจากหลักปฏิบัติที่ปฏิเสธการทำพิธีบัพติศมาแก่ทารก แต่ยอมรับเฉพาะพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเท่านั้น คณะแบปทิสต์กำเนิดขึ้นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในประเทศอังกฤษราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นจึงแพร่ไปทั่วยุโรปเหนือ และทวีปอื่น ๆ ตามลำดับ ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแบปทิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์

แกร์ฮาร์ด ฟริทซ์ คูร์ท ชเรอเดอร์ (Gerhard Fritz Kurt Schröder; เกิด7 เมษายน ค.ศ. 1944) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี (Chancellor of Germany - ซึ่งเทียบได้กับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของไทย) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998 จนถึงปี ค.ศ. 2005 อาชีพทางการเมืองของเขาได้เปลี่ยนขั้วการเมืองจากฝ่ายซ้าย มาเป็นฝ่ายกลาง ปัจจุบันสังกัดพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยแห่งเยอรมนี (Sozialdemokratische Partei Deutschlands: SPD เอสเพเด) โดยที่เขาเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคในช่วงเวลาหนึ่งด้วย เขาทำหน้าที่ผู้นำรัฐบาลผสมระหว่างพรรคSPD กับ พรรคกรีน ก่อนจะก้าวมาเป็นนักการเมืองอาชีพ เขาเคยประสบความสำเร็จในอาชีพทนายความมาก่อน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแกร์ฮาร์ด ชเรอเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา (ภาษาอังกฤษ: Mary of Modena) (5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718) สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนามีพระนามเต็มว่า แมรี เบียทริส เอเลเนอร์ แอนนา มาร์เกอริตา อิสซาเบลลา เดสเต (Maria Beatrice Eleanor Anna Margherita Isabella d'Este) ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 ที่วังดยุก โมดีนา ประเทศอิตาลี เป็นพระธิดาของอัลฟองโซที่ 4 ดยุกแห่งโมดีนาและลอรา มาร์ตินอซซิ เป็นพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1688 และสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718 ที่วังซองเจอร์เมนอองเลย์ ปารีส ฝรั่งเศส พระศพอยู่ที่ Chaillot สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาไม่ทรงเป็นที่นิยมของประชาชนอังกฤษเพราะทรงเป็นเป็นโรมันคาทอลิก เป็นพระมารดาของ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต ประสูติเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แมนนี ปาเกียว

ฟรดดี โรช เทรนเนอร์ แมนนี ปาเกียว (Manny Pacquiao) นักมวยสากล, นักบาสเกตบอล และนักการเมืองชาวฟิลิปปินส์ เจ้าของฉายา เดอะแพ็คแมน (The Pac Man) นับเป็นนักมวยสากลอาชีพคนแรกของโลกที่ได้เป็นแชมป์โลกถึง 8 รุ่น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแมนนี ปาเกียว · ดูเพิ่มเติม »

แยกไมตรีจิตต์

แยกไมตรีจิตต์ (Maitri Chit Intersection) เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีลักษณะเป็นห้าแยกตัดกันระหว่างถนนไมตรีจิตต์, ถนนมิตรภาพไทย-จีน, ถนนพระราม 4, ถนนกรุงเกษม และซอยโปริสภา ซึ่งเป็นซอยหนึ่งของถนนข้าวหลาม แยกไมตรีจิตต์ อยู่บริเวณเชิงสะพานเจริญสวัสดิ์ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมในด้านที่มาจากแยกหัวลำโพง อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟหัวลำโพง ถือได้ว่าเป็นจุดที่เริ่มต้นเข้าสู่ย่านเยาวราช หรือไชน่าทาวน์ของกรุงเทพมหานคร และยังเป็นจุดตัดระหว่างพื้นที่เขตสามเขตอีกด้วย คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตปทุมวัน ชื่อ "ไมตรีจิตต์" มาจากชื่อของถนนไมตรีจิตต์ อันเป็นถนนสายหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม เช่นเดียวกับ วงเวียน 22 กรกฎาคม, ถนนมิตรพันธ์ และถนนสันติภาพ ที่สร้างขึ้นในวาระเดียวกัน บริเวณใกล้ทางแยก ทางฝั่งถนนไมตรีจิตต์ ยังเป็นที่ตั้งของศาสนสถานสองแห่งในสองศาสนา สองความเชื่อที่แตกต่างกัน คือ คริสตจักรไมตรีจิต เป็นคริสตจักรแบบโปรเตสแตนต์แห่งแรกในประเทศไทยและของทวีปเอเชียด้วย โดยก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแยกไมตรีจิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

แร็มบรันต์

แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแร็มบรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แอดัม เลอวีน

แอดัม โนอาห์ เลอวีน (Adam Noah Levine; เกิด 18 มีนาคม ค.ศ. 1979) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักดนตรี และนักแสดงชาวอเมริกัน รู้จักกันในฐานะนักร้องนำของวงดนตรีป็อปร็อกจากลอสแอนเจลิส มารูนไฟฟ์ แอดัม เกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย เลอวีนริเริ่มอาชีพทางดนตรีในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแอดัม เลอวีน · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคัน

นิกายแองกลิคัน (Anglicanism) คือคำที่กล่าวถึงความเชื่อหรือการปฏิบัติของนิกายศาสนาคริสต์ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับ หรือ มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคริสตจักรแห่งอังกฤษ คำว่า “อังกลิคัน” มาจากคำว่า “ecclesia anglicana” ในภาษาละตินยุคกลางที่ใช้กันมาตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแองกลิคัน · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคันคอมมิวเนียน

