สารบัญ
75 ความสัมพันธ์: ฟรานซ์ คาฟคาฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตพ.ศ. 2481พ.ศ. 2554พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนีพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพิลส์เนอร์พิธีมิสซาที่บอลเซนากัฟรีโล ปรินซีปการบุกครองโปแลนด์การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนีการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนีการโยนออกนอกหน้าต่างกาเรล ชาเปกกุสตาฟ มาห์เลอร์มารี อ็องตัวแน็ตมูแลงรูจ!มงกุฎมงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรียมงกุฎเซนต์เวนสลาสยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3ยีห์ลาวารัฐร่วมประมุขรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวียรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ราชวงศ์ลอแรนราชวงศ์ฮาพส์บวร์ครายชื่อสนธิสัญญารายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมียรายพระนามพระมหากษัตริย์โครเอเชียริชาร์ด เอิร์ลที่ 1 แห่งคอร์นวอลล์ลุดมิลาแห่งโบฮีเมียลูกโลกประดับกางเขนวาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมียศิลปะกอทิกนานาชาติสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1สงครามออสเตรีย-ปรัสเซียอันโตญีน ดโวชากอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค)จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรียจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี... ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »
ฟรานซ์ คาฟคา
ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".
ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต
ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต หรือพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งโบฮีเมีย (Friedrich V, Frederick V, Elector Palatine; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1596 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต
พ.ศ. 2481
ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..
ดู โบฮีเมียและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนี
ระเจ้าอัลแบรชท์ที่ 2 แห่งฮับส์บูร์ก''' ดยุกอัลแบรชท์ที่ 5 แห่งออสเตรีย (Albrecht V von Habsburg Albert V, Duke of Austria. -10 สิงหาคม พ.ศ. 1940 - 27 ตุลาคม พ.ศ.
ดู โบฮีเมียและพระเจ้าอัลเบรชท์ที่ 2 แห่งเยอรมนี
พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน
ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.
ดู โบฮีเมียและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน
พิลส์เนอร์
พิลส์เนอร์ เป็นเบียร์ที่มีสีอ่อน พิลส์เนอร์ (Pilsener) หรือบางครั้งย่อว่า พิลส์ (Pils) หรือ พิลเซิน (Pilsen) เป็นเบียร์ลาเกอร์ชนิดหนึ่ง มีต้นกำเนิดจากเมืองเปิลเซน (Plzeň) ในโบฮีเมียตะวันตก (ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก พิลส์เนอร์เป็นเบียร์มีสีอ่อนรสจืด มีเปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์ต่ำร้อยละ 3.4 – 4.9 หมวดหมู่:เบียร์.
พิธีมิสซาที่บอลเซนา
ูบทความหลักที่ ห้องราฟาเอล พิธีมิสซาที่บอลเซนา (The Mass at Bolsena) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เขียนในปี ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและพิธีมิสซาที่บอลเซนา
กัฟรีโล ปรินซีป
กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.
การบุกครองโปแลนด์
การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.
ดู โบฮีเมียและการบุกครองโปแลนด์
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค
ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..