แองกลิคันคอมมิวเนียน (Anglican Communion) เป็นองค์การระหว่างประเทศของคริสตจักรระดับชาติและระดับภูมิภาคที่ถือนิกายแองกลิคัน มีการร่วมสมานฉันท์กับคริสตจักรแห่งอังกฤษในฐานะเป็นคริสตจักรแม่ในคอมมิวเนียน มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธานไพรเมต การร่วมสมานฉันท์ในที่นี้หมายถึงมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดหลักความเชื่อ และชาวแองกลิคันทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรใด ๆ ในคอมมิวเนียนได้ สมาชิกของแองกลิคันคอมมิวเนียนในปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 80 ล้านคนทั่วโลก นับว่าเป็นนิกายในศาสนาคริสต์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสามรองจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และแม้จะอยู่ในแองกลิคันคอมมิวเนียนด้วยกันก็ไม่ใช่ทุกคริสตจักรในคอมมิวเนียนนี้ที่ใช้ชื่อแองกลิคัน เช่น คริสตจักรแห่งไอร์แลนด์ คริสตจักรสกอตติชอีปิสโคปัล คริสตจักรอีปิสโคปัล (สหรัฐ) เป็นต้น บางคริสตจักรก็เรียกตนแองว่าแองกลิคันเพราะถือว่าสืบสายมาจากคริสตจักรในอังกฤษ เช่น คริสตจักรแองกลิคันแห่งแคนาดา แต่ละคริสตจักรมีสิทธฺิ์กำหนดหลักความเชื่อ แนวพิธีกรรม และกระบวนการทางนิติบัญญัติเป็นของตนเอง แต่โดยมากจะถือตามคริสตจักรแห่งอังกฤษ ทุกคริสตจักรมีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล มีไพรเมตเป็นประมุข อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประมุขทางศาสนาของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่ในคริสตจักรอื่น ๆ คงเป็นที่ยอมรับเฉพาะในฐานะประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในบรรดาไพรเมตในนิกายแองกลิคันจึงถือว่าอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็น บุคคลอันดับหนึ่งในบรรดาผู้ที่เท่าเทียมกัน (Primus inter pares) ชาวแองกลิคันถือว่าแองกลิคันคอมมิวเนียนเป็นคริสตจักรที่เป็นหนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ สากล และสืบมาจากอัครทูต มีทั้งความเป็นคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ ศาสนิกชนบางคนจึงถือว่าแองกลิคันเป็นนิกายคาทอลิกที่ไม่ยอมรับพระสันตะปาปา หรือเป็นนิกายโปรเตสแตนต์แบบหนึ่งแม้จะไม่มีนักเทววิทยาโดดเด่นอย่างคริสตจักรอื่น เช่น มาร์ติน ลูเทอร์ จอห์น น็อกซ์ ฌ็อง กาลแว็ง ฮุลดริช สวิงลีย์ หรือจอห์น เวสลีย์ สำนักงานแองกลิคันคอมมิวเนียนมีเลขาธิการคือศาสนาจารย์ แคนันเคนเนท เคียรันเป็นหัวหน้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแองกลิคันคอมมิวเนียน · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์ บุลิน (Anne Boleyn) เป็นบุตรีของเซอร์ทอมัส บุลิน กับเลดีเอลิซาเบธ บุลิน และเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และเป็นพระราชมารดาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ต่อมาเสด็จขึ้นเถลิงราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ) พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราว พระราชอำนาจหลังพระราชบัลลังก์ฉายเด่นชัดจากสมเด็จพระราชินีพระองค์นี้ ข้าราชการแบ่งฝักฝ่ายเป็นสองพวกคือ "คนของพระราชา" และ "คนของพระราชินี" แม้จนเมื่อท้ายที่สุดแล้วสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 จะทรงมีชัยชนะเหนือพระมเหสี สามารถสำเร็จโทษพระนางได้ ด้วยการกล่าวหาว่าพระนางสมสู่กับน้องชายแท้ ๆ ของพระนางเอง แต่ความแตกร้าวก็ยังคงมีอยู่ไม่รู้จบ พระองค์ถูกกล่าวขานถึงว่า "ราชินีแห่งอังกฤษที่โดดเด่นและสำคัญที่สุดเท่าที่เคยมี".

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1589 และเป็นพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1589 กระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1619 ที่พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตในอังกฤษ พระศพของพระองค์ตั้งอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ แอนน์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1589 เมื่อพระชนมายุได้ 14 พรรษา มีพระโอรสธิดาสามพระองค์ที่รอดมาได้จนโตรวมทั้งพระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระองค์ทรงเป็นผู้มีความเด็ดเดี่ยวพอที่จะทรงใช้ความแตกแยกของการเมืองในสกอตแลนด์เป็นเครื่องมือในการเรียกร้องสิทธิในตัวพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ จากพระเจ้าเจมส์ ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงรักพระเจ้าเจมส์ในตอนแรก แต่ต่อมาทั้งสองพระองค์ก็ทรงห่างเหินจากกัน จนในที่สุดก็ทรงแยกกันอยู่ แต่ก็ยังคงทรงมีความนับถือซึ่งกันและกันอยู่บ้าง เมื่อประทับอยู่ในอังกฤษ พระองค์ทรงหันความสนใจจากทางด้านการเมืองที่เป็นฝักเป็นฝ่ายไปเป็นการอุปถัมภ์ศิลปะ และการสร้างราชสำนักที่หรูหราของพระองค์เอง ทรงจัดให้มีการพบปะในซาลอนที่ทำให้เป็นราชสำนักของพระองค์เป็นราชสำนักที่มีวัฒนธรรมสูงที่สุดสำนักหนึ่งในยุโรป หลังจากปี ค.ศ. 1612 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ก็เริ่มเสื่อมลง จนในที่สุดก็ทรงถอนตัวจากราชสำนัก ตามทางการแล้วพระราชินีแอนน์สวรรคตในฐานะที่เป็นโปรเตสแตนต์ แต่หลักฐานบางอย่างบ่งชี้ให้เห็นว่าอาจจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกขณะใดขณะหนึ่งระหว่างที่ยังมีพระชนม์อยู่ นักประวัติศาสตร์เดิมไม่ได้เห็นว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีที่มีความสำคัญมากเท่าใดนัก และออกจะเป็นผู้มีความหลงพระองค์เอง แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความเห็นเกี่ยวกับพระองค์ก็เริ่มจะเปลี่ยนไปโดยเริ่มมีความเห็นกันว่าพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวเป็นตัวของตัวเองโดยเฉพาะทรงเป็นผู้มีความสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ทางศิลปะระหว่างสมัยจาโคเบียน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แท่นเทศน์

แท่นเทศน์มานูเอลินที่คอนเวนโตเดกริสโต (Convento de Cristo) โทมาร์ ประเทศโปรตุเกส แท่นเทศน์ (pulpit) มาจากภาษาละติน “Pulpitum” ที่แปลว่า “รั่งร้าน” หรือ “แท่น” หรือ “เวที” เป็นแท่นที่ยกสูงจากพื้นที่บาทหลวงหรือศาสนาจารย์ใช้ทั้งภายในหรือภายนอกโบสถ์คริสต์ ในบางโบสถ์จะมีที่ตั้งสำหรับปาฐกสองที่ ตามปกติแล้วผู้อยู่ทางซ้ายของผู้เข้าร่วมพิธีจะเป็น “แท่นเทศน์” เพราะการที่แท่นเทศน์มักใช้ในการอ่านจากพระวรสาร ด้านนี้ของโบสถ์จึงเรียกว่าด้านพระวรสาร (gospel side) ทางด้านขวาจะมี “แท่นอ่าน” (lectern) ที่มาจากภาษาละติน “lectus” ที่แปลว่า “อ่าน” เพราะเป็นที่สำหรับการอ่านเป็นส่วนใหญ่ที่มักจะใช้โดยฆราวาสในการอ่านบทสอนจากคัมภีร์ (ยกเว้นบทสอนจากพระวรสาร) เป็นที่นำผู้เข้าร่วมพิธีในการสวดมนต์ หรือเป็นที่ใช้ประกาศ เพราะด้านนี้ของคริสต์ศาสนสถานเป็นด้านที่ใช้อ่านบทจดหมาย (epistle lesson) ด้านนี้บางครั้งจึงเรียกว่าด้าน “บทจดหมาย” ในบางโบสถ์แท่นอ่านซึ่งเป็นที่อ่านบทจดหมาย (Epistle) ก็อยู่ทางขวาและแท่นเทศน์อยู่ทางซ้.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแท่นเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลวิน คูลิดจ์

อห์น แคลวิน คูลิดจ์ จูเนียร์ (John Calvin Coolidge, Jr.; 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 – 5 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 30 ของประเทศสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2472 - พ.ศ. 2476) มักมีผู้เรียกเขาว่า "คาลผู้เงียบขรึม" คูลิดจ์เป็นนักกฎหมายจากรัฐเวอร์มอนต์ ไต่เต้าสู่วงการเมืองด้วยการลงเล่นการเมืองในรัฐแมสซาชูเซตส์จนได้เป็นผู้ว่าการรัฐ และจากฝีมือในการจัดการกับกรณีตำรวจบอสตันสไตค์เมื่อ พ.ศ. 2462 ทำให้คูลิดจ์เป็นที่รู้จักเด่นชัดในระดับประเทศ หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2463 คูลิดจ์ได้รับการเลือกตั้งเป็นรองประธานาธิดีคนที่ 29 และได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีแทนประธานาธิบดีวาร์เรน จี. ฮาร์ดิงซึ่งถึงอสัญกรรมในตำแหน่ง คูลิดจ์ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีโดยตรงเมื่อ พ.ศ. 2467 และได้รับการกล่าวว่าเป็นรัฐบาลอนุรักษนิยมขนาดเล็ก มีหลายอย่างที่แสดงให้เห็นว่าสไตล์การบริหารประเทศของคูลิดจ์ย้อนกลับไปสู่ยุคประธาธิบดีเฉื่อยของสหรัฐฯ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344-2403) แต่คูลิดจ์ก็ได้กู้ความเชื่อมั่นของทำเนียบขาวจากเรื่องอื้อฉาวที่เกิดขึ้นในสมัยประธานาธิบดีฮาร์ดิง และหมดวาระประธานาธิบดีด้วยความนิยมค่อนข้างสูง ดังที่นักเขียนชีวประวัติของคูลิดจ์ได้กล่าวว่า "คูลิดจ์ได้หลอมจิตวิญญาณและความหวังของคนชั้นกลาง สามารถแปลและเข้าใจถึงสิ่งที่คนกลุ่มนี้ไฝ่หาและแสดงออกมา เป็นตัวแทนของความอัจฉริยะของคนในระดับเฉลี่ยนั่นเองที่เป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นพลังของคูลิดจ์" มีหลายคนที่วิพากษ์วิจารณ์คูลิดจ์ในตอนหลังว่ามีส่วนทำให้เกิดการบริหารประเทศแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอา (laissez-faire government) จนทำให้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำสุดขีด ชื่อเสียงในด้านนี้ได้เกิดซ้ำอีกในสมัยประธานาธิบดีรีแกน แต่การประเมินการบริหารประเทศของคูลิดจ์ก็ยังแยกเป็นสองฝ่ายระหว่างผู้เห็นด้วยกับการปรับขนาดของคณะรัฐมนตรีให้เล็กลง กับ ฝ่ายที่เห็นว่ารัฐบาลกลางควรเข้าไปมีส่วนในการยับยั้งผลเสียที่กำลังแรงของระบบทุนนิยม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแคลวิน คูลิดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ หรือ เจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ (Caroline Mathilde; 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2294 — 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2318) ทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ใกล้ชิดพระเจ้า

ใกล้ชิดพระเจ้า หรือ ลูกเชื่อพระองค์ (คาทอลิก) หรือ เฝ้าชิดสนิทพระเจ้า (โปรเตสแตนต์).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และใกล้ชิดพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์ชิลก็อล

ลก็อล เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์หนึ่งในสองแห่งของประเทศเกาหลีเหนือ ตั้งอยู่บนถนนควังบก เขตควังบก ทางตะวันตกของเปียงยาง โบสถ์นี้ถูกสร้างเพื่ออุทิศแด่คัง พัน-ซ็อก มัคนายิกาเพรสไบทีเรียน มารดาของคิม อิล-ซ็อง.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโบสถ์ชิลก็อล · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์กางเขนเดรสเดิน

กางเขนเดรสเดิน โบสถ์กางเขน (Kreuzkirche) เป็นโบสถ์คริสต์โปรเตสแตนต์สำนักลูเทอแรน ตั้งอยู่ในเมืองเดรสเดิน ถือเป็นโบสถ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในรัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี โบสถ์แห่งนี้มีประวัติย้อนหลังไปตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 14 โดยเริ่มแรกเป็นเพียงโบสถ์น้อย ซึ่งหลังปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโบสถ์กางเขนเดรสเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโบสถ์คริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยกอนตาเรลลี

ปลคอนทราเรลลิ (Contarelli Chapel) เป็นชาเปลหรือคูหาสวดมนต์ภายในวัดซานลุยจิเดอิฟรานเชซิที่ตั้งอยู่ที่จตุรัสนาโวนาในกรุงโรมในประเทศอิตาลี เป็นวัดที่สร้างในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่ออกแบบโดย จาโคโม เดลลา พอร์ตา (Giacomo della Porta) และสร้างโดยสถาปนิกโดเมนิโค ฟอนทานา (Domenico Fontana) ระหว่างปี ค.ศ. 1518 ถึงปี ค.ศ. 1589 เพื่อเป็นวัดประจำชาติของฝรั่งเศสในกรุงโรม ชาเปลคอนทราเรลลิมีความสำคัญในการเป็นที่ตั้งของภาพเขียนสามภาพโดยคาราวัจโจจิตรกรคนสำคัญของยุคบาโรกระหว่างปี ค.ศ. 1599 ถึงปี ค.ศ. 1600 ที่เป็นฉากชีวิตของนักบุญแม็ทธิวที่รวมทั้งภาพ: “พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว”, “แรงบันดาลใจของนักบุญแม็ทธิว” และ “การพลีชีพของนักบุญแม็ทธิว” ชาเปลสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่คาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสขื่อแม็ทธิว ควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “คอนทราเรลลิ” ในภาษาอิตาลีผู้ที่ก่อนเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโบสถ์น้อยกอนตาเรลลี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์แม่พระเดรสเดิน