ดู โบฮีเมียและการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค
การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี
ือนตุลาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ (ยืนอยู่ในเมอร์ซิเดส) ขับผ่านฝูงชนในเชบ ส่วนหนึ่งของภูมิภาคซูเดเทินลันด์ที่มีประชากรชาวเยอรมันอาศัยอยู่มากของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งถูกผนวกเข้ากับนาซีเยอรมนีจากความตกลงมิวนิก การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี (ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี
การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี
ษณาเชิญชวนงดสูบบุหรี่ของนาซีหัวข้อว่า "การสูบบุหรี่ลูกโซ่" กล่าวว่า "เขาไม่ได้กลืนมัน (บุหรี่) แต่เป็นมันที่กลืนเขาเข้าไป" การรณรงค์ต่อต้านบุหรี่ในนาซีเยอรมนี นับว่าเป็นการรณรงค์งดสูบบุหรี่ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในโลก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 จนถึงช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1940 นาซีเยอรมนีเป็นชาติแรก ๆ ที่มีการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ การรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ได้เจริญขึ้นอย่างมากในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 "นักวิทยาศาสตร์มีความคิดที่จะห้ามปรามการสูบบุหรี่ในช่วงต้นของศตวรรษในหลายประเทศ แต่พวกเขาประสบความสำเร็จเพียงเล็กน้อย ยกเว้นในเยอรมนีที่ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เหล่านั้นได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลหลังจากพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ" แต่ว่าประสบความสำเร็จน้อยมาก ยกเว้นในนาซีเยอรมนีซึ่งได้มีการรณรงค์อย่างแข็งขันที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลภายใต้การนำของพรรคนาซี ผู้นำชาติสังคมนิยมได้คัดค้านการสูบบุหรี่ และวิพากษ์วิจารณ์ผลกระทบจากการสูบบุหรี่อย่างเปิดเผย การวิจัยถึงบุหรี่และผลของการสูบบุหรี่ได้รับการสนับสนุนในยุคสมัยของพรรคนาซี และกลายเป็นงานวิจัยที่มีความสำคัญมากในสมัยนั้น ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เองแล้ว เขาเป็นคนเกลียดบุหรี่ และมีนโยบายในการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ และนโยบายดังกล่าวต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากลัทธิต่อต้านยิวและคตินิยมเชื้อชาติ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนียังรวมไปถึง การห้ามสูบบุหรี่ในรถราง รถโดยสารประจำทางและรถไฟประจำเมือง การสนับสนุนวิชาสุขศึกษา การกำหนดการปันส่วนบุหรี่ในกองทัพบก การจัดการบรรยายเรื่องยาให้แก่ทหาร และการเพิ่มภาษีบุหรี่ พวกชาติสังคมนิยมยังกำหนดให้มีการจำกัดการโฆษณาบุหรี่และการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ รวมไปถึงการวางระเบียบร้านอาหารและบ้านกาแฟ การรณรงค์งดสูบบุหรี่ไม่ได้ประสบความสำเร็จมากนักในช่วงต้นของยุคนาซี และปริมาณการบริโภคบุหรี่ก็เพิ่มมากขึ้นในช่วง ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและการรณรงค์งดสูบบุหรี่ในนาซีเยอรมนี
การโยนออกนอกหน้าต่าง
มพ์จากบัญชรฆาตแห่งปรากในปี ค.ศ. 1618 “ความตายของนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี” จาก “''Foxe's Book of Martyrs''” ฉบับ ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและการโยนออกนอกหน้าต่าง
กาเรล ชาเปก
กาเรล ชาเปก (Karel Čapek,; 9 มกราคม พ.ศ. 2433 – 25 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก ผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot (หุ่นยนต์) ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.
กุสตาฟ มาห์เลอร์
กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.
ดู โบฮีเมียและกุสตาฟ มาห์เลอร์
มารี อ็องตัวแน็ต
มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.
ดู โบฮีเมียและมารี อ็องตัวแน็ต
มูแลงรูจ!
มูแลงรูจ! (Moulin Rouge!) เป็นภาพยนตร์เพลงเรื่องที่สามในภาพยนตร์ชุดไตรภาค "The Red Curtain Trilogy" ของบาซ เลอห์มานน์ ออกฉายในปี..
มงกุฎ
มงกุฎของพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์กปัจจุบันตั้งอยู่ที่ปราสาทโรเซ็นบอร์กในกรุงโคเปนเฮเกน '''มงกุฎ'''ของจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีที่ทรงสวมในวันราชาภิเษกของพระสวามี มงกุฎ (crown; สะกดด้วยตัว ฎ ชฎา) คือเครื่องสวมศีรษะที่เป็นสัญลักษณ์ที่สวมโดยพระมหากษัตริย์ หรือผู้นำทางศาสนาที่เป็นเครื่องหมายของความมีอำนาจทางการเมือง, ความมีสิทธิ, ความเป็นอมตะ, ความชอบธรรมในการเป็นกษัตริย์, ชัยชนะ, การฟื้นฟู, เกียรติยศ และความรุ่งโรจน์ของผู้สวม ทางด้านศิลปะมงกุฎอาจจะแสดงในภาพที่มีเทวดาประทานมงกุฎให้แก่มนุษย์ นอกจากมงกุฎที่สร้างกันตามปกติแล้ว อาจจะทำจากดอกไม้, ดาว, ใบไม้, หรือหนาม แต่มงกุฎประจำตำแหน่งแล้วส่วนใหญ่จะทำจากโลหะและอัญมณี.
มงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย
้านหน้ามงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทรงมงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และทรงถือคทาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับมงกุฎในพระหัตถ์ มงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Österreichische Kaiserkrone หรือ Krone des Kaisertums Österreich, Imperial Crown of Austria) เป็นมงกุฎที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งออสเตรียของจักรวรรดิออสเตรีย เดิมเป็นของสมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ บางครั้งจึงเรียกว่า “มงกุฎจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2” หรือ “มงกุฎแห่งจักรวรรดิออสเตรีย”.
ดู โบฮีเมียและมงกุฎจักรพรรดิแห่งออสเตรีย
มงกุฎเซนต์เวนสลาส
มงกุฎเซนต์เวนสลาส (Crown of Saint Wenceslas) เป็นมงกุฎที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งราชอาณาจักรโบฮีเมียที่สร้างเมื่อปี ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและมงกุฎเซนต์เวนสลาส
ยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
ัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ (Jan Evangelista Purkyně,; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1787 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1869) หรือ โยฮันน์ เอวังเกลิสท์ พูร์คินเยอ (Johann Evangelist Purkinje) เป็นนักกายวิภาคศาสตร์และนักสรีรวิทยาชาวเช็ก.
ดู โบฮีเมียและยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ
ยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3
ูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3 (Europa Universalis III) เรียกโดยย่อว่า EUIII หรือ EU3 เป็นวีดีโอเกมแนววางแผนการรบแบบเรียลไทม์ที่เน้นยุทธศาสตร์ระดับประเทศ พัฒนาโดยพาราด็อกซ์ ดีวีลอปเมนต์ สตูดิโอ และจัดจำหน่ายโดยบริษัทพาราด็อกซ์ อินเตอร์แอ็คทีฟ ตัวเกมหลักสำหรับวินโดวส์วางจำหน่ายในเดือนมกราคม..
ดู โบฮีเมียและยูโรปา ยูนิเวอร์ซาลิส 3
ยีห์ลาวา
ยีห์ลาวา (Jihlava,; Iglau) เป็นเมืองในประเทศเช็กเกีย ในหลวงของเขตวีซอชีนา ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำยีห์ลาวา บริเวณชายแดนระหว่างดินแดนมอเรเวียและโบฮีเมีย และเป็นเมืองเหมืองแร่ที่เก่าแก่ที่สุดของเช็กเกีย หมวดหมู่:เมืองในประเทศเช็กเกีย.
รัฐร่วมประมุข
ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย (Protektorat Böhmen und Mähren; Protektorát Čechy a Morava) เป็นรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม..
ดู โบฮีเมียและรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 แต่ละรัฐที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ ต่างก็มีสิทธิทางการปกครองและทางด้านการยุติธรรมที่ต่างกันไปตามแต่จะระบุโดยพระจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิ (โรมันอันศักดิ์สิทธิ์) (Reichsstand หรือ Reichsstände; Imperial State/Estate) คือ “หน่วย” ที่เป็น “รัฐ” ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีสิทธิในการออกเสียงในสภานิติบัญญัติแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รัฐหลายรัฐไม่มีที่นั่งในจักรวรรดิ หรือเป็นรัฐที่มีที่นั่งแต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หรือมีสิทธิในการเป็นปกครองตนเองภายใต้การกำกับของจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แต่ละรัฐไม่ขึ้นต่อประมุขของรัฐของจักรวรรดิอื่น ๆ แต่ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ นอกจากนั้นประมุขของรัฐในจักรวรรดิก็ยังมีสิทธิและอภิสิทธิ์หลายอย่างที่รวมทั้งสิทธิในการปกครองดินแดนของตนเองบ้าง.
ดู โบฮีเมียและรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ราชวงศ์ลอแรน
ราชวงศ์ลอแรน (House of Lorraine) หรือ ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน เป็นราชวงศ์ที่มีความสำคัญที่สุดและครองอำนาจยาวนานที่สุดราชวงศ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป ปัจจุบันประมุขของราชวงศ์นี้คือคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งดำรงตำแหน่งประมุขแต่เพียงในนามว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรีย พระมหากษัตริย์ฮังการี โบฮีเมีย กาลิเซียและโลโดเมเรีย โครเอเชีย อิลลิเรีย และเยรูซาเลมGordon Brook-Shepherd.