แม่พระเดรสเดินในปัจจุบัน โบสถ์แม่พระเดรสเดินหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โบสถ์แม่พระเดรสเดิน (Dresden Frauenkirche เดรสเดินเฟราเอินเคียร์เชอ) เป็นโบสถ์โปรเตสแตนต์ของนิกายลูเทอแรน ในเมืองเดรสเดิน ประเทศเยอรมนี ในอดีต โบสถ์แห่งนี้ปรากฏการมีอยู่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 แรกเริ่มเป็นโบสถ์ของศาสนจักรโรมันคาทอลิกด้วยสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ ต่อมาเมื่อมีการปฏิรูปศาสนาในช่วงศตวรรษที่ 18 ก็ได้มีการรื้อโบสถ์หลังเดิมและสร้างอาคารโบสถ์หลังใหม่ที่ใหญ่โตกว่าเดิมด้วยสถาปัตยกรรมบาโรกจนแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโบสถ์แม่พระเดรสเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โกรสมึนส์เทอร์

กรสมึนส์เทอร์ (Grossmünster) เป็นโบสถ์สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์นิกายโปรเตสแตนต์ในนครซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ถือเป็นหนึ่งในสี่โบสถ์หลักของซือรืช ตามตำนานแล้ว โบสถ์แห่งนี้ถูกสร้างขึ้นโดยกษัตริย์ชาร์เลอมาญ หลังจากที่ม้าของพระองค์คุกเข่าหน้าหลุมศพของนักบุญเฟลิกซ์และเรกูลา นักบุญผู้คุ้มครองแห่งซือริช อย่างไรก็ตาม โบสถ์ที่เห็นในปัจจุบันเป็นโบสถ์ที่สร้างขึ้นใหม่ในศตวรรษที่ 12 และแล้วเสร็จใน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโกรสมึนส์เทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ

อุบิตส์ ฟรีดรีช วิลเฮล์ม โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ (Ulrich Friedrich Wilhelm Joachim von Ribbentrop) (30 เมษายน 2436 - 16 ตุลาคม 2489) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศของนาซีเยอรมนี ซึ่งเขาได้เป็นตัวแทนในการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพกับสหภาพโซเวียต เมื่อสิ้นสงครามเขาถูกตั้งข้อหาให้เป็นอาชญากรสงครามและได้รับโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอในช่วงการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เบาฮีน

ันน์ เบาฮีน (Johann Bauhin; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1541 – 26 ตุลาคม ค.ศ. 1613) หรือ ฌ็อง โบแอ็ง (Jean Bauhin) เป็นนักพฤกษศาสตร์ชาวสวิส เป็นบุตรของฌ็อง โบแอ็ง แพทย์ชาวฝรั่งเศสที่ย้ายมาอยู่ที่เมืองบาเซิลหลังเปลี่ยนมานับถือนิกายโปรเตสแตนต์ โยฮันน์มีน้องชายที่เป็นนักพฤกษศาสตร์เหมือนกันคือคัสพาร์ เบาฮีน โยฮันน์เรียนวิชาพฤกษศาสตร์กับเลออนฮาร์ท ฟุคส์ที่เมืองทือบิงเงินและร่วมเดินทางไปกับค็อนราท เก็สส์เนอร์ ก่อนจะทำงานเป็นแพทย์ที่บาเซิล ในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโยฮันน์ เบาฮีน · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันเนิส เฟอร์เมร์

''สาวใส่ต่างหูมุก'' โยฮันเนิส ไรเนียส์โซน เฟอร์เมร์ (Johannes Reynierszoon Vermeer) หรือ โยฮัน เฟอร์เมร์ (Johan Vermeer; 31 ตุลาคม พ.ศ. 2175 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2218) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ มีผลงานในด้านศิลปะบาโรก มักวาดภาพที่แสดงถึงชีวิตประจำวันธรรมดาของคน เขาใช้ชีวิตอยู่ในเมืองเดลฟท์ และเป็นจิตรกรที่ประสบความสำเร็จพอสมควรในเมืองของเขา แต่ว่าไม่ได้ร่ำรวยเป็นพิเศษเพราะสร้างผลงานค่อนข้างน้อย ผลงานที่มีชื่อเสียงได้แก่ สาวใส่ต่างหูมุก ซึ่งเป็นภาพที่รู้จักกันในชื่อ "โมนาลีซาจากทางเหนือ" เฟอร์เมร์ถูกลืมไปกว่าสองร้อยปี และกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้งเมื่อนักวิจารณ์ศิลปะชื่อ ตอเร-เบือร์เกอร์ (Thoré-Bürger) เขียนบทความระบุภาพ 66 ภาพว่าเป็นของเขา (แต่มีเพียง 35 ภาพที่เป็นที่ยอมรับอย่างแน่นอนว่าเป็นของเขาในปัจจุบัน) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชื่อเสียงของเฟอร์เมร์ก็เริ่มโด่งดังขึ้น ได้รับการยกย่องว่าเป็นจิตรกรที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ และเป็นที่ยอมรับในเรื่องเทคนิคการใช้แสงในผลงานของ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

รงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (Bangkok Christian College ย่อ: ก.ท, BCC) เรียกอย่างย่อว่า กรุงเทพคริสเตียน หรือ คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ ได้รับการสถาปนาขึ้นโดยคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน เมื่อปี พ.ศ. 2395 เป็นโรงเรียนแห่งแรกในเครือสภาคริสตจักรในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย 28 โรงเรียน กับ 2 มหาวิทยาลัย ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุ ปี เป็นโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย เป็นโรงเรียนโปรแตสแตนท์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศ และเป็นโรงเรียนเพียงแห่งเดียวในปัจจุบันที่ก่อตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยตั้งอยู่ เลขที่ 35 ถนนประมวญ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมีศิษย์เก่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงหลายคน ทั้งองคมนตรี 4 คน นายกรัฐมนตรีไทย 2 คน รัฐมนตรีหลายกระทรวง นักร้อง นักแสดง ผู้จัดรายการหลายคน และ อำนวย เสี่ยงไทร์ แพทย์ชื่อดัง โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยเป็นโรงเรียนในเครือจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลั.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวารีเชียงใหม่

รงเรียนวารีเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรงเรียนวารีเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย

รงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย (ย่อ: ป.ร., P.R.C.) เป็นโรงเรียนสหศึกษาของเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 3 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1 สังกัดสำนักงานพันธกิจการศึกษา มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์โต เบลลาร์มีโน

นักบุญโรแบร์โต เบลลาร์มีโน (San Roberto Bellarmino; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1542 – 17 กันยายน ค.ศ. 1621) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกคณะเยสุอิตชาวอิตาลี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระคาร์ดินัลและอาร์ชบิชอปแห่งกาปัว เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปคาทอลิก และตอบโต้นิกายโปรเตสแตนต์ เช่น ลูเทอแรน และลัทธิคาลวิน เพื่อปกป้องนิกายคาทอลิก ได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับคำสอนคาทอลิกซึ่งยังคงใช้มาจนทุกวันนี้ ต่อมาท่านจึงได้รับยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรแบร์โต เบลลาร์มีโน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต โอ วิลสัน

รเบิร์ต โอ วิลสัน แพทยศาสตรบัณฑิต (5 ตุลาคม 1906 —) เป็นแพทย์ชาวอเมริกันและมิชชันนารีนิกายโปรแตสแตนท์ วิลสันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและได้รับการฝึกทางการแพทย์จากสถาบันแพทยศาสตร์ฮาร์วาร์ด และสำเร็จการศึกษาในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรเบิร์ต โอ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ วิลเลียมส์

รเจอร์ วิลเลียมส์ (Roger Williams (theologian)) คือ นักเทววิทยาที่ต่อต้านอังกฤษ ผู้ซึ่งเสนออิสรภาพทางศาสนาและการแบ่งแยกโบสถ์ของรัฐ ใน ค.ศ. 1636 เขาก่อตั้งอาณานิคมสวนพรอวิเดนซ์ (Providence Plantations) ซึ่งเป็นที่หลบภัยสำหรับชนกลุ่มน้อยทางศาสนา วิลเลี่ยมส์ได้ก่อตั้งนิกายโปรแตสแตนต์แห่งแรกในอเมริกา (First Baptist Church in America) ที่เมืองพรอวิเดนซ์ รัฐโรดไอแลนด์ เขาเริ่มศึกษาภาษาท้องถิ่นของอเมริกาและการค้าขายที่เป็นธรรมกับชาวอเมริกันพื้นเมือง วิลเลี่ยมส์เป็นผู้ที่เห็นด้วยกับการเลิกทาสคนแรกๆ ในอเมริกาเหนือ ซึ่งมีการก่อตั้งและพยายามห้ามไม่ให้มีการค้าทาสในอาณานิคมทั้งสิบสามของอังกฤษ.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโรเจอร์ วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

โจเอาเปสโซอา

อาเปสโซอา (João Pessoa) เป็นเมืองหลวงของรัฐปาราอีบา ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโจเอาเปสโซอา · ดูเพิ่มเติม »

โคฟี แอนนัน

ฟี แอนนัน (Kofi Annan) เกิดวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1938 เป็นนักการทูตชาวกานา และ เป็นอดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ แอนนันนับเป็นเลขาธิการองค์การสหประชาชาติคนที่ 7 โดยรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997 และหมดวาระเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2006 โคฟี แอนนัน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโคฟี แอนนัน · ดูเพิ่มเติม »

โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์

ซฟีแห่งพาลาทิเนต (Sophie von der Pfalz) หรือ โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ (Sophie von Hannover) หรือ โซเฟียแห่งแฮโนเวอร์ (Sophia of Hanover) เป็นเจ้าหญิงเยอรมัน-สกอตแลนด์ ผู้กลายเป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ จากการที่นางเป็นพระราชนัดดา (หลานตา) ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทำให้เธอมีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษ ท่านหญิงโซฟีเกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โปร์ตูอาเลกรี

ปร์ตูอาเลกรี (Porto Alegre) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐรีโอกรันดีโดซูล ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโปร์ตูอาเลกรี · ดูเพิ่มเติม »

โน แท-อู

น แท-อู (Roh Tae-woo; 4 ธันวาคม พ.ศ. 2475 -) เป็นอดีตนายพลของกองทัพบกเกาหลีใต้และนักการเมือง เขาเป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ลำดับที่ 6 (2531-2536) โนเป็นเพื่อนกับช็อน ดู-ฮวัน ตั้งแต่อยู่สมัยมัธยมปลายที่เมืองแดกู และในสมัยวัยรุ่นเขายังเป็นผู้เล่นรักบี้ที่ยอดเยี่ยมของสมาคมอีกด้วย, retrieved 19 August 2009.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และโน แท-อู · ดูเพิ่มเติม »

ไมก์ เพนซ์

มเคิล ริชาร์ด เพนซ์ (Michael Richard Pence) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ไมก์ เพนซ์ (Mike Pence) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก่อนหน้านี้เขาเป็นผู้ว่าการรัฐอินดีแอนาระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และไมก์ เพนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอรดา ศิริวุฒิ

อรดา ศิริวุฒิ ชื่อเล่น ไอด้า (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย เข้าวงการจากการถ่ายนิตยสารวัยรุ่น โฆษณาและมิวสิกวีดิโอ ก่อนที่จะเป็นนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่อง สามมิติ และ เลิฟ จุลินทรีย์ รักมันใหญ่มาก ปัจจุบันเป็นนางแบบ ดีเจ และพิธีกรรายการไนซ์แชนเนล (Nice Channel).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และไอรดา ศิริวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

ไอศูรย์ วาทยานนท์

อศูรย์ วาทยานนท์ (ชื่อเล่น โอ๋) เป็น นักแสดง ดีเจชาวไทย นักร้องอดีตสมาชิกวง แกรนด์เอ๊กซ์ มีเพลงดังอย่างเพลง ‘สายใย’ และ 'ฉันจะบิน'.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และไอศูรย์ วาทยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดา

อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน เชียส์

นจามิน เฮนรี เชียส์ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2450 – 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) เป็นประธานาธิบดีสิงคโปร์คนที่ 2 สะพานเบนจามิน เชียส์ ได้ชื่อตามเขา เบนจามิน เชียส์ เข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสิงคโปร์เมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเบนจามิน เชียส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟราเอินเฟ็ลท์

ฟราเอินเฟ็ลท์ (Frauenfeld) เป็นเมืองหลวงของรัฐทัวร์เกา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากนครซือริชไปราว 45 กิโลเมตร ชื่อเฟราเอินเฟ็ลท์ปรากฎในเอกสารครั้งแรกในปี 1246 ว่า Vrowinvelt (โฟรวอินเฟ็ลท์) ประชากรร้อยละ 42 นับถือโปรเตสแตนต์ รองลงมาร้อยละ 37 นับถือโรมันคาทอลิก ประชากรราวร้อยละ 23 ของเมืองเป็นพลเมืองต่างชาติ accessed 19 June 2010.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเฟราเอินเฟ็ลท์ · ดูเพิ่มเติม »