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.
ดู โบฮีเมียและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู โบฮีเมียและรายชื่อสนธิสัญญา
รายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย
ระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมียเป็นตำแหน่งที่ปกครองราชอาณาจักรโบฮีเมีย ปกครองโดยดยุคในปี ค.ศ. 870 - ค.ศ. 1085, ค.ศ. 1092 - ค.ศ. 1158 และ ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและรายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย
รายพระนามพระมหากษัตริย์โครเอเชีย
ปนาเมื่อปี..
ดู โบฮีเมียและรายพระนามพระมหากษัตริย์โครเอเชีย
ริชาร์ด เอิร์ลที่ 1 แห่งคอร์นวอลล์
ริชาร์ด (Richard; 5 มกราคม ค.ศ. 1209 - 2 เมษายน ค.ศ. 1272) พระโอรสคนที่สองของพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษกับอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม ทรงเป็นเคานต์แห่งปัวตู (ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและริชาร์ด เอิร์ลที่ 1 แห่งคอร์นวอลล์
ลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย
การฆาตกรรมนักบุญลุมิลา ลุดมิลา (Ludmila) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ประสูติราว..
ดู โบฮีเมียและลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย
ลูกโลกประดับกางเขน
“ลูกโลกประดับกางเขน” ของเดนมาร์กที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งเดนมาร์ก พระเยซูในรูป “Salvator Mundi” (พระมหาไถ่แห่งโลก) ลูกโลกประดับกางเขน (globus cruciger) หมายถึงลูกกลมที่ด้านบนประดับด้วยกางเขน แปลมาจากภาษาละติน globus (ลูกกลม), gerere (สวมใส่), crux (กางเขน) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ทางคริสต์ศาสนาของความมีอำนาจที่ใช้กันโดยทั่วไปในยุคกลางและแม้ในปัจจุบันบนเหรียญ, เป็นรูปสัญลักษณ์ หรือเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์ การใช้ลูกโลกประดับกางเขนเป็นสัญลักษณ์ความมีอำนาจของพระเยซู (กางเขน) บนโลกมนุษย์ (ลูกกลม) ที่ใช้ถือโดยประมุขของอาณาจักรบนโลก หรือในทางสัญลักษณ์โดยเทวดา เมื่อถือโดยพระเยซูเองในรูปสัญลักษณ์ในศิลปะตะวันตกก็จะเรียกว่า “Salvator Mundi” (พระมหาไถ่แห่งโลก).
ดู โบฮีเมียและลูกโลกประดับกางเขน
วาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมีย
วาสลัฟที่ 1 (Václav; Wenceslaus I) ดำรงตำแหน่งดยุกแห่งโบฮีเมียตั้งแต่ปี..
ดู โบฮีเมียและวาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมีย
ศิลปะกอทิกนานาชาติ
“นักบุญแมรี แม็กดาเลนและเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์ ศิลปะกอทิกนานาชาติ (International Gothic) เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะกอทิกที่รุ่งเรืองในบริเวณเบอร์กันดี, โบฮีเมีย, ฝรั่งเศส และทางตอนเหนือของอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่ จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศสหลุยส์ คูราโจด์ (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่นหนังสือวิจิตรมักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษกับ แอนน์แห่งโบฮีเมียก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ ต่อมาการสร้างงานศิลปะก็ไม่จำกัดแต่ชนชั้นเจ้านายหรือชนชั้นปกครองแต่ขยายไปยังพ่อค้าและเจ้านายชั้นรองด้วย ทางตอนเหนือของยุโรป “ศิลปะยุคปลายโกธิค” ยังคงพบในงานศิลปะจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และไม่มีอะไรมาแทนที่ก่อนถึงสมัยยุคเรอเนสซองซ์คลาสสิก การใช้คำนี้ของนักประวัติศาสตร์ศิลปะแต่ละคนอาจจะแตกต่างกันบ้างที่บางคนใช้ในวงที่จำกัดกว่าผู้อื่น Some art historians feel the term is "in many ways...
ดู โบฮีเมียและศิลปะกอทิกนานาชาติ
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1
รณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 (Primera República Filipina; Unang Republika ng Pilipinas) หรือ สาธารณรัฐมาโลโลส (República de Malolos; Republica ng Malolos) เป็นสาธารณรัฐอายุสั้น จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบาลปฏิวัติในฟิลิปปินส์ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการโดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญมาโลโลสเมื่อ 23 มกราคม..
ดู โบฮีเมียและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1
สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย
งครามออสเตรีย-ปรัสเซีย (Austro-Prussian War) หรือ สงครามเจ็ดสัปดาห์ (Seven Weeks' War) หรือ สงครามรวมชาติ (Unification War) หรือ สงครามพี่น้อง (Brothers War) เป็นสงครามในปี..
ดู โบฮีเมียและสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย
อันโตญีน ดโวชาก
อันโตญีน ดโวชาก อันโตญีน ดโวชาก (Antonín Dvořák) เป็นคีตกวีชาวเช็ก เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2384 (ค.ศ. 1841) ที่เมืองมุลโฮเซน (ในภาษาเช็กคือเมืองเนลาโฮเซเวส) ห่างจากกรุงปรากออกไปทางตอนเหนือราว 20 กิโลเมตร ในแคว้นโบฮีเมีย (สาธารณรัฐเช็ก) และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย
ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.
ดู โบฮีเมียและอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย
ฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค)
วเมอเรสก์ส โอปุส 101 (Humoresques; Humoresky, Op. 101 (B. 187)) เป็นชุดดนตรีฮิวเมอเรสก์ (แนวชวนขัน) จำนวน 8 ชิ้นที่แต่งโดยอานโตนิน ดโวชาค คีตกวีชาวเช็กระหว่างที่เขาเดินทางไปพักร้อนกับครอบครัวที่แคว้นโบฮีเมีย ในช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค)
จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย
ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย
จักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
มเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Charles IV, Holy Roman Emperor) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1316 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1378) เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่สองของโบฮีเมียจากราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก และทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ คาร์ลเป็นพระราชโอรสองค์โตและรัชทายาทของจอห์นแห่งโบฮีเมียผู้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Sigismund, Holy Roman Emperor) (14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1368 - 9 ธันวาคม ค.ศ. 1437) แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างวันที่ ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดิซีกิสมุนด์แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย
มเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ อมาลี่ ยูจีนี่; Elisabeth Amalie Eugenie von Habsburg-Lorraine, ราชสกุลเดิม: Wittelsbach) ทรงเป็นดัชเชสแห่งบาวาเรีย และทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีแห่งออสเตรีย และสมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี ตั้งแต่ทรงอภิเษกสมรสกีบสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว์ พระองค์มีพระนามเล่นว่า ซีซี่ โดยพระราชวงศ์ ครอบครัวและพระสหายทรงเรียกพระองค์ตั้งแต่ทรงพระเยาว.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย
ักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: แฟร์ดีนันด์ คาร์ล เลโอโปลด์ โยเซฟ ฟรันซ์ มาร์เซอลิน, ภาษาอังกฤษ: Ferdinand Karl Leopold Joseph Franz Marcelin von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรียองค์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิออสเตรีย ต่อจากจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1ผู้เป็นพระราชบิดา และทรงเป็นกษัตริย์แห่งฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงสละราชสมบัติให้กับจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟ ผู้เป็นพระราชนัดดา หลังจากมีการประท้วงการครองราชย์ที่ไร้ประสิทธิภาพของพระอง.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย
จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (10 มีนาคม ค.ศ. 1503 - 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1564) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ระหว่างวันที่ ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู โบฮีเมียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
จาโกโม กาซาโนวา
จาโกโม จีโรลาโม กาซาโนวา (Giacomo Girolamo Casanova; 2 เมษายน ค.ศ. 1725 ในเมือง เวนิส ประเทศอิตาลี – 4 มิถุนายน ค.ศ. 1798 ในเมืองดุกซ์ แคว้นโบฮีเมีย) เป็นนักเขียน นักผจญภัย และนักนิยมสตรี (womanizer) ผู้มีชื่อเสียง ชาวเวียนนา เขาเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป จากความสามารถในลักลอบเป็นชู้และเอาชนะหัวใจหญิงสาวจำนวนมาก จากหนังสืออัตชีวประวัติของเขา Histoire de ma vie (ประวัติชีวิตของข้าพเจ้า) ถือเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่จะบอกถึงธรรมเนียมและบรรทัดฐานของชีวิตสังคมฝรั่งเศสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเขาหลับนอนกับสตรีมานับ 112 คน (เฉพาะที่บันทึกไว้) แม้ว่าเขามักจะมีความเกี่ยวข้องกับดอน ฆวน (Don Juan) เพราะทั้งสองชอบมีชู้กับสตรีจำนวนมาก แต่กาซาโนวานั้นแตกต่างไปมากจากบุคคลอื่น ๆ ที่อาจนับว่ามีบุคลิกแบบเดียวกันนี้ นั่นคือ ขณะที่ดอน ฆวน เป็นบุคคลในตำนาน แต่กาซาโนวาเป็นบุคคลจริงในประวัติศาสตร์ นอกจากนี้เขายังต่างจากดอน ฆวน ตรงที่เขาถือว่ามีความรักจริงจังกับหญิงที่เขาแอบเป็นชู้ ซึ่งมักจะยังคงเป็นเพื่อนกันตลอดเป็นเวลานาน หลังจากความสัมพันธ์นั้นสิ้นสุดลง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ธงชาติโปแลนด์
งชาติของประเทศโปแลนด์ ประกอบด้วยแถบแนวนอนสองสีขนาดกว้างเท่ากัน โดยแถบบนเป็นสีแดง แถบล่างเป็นสีขาว สีทั้งสองนี้ถือเป็นสีประจำชาติตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโปแลนด์ สำหรับธงชาติโปแลนด์ที่มีการเพิ่มเครื่องหมายตราแผ่นดินลงที่กลางแถบขาวของธงถือเป็นธงชาติสำหรับใช้ในทางราชการตามกฎหมายทั้งในต่างประเทศและในเรือเดินทะเลของรัฐ ส่วนธงอีกอย่างหนึ่งที่คล้ายคลึงกับธงในราชการแต่มีการตัดชายธงเป็นรูปหางนกแซงแซวนั้นเป็นธงนาวีสำหรับกองทัพเรือโปแลนด์ สีขาวและสีแดงถือเป็นสีประจำชาติของโปแลนด์อย่างเป็นทางการมานับตั้งแต่ ค.ศ.
ทิลล์ ออยเลนชปีเกล
แกะไม้รูปตัวตลกทิลล์ ออยเลนชปีเกล ในมือถือนกฮูกและกระจก จากหนังสือของ Straßburg ฉบับปี 1515 แก้ไข ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Mölln) ตัวตลกแต่งชุดทิลล์ ออยเลนชปีเกลในปัจจุบัน แก้ไข ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Mölln) ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Till Eulenspiegel) เป็นตัวละครในตำนานพื้นบ้านเยอรมันยุคกลาง ว่ากันว่าเป็นชายชาวชนบทจากเมืองเบราน์ชไวก์ที่ออกตระเวนท่องไปในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โบฮีเมีย และอิตาลี ชอบทำอะไรตลกขบขัน เป็นที่พอใจของบุคคลทั่วไปที่ได้รู้จัก มีชีวิตอยู่ราว..
ดู โบฮีเมียและทิลล์ ออยเลนชปีเกล
ข้อเขียนวอยนิช
้อความใน'''ข้อเขียนวอยนิช''' ข้อเขียนวอยนิช (Voynich manuscript) เป็นหนังสือประกอบภาพที่ยังไม่มีใครสามารถแปลความหมายได้ ซึ่งเชื่อกันว่าได้เขียนขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 หรือ 16 ผู้ประพันธ์ เนื้อหา และภาษาที่ใช้ในข้อเขียนนี้ยังคงเป็นปริศนาจนถึงปัจจุบัน ข้อเขียนวอยนิชได้รับการศึกษาจากนักรหัสวิทยา ซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญผู้มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรมาตลอดนับตั้งแต่ค้นพบหนังสือเล่มนี้ แต่ก็ไม่เคยมีใครสามารถแปลเนื้อหาได้แม้แต่ส่วนเดียว ซึ่งทำให้ข้อเขียนวอยนิชมีชื่อเสียงอย่างมากในประวัติศาสตร์ของเรื่องลึกลับ แต่ก็มีทฤษฏีว่าหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงของปลอมซึ่งเขียนด้วยสัญลักษณ์ที่ไม่มีความหมายใด ๆ เลยเช่นเดียวกัน หนังสือเล่มนี้ได้รับการตั้งชื่อตาม วิลฟริด เอ็ม.
ตราแผ่นดินของเช็กเกีย
ตราแผ่นดินของเช็กเกีย (Státní znak České republiky) เป็นตราอาร์มของประเทศเช็กเกียที่ประกอบด้วยตราของภูมิภาคในประวัติศาสตร์สามบริเวณที่ประกอบขึ้นเป็นสาธารณรัฐ ตราอาร์มของโบฮีเมียเป็นสิงโตสีเงินสองหางบนพื้นตราสีแดง1 ที่ปรากฏอีกครั้งในช่องตราด้านล่างซ้าย (ขวาของผู้ดูตรา ซ้ายของผู้ถือโล่) โมราเวียเป็นอินทรีลายหมารุกขาวสลับแดงบนพื้นตราสีน้ำเงิน ตราของไซลีเซียมีพื้นสีทอง อินทรีสีดำแต่งด้วยจิกสามดอก หรือ "clover stalk" บนหน้าอก ตรานี้ใช้สำหรับเป็นตราสำหรับฟุตบอลทีมชาติและฮอกกี้ทีมชาติของเช็กเกียด้วย นิยามของตราอย่างเป็นทางการ.
ดู โบฮีเมียและตราแผ่นดินของเช็กเกีย
ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบโทเฟน)
ซิมโฟนีหมายเลข 7 ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (Symphony No.) ผลงานประพันธ์ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟินในปี..
ดู โบฮีเมียและซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบโทเฟน)
ซูเดเทินลันด์
ซูเดเทินลันด์ (Sudetenland; เช็กและSudety; Kraj Sudetów) คือชื่อดินแดนในภาษาเยอรมัน (และถูกใช้ในภาษาอังกฤษในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20) ที่ใช้หมายถึงอาณาเขตทางตอนเหนือ ใต้ และตะวันตก ของเชโกสโลวาเกีย อันเป็นบริเวณที่ประชากรเชื้อสายเยอรมันและใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแม่อาศัยอยู่จำนวนมาก โดยเฉพาะเขตปกครองที่ติดชายแดนอย่าง โบฮีเมีย โมราเวีย และส่วนของไซลีเซียซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของออสเตรียไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ซูเดเทินลันด์ เป็นการสมาสคำในภาษาเยอรมันระหว่าง ลันด์ ซึ่งหมายถึงประเทศหรือดินแดน กับคำว่า ซูเดเทิน ซึ่งเป็นชื่อภาษาเยอรมันของเทือกเขาซูเดเทส (Sudetes) ที่ทอดตัวยาวตามแนวเขตแดนทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเช็กและไซลีเซียล่าง (Lower Silesia; ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์) อย่างไรก็ตามซูเดเทินลันด์เป็นคำที่ใช้หมายถึงดินแดนส่วนที่เลยไปจากแนวเทือกเขาดังกล่าวไปมากพอสมควร ในประวัติศาสตร์ไม่ปรากฎคำว่า ซูเดเทินลันด์ ไปจนกระทั่งช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และไม่เป็นที่รู้จักหรือใช้กันอย่างแพร่หลายไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีของชาวเยอรมันล่มสลาย ส่งผลให้เกิดการแตกกระจายออกเป็นรัฐต่าง ๆ มากมาย ชาวเยอรมันซูเดเทินที่อาศัยอยู่แต่ดั้งเดิมจึงกลายเป็นชาวเยอรมันผลัดถิ่นในประเทศใหม่อย่างเชโกสโลวาเกียไปโดยปริยาย ต่อมาคำนี้มีความสำคัญมากขึ้นจากวิกฤตการณ์ซูเดเทิน (Sudeten crisis) ปี..
ซ