เพรสไบทีเรียน

็อง กาลแว็ง นิกายเพรสไบทีเรียนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 431 (Presbyterianism) เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีต้นกำเนิดที่สกอตแลนด์ ยึดถือแนวคิดทางเทววิทยาแบบลัทธิคาลวิน และมีการจัดระเบียบองค์การแบบเพรสไบทีเรียน หลักเทววิทยาแบบเพรสไบทีเรียนเน้นเรื่องอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า สิทธิอำนาจของคัมภีร์ไบเบิล และการรับพระคุณจากพระเจ้าได้โดยการศรัทธาในพระเยซูเท่านั้น ในสกอตแลนด์วิธีการปกครองคริสตจักรของเพรสไบทีเรียนได้รับการรับประกันตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 นิกายเพรสไบทีเรียนสมัยใหม่สืบเค้าไปได้ถึงการปฏิรูปศาสนาในสกอตแลนด์ คริสตจักรท้องถิ่นแต่ละแห่งปกครองโดยคณะธรรมกิจซึ่งมาจากตัวแทนของคริสตจักรนั้น ในทางทฤษฎีนิกายนี้ไม่มีการแต่งตั้งบิชอป แต่มีการสถาปนาโดยการเลือกตั้งคณะผู้ปกครองขึ้นเพื่อทำหน้าที่อภิบาลคริสต์ศาสนิกชนหรือสมาชิกคริสตจักร รวมไปถึงการตัดสินใจต่าง ๆ ในคริสตจักร มีมัคนายกทำหน้าที่ดูแลสมาชิกและครอบครัวและส่วนมากดูแลเรื่องการเงินของคริสตจักร ผู้ปกครองและมัคนายกจะมีวาระการประจำการ วาระละ 2-3 ปี แล้วแต่คริสตจักรนั้น ๆ จะกำหนด ตำแหน่งผู้ปกครองเมื่อได้รับการสถาปนาแล้วจะอยู่ในศาสนศักดิ์นั้นตลอดชีพ นิกายเพรสไบทีเรียนมีต้นกำเนิดมาจากการปฏิรูปศาสนาในยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งมีฌ็อง กาลแว็งเป็นหนึ่งในนักปฏิรูปคนสำคัญ คริสตจักรปฏิรูปส่วนมากสืบมีวิธีการปกครองที่สามารถสืบย้อนไปได้ทั้งแบบเพรสไบทีเรียนและคองกรีเกชันแนล ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คริสตจักรเพรสไบทีเรียนหลายแห่งเริ่มมีบทบาทในขบวนการคริสต์ศาสนสัมพันธ์ เช่น การตั้งสภาคริสตจักรสากล บางคริสตจักรในนิกายนี้ยังเริ่มหันมาทำงานร่วมกับคริสตจักรปฏิรูปกลุ่มอื่น ๆ บ้างก็เข้าร่วมกลุ่มกับนิกายอื่นเลย เช่น คริสตจักรคองกรีเกชันแนล ลูเทอแรน แองกลิคัน และเมทอดิสต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเพรสไบทีเรียน · ดูเพิ่มเติม »

เก็จมณี วรรธนะสิน

ก็จมณี วรรธนะสิน (สกุลเดิม: พิชัยรณรงค์สงคราม; 4 มกราคม พ.ศ. 2517) มีชื่อเล่นว่า ปิ่น เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย และเป็นภรรยาของเจตริน วรรธนะสินซึ่งเป็นนักร้องและนักแสดงเช่นกัน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเก็จมณี วรรธนะสิน · ดูเพิ่มเติม »

เมืองแมนแดนสันติ

มืองแมนแดนสันติ เป็นชื่อรัฐซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลในประเทศจีนตั้งแต..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเมืองแมนแดนสันติ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล ดูร์ไกม์

วิด เอมิล ดูร์ไกม์ (David Émile Durkheim) (15 เมษายน ค.ศ. 1858 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917) เป็นผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของสังคมวิทยาสมัยใหม่ เขายังเป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาสังคมวิทยาแห่งแรกในยุโรปในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเอมิล ดูร์ไกม์ · ดูเพิ่มเติม »

เอรัสมุส

อรัสมุส เมื่อ พ.ศ. 2066 วาดโดยฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) เดซีเดริอุส เอรัสมุส โรเตโรดามุส (Desiderius Erasmus Roterodamus) หรือ เดซีเดริอุส เอรัสมุส แห่งรอตเทอร์ดามเอรัสมุส เป็นชื่อเมื่อเขารับศีลล้างบาป โดยตั้งตามนักบุญเอรัสม.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเอรัสมุส · ดูเพิ่มเติม »

เอโลฮิม

อักษร เอโลฮิม ในภาษายิว เอโลฮิม (אֱלֹהִים ’ĕlōhîm) เป็นหนึ่งในพระนามของพระเป็นเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์ฮีบรู.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเอโลฮิม · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ด ชีแรน

อ็ดเวิร์ด คริสโตเฟอร์ "เอ็ด" ชีแรน (Edward Christopher "Ed" Sheeran) เกิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเอ็ด ชีแรน · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

อมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิท.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต

“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต” มาเรีย คลีเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ ผู้อ้างสิทธิ(ภาษาอังกฤษ: James Francis Edward Stuart หรือ The Old Pretender หรือ The Old Chevalier) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 – 1 มกราคม ค.ศ. 1766) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า The Old Pretender (ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์) เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชอาณาจักรอังกฤษ และราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธ

มส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1 หรือ เจมส์ ครอฟต์ (ภาษาอังกฤษ: James Scott, 1st Duke of Monmouth หรือ James Crofts) (9 เมษายน ค.ศ. 1649 - (15 กรกฎาคม ค.ศ. 1685) เจมส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1 เกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1649 ที่ร็อตเตอร์ดัมในประเทศเนเธอร์แลนด์และเสียชีวิตโดยการถูกประหารชีวิตที่หอคอยแห่งลอนดอน, อังกฤษ เจมส์ สกอตต์เป็นโอรสนอกกฎหมายของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและพระสนมลูซิ วอลเตอร์ (Lucy Walter) ผู้ที่ติดตามพระองค์ไปลี้ภัยในยุโรปหลังจากที่พระราชบิดาของพระองค์--พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1--ทรงถูกปลงพระชนม์ ต่อมาตัวดยุคแห่งมอนม็อธเองก็ถูกประหารชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1685 หลังจากการพยายามโค่นราชบัลลังก์ของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ที่เรียกกันว่ากบฏมอนม็อธ (Monmouth Rebellion) โดยการประกาศตนว่าเป็นพระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 และเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อสร้างความนิยมต่อประชาชนในอังกฤษในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าเจมส์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจมส์ สกอตต์ ดยุกที่ 1 แห่งมอนมัธ · ดูเพิ่มเติม »

เจียง ไคเชก

ียง ไคเชก (Chiang Kai-shek; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1887 — 5 เมษายน ค.ศ. 1975) หรือชื่อตามภาษาจีนมาตรฐาน คือ เจี่ยง จงเจิ้ง (蔣中正) หรือ เจี่ยง เจี้ยฉือ (蔣介石) เป็นผู้นำจีน เจียงจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นขุนศึกค้ำบัลลังก์ของซุน ยัตเซน ได้เป็นผู้นำของจีนระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจียง ไคเชก · ดูเพิ่มเติม »

เจตริน วรรธนะสิน

ตริน วรรธนะสิน ชื่อเล่น เจ (28 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันดีในชื่อ เจ เจตริน เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานเพลงแนวแร็ปยุคแรกของประเทศไทย และนักกีฬาเจ็ตสกี และยังทำงานอีกหลายอย่าง เช่น พิธีกรโทรทัศน์และเป็นเจ้าของบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจตริน วรรธนะสิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก

อร์จแห่งเดนมาร์ก เจ้าชายพระราชสวามี (Prince George of Denmark) (2 เมษายน ค.ศ. 1653 - 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708) เจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์กประสูติเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1653 ที่โคเปนเฮเกนในประเทศเดนมาร์ก เป็นพระโอรสองค์ที่สามของพระเจ้าเฟรดเดอริคที่ 3 แห่งเดนมาร์กและพระราชินีโซฟี อมาลี (Sophie Amalie of Brunswick-Lüneburg) เป็นพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ ระหว่างวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708 เจ้าชายจอร์จสิ้นพระชนม์เมื่อ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1708 ที่พระราชวังเค็นซิงตัน ประเทศอังกฤษ พระศพตั้งอยู่ที่แอบบีเวสต์มินสเตอร.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจ้าชายจอร์จแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก

้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก (พระนามเดิม ชาร์ลีน ไลเนตต์ วิตต์สท็อก, ประสูติ 25 มกราคม พ.ศ. 2521) อดีตนักกีฬาว่ายน้ำทีมชาติแอฟริกาใต้ และได้ดำรงอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งโมนาโก ในฐานะพระชายาในเจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก หลังจากที่ตำแหน่งดังกล่าวได้ว่างลงหลังการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงเกรซ พระมารดาของสวามี.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1603–1625) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643–1715) ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” มาเริ่มลดความสำคัญลงในระหว่างสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเทวสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวาธิปไตย

ทวาธิปไตย (Theocracy) คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy) ระบอบเทวาธิปไตยควรจะแยกจากระบบการปกครองอื่น ๆ ที่มีศาสนาประจำชาติ (state religion) หรือรัฐบาลที่มีอิทธิพลจากเทวปรัชญาหรือศีลธรรม หรือระบบราชาธิปไตยที่ปกครอง “โดยพระคุณของพระเจ้า” (By the Grace of God) เทวาธิปไตยอาจจะเป็นระบบการปกครองเดี่ยวที่ฐานันดรระดับต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรเป็นฐานันดรระดับเดียวกันกับที่ใช้ในการปกครองในศาสนจักร หรืออาจจะแบ่งเป็นสองระบบที่แยกฐานันดรระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร การปกครองเทวาธิปไตยเป็นระบบที่ใช้ในหลายศาสนาที่ได้แก่ ศาสนาขงจื๊อ ศาสนายูดาห์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู พุทธศาสนาบางนิกายเช่นทะไลลามะ และ คริสต์ศาสนาบางนิกายที่รวมทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์ และมอร์มอน ตัวอย่างของการปกครองระบบเทวาธิปไตยของคริสต์ศาสนาก็ได้แก่การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่าง..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเทวาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลมหาพรต

ผ้าคลุมไม้กางเขนที่โบสถ์แห่งหนึ่งในประเทศเยอรมนี เทศกาลมหาพรต (คาทอลิก) หรือเทศกาลเข้าสู่ธรรม (โปรเตสแตนต์) ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 314-5 (Lent; Quadragesima แปลว่า ที่สี่สิบ เว็บไซต์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ) เป็นหนึ่งในเทศกาลสำคัญของศาสนาคริสต์ เริ่มต้นจากวันพุธรับเถ้าและสิ้นสุดวันอีสเตอร์ รวม 40 วัน โดยเทศกาลนี้มีไว้เพื่อระลึกถึงพระทรมานและการคืนพระชนม์ของพระเยซูคริสต์ โดยกิจที่คริสต์ศาสนิกชนปฏิบัติในช่วงนี้คือการอธิษฐาน การบริจาคสิ่งของ การอดอาหาร และการไม่ฟุ่มเฟือย ทั้งนี้ระยะเวลา 40 วันมีความสำคัญเนื่องจากเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลมีความเกี่ยวข้องกับตัวเลข 40 ไม่ว่าจะเป็น การบำเพ็ญเพียรอดอาหารของพระเยซูเป็นเวลา 40 วัน โมเสสอยู่บนเขากับพระเจ้า 40 วัน เกิดน้ำท่วมโลกในสมัยโนอาห์ 40 วัน และการอพยพของชาวยิวเข้าสู่ดินแดนแห่งพันธสัญญาก็ใช้เวลายาวนานถึง 40 ปี อย่างไรก็ดีเมื่อนับวันจริง ๆ แล้วจะเป็น 46 วัน เนื่องจากชาวคริสต์จะไม่จำศีลอดอาหารในวันอาทิตย์ จึงเหลือเพียง 36 วันและต้องเพิ่มวันจำศีลอีก 4 วันให้ครบ 40 วัน เทศกาลมหาพรตจึงเลื่อนมาเริ่มในวันพุธ (วันพุธรับเถ้า) ต่างกับเทศกาลอื่น ๆ ที่เริ่มจากวันอาทิตย์แรกธรรมเนียมนี้ปฏิบัติกันในเฉพาะฝั่งศาสนาคริสต์ตะวันตก ส่วนในศาสนาคริสต์ตะวันออกจะเริ่มต้นวันจันทร์ เรียกว่า "วันจันทร์สะอาด" (Clean Monday) เว็บไซต์คริสตจักรวัฒนา ชาวคริสต์หมู่มากฉลองเทศกาลนี้ (เช่น โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ และแองกลิคัน) ขณะที่บางกลุ่มเริ่มให้ความสำคัญกับเทศกาลนี้มากขึ้น (เช่น คริสตจักรแบปทิสต์).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเทศกาลมหาพรต · ดูเพิ่มเติม »

เดอเลมง

อเลมง (Delémont) เป็นเมืองหลวงของรัฐฌูว์ราในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ใกล้พรมแดนประเทศฝรั่งเศส ประชากรราว 70% นับถือนิกายโรมันคาทอลิก และอีก 12% รับถือนิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเดอเลมง · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million. For population comparisons, see also those maps:,. แห่งหนี่งในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โครงสร้างทางการเมืองเป็นกึ่งสหพันธรัฐ กึ่งราชาธิปไตย เครือจักรภพก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เคลอจี

ลอจี เคลอจี (clergy อ่านว่า เคลอ-จี) คือ ผู้ได้รับศีลบวช ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่านักบวช รูปเอกพจน์เรียกว่าเคลริก (cleric) ศาสนาคริสต์เริ่มใช้คำนี้เพื่อหมายถึงศาสนบุคคลที่ได้รับศีลบวช ได้แก่ ดีกัน บาทหลวง และบิชอป ในปัจจุบันหมายถึง บุคคลในศาสนาใด ๆ ที่ผ่านพิธีบวชเพื่อปฏิบัติหน้าที่รับใช้ศาสน.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเคลอจี · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีฮอลแลนด์

อาณาจักรเคานท์แห่งฮอลแลนด์ (Graafschap Holland, County of Holland) เป็นอที่ปกครองโดยเคานท์แห่งฮอลแลนด์ อาณาจักรเคานท์แห่งฮอลแลนด์ก่อตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 และมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1795 ที่ตั้งของอาณาจักรใกล้เคียงกับบริเวณจังหวัดฮอลแลนด์เหนือและฮอลแลนด์ใต้ของประเทศเนเธอร์แลนด์ปัจจุบัน และรวมทั้งเกาะ Terschelling, Vlieland, Urk และ Schokland แต่ไม่รวมเกาะต่างๆ ของฮอลแลนด์ใต้ เมืองหลวงของอาณาจักรอยู่ที่เฮก.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเคาน์ตีฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ชุ่ยเหวิน

ติ้งชุ่ยเหวิน (Sheren Tang) นักแสดงหญิงมากความสามารถที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จมากที่สุดคนหนึ่งของจอแก้วฮ่องกง ผู้ได้รับขนานนามว่าเป็นราชินีกระชากเรตติ้ง และรางวัล TV Queen 2 ปีซ้อนคนแรกในประวัติศาสตร์ของสถานีโทรทัศน์ TVB คนนี้ เป็นที่รู้จักในแวดวงบันเทิงแดนมังกรในบท จิวจี้เยียก จากเรื่องดาบมังกรหยก ตอน เทพบุตรมังกรฟ้า หยูเฟย จากเรื่องศึกรักจอมราชันย์ จากเรื่องยอดหญิงจอมทระนง เกามุ่ยหรือ Miss 9 จากเรื่องยอดหญิงจอมทระนงภาค 2 และล่าสุดกับบท บูเช็คเทียน จักรพรรดินีคนแรกและคนเดียวในประวัติศาสตร์ชาติจีนจากละครคอเมดี้เรื่องเหม่ยเหรินจื้อจ้าว อีกทั้งในช่วงยุค 80s เธอเคยได้รับสมญานามว่า "สาวงามในชุดโบราณที่เลอโฉมที่สุด" และ "องเหม่ยหลิงน้อย" (โดยเธอถูกคาดหวังว่าจะขึ้นมาแทนที่ องเหม่ยหลิง ดาราสาวผู้ล่วงลับไปก่อนวัยอันควรนั่นเอง).

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเติ้ง ชุ่ยเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์

"นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก เซนต์ (Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์

ริสตจักรเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์ (Seventh-day Adventist Church) เป็นคริสตจักรและนิกายหนึ่งในขบวนการแอดเวนทิสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ ที่ถือวันเสาร์เป็นวันสะบาโต และรอรับเสด็จพระเยซูที่จะเสด็จมาอีกครั้ง นิกายนี้มีพัฒนาการมาจากขบวนการมิลเลไรต์ในสหรัฐอเมริกาช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เนอชาแตล

นอชาแตล (Neuchâtel) เป็นเมืองหลวงของรัฐเนอชาแตล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตะวันตกของทะเลสาบเนอชาแตล ประชากรร้อยละ 33 นับถือโรมันคาทอลิก รองลงมาร้อยละ 28 นับถือโปรเตสแตนต์ เมืองนี้เริ่มสามารถย้อนประวัติได้ถึงปี..

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเนอชาแตล · ดูเพิ่มเติม »

เนเฟช

นเฟช (נֶפֶש) เป็นคำที่ปรากฏในคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ หมายถึง "ชีวิต" ซึ่งมีอยู่ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงเมื่อผู้นั้นตาย เนเฟชตามความเข้าใจของศาสนายูดาห์และพยานพระยะโฮวาจึงไม่ใช่วิญญาณอมตะ ศาสนาคริสต์ได้พัฒนาความเชื่อนี้ต่อมาว่าเนเฟชหรือ "พซีเค" ในภาษากรีกเป็นวิญญาณอมตะ จะดำรงอยู่ต่อไปแม้ว่าร่างกายจะแตกสลายไปแล้วก็ตาม นิกายโปรเตสแตนต์ฝ่ายลัทธิคาลวินเชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะ และยังมีความรู้สึกอยู่ตลอดแม้ตายไปแล้ว แต่ฝ่ายลูเทอแรนว่าวิญญาณเป็นมตะ จะหลับใหลไปจนกว่าบรรดาผู้ตายจะคืนชีพ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เชื่อว่าวิญญาณจะไปอยู่ที่แดนผู้ตาย ส่วนนิกายโรมันคาทอลิกเชื่อว่าผู้ที่ยังไม่ได้รับการชำระให้บริสุทธิ์จะต้องไปอยู่ในแดนชำระก่อน เมื่อบริสุทธิ์แล้วจึงขึ้นสวรรค์ต่อไป ตั้งแต่สังคายนาลาเตรันครั้งที่ห้า คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าผู้ไม่เชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะเป็นพวกนอกรีต.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และเนเฟช · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โปรเตสแตนต์และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ProtestantProtestantismProtestantsศาสนาคริสเตียนคริสตจักรโปรเตสแตนท์นิกายโปรแตสแตนท์นิกายโปรแตสแตนต์นิกายโปรเตสแทนท์นิกายโปรเตสแทนต์นิกายโปรเตสแตนต์โปรแตสแตนท์โปรเตสแตนท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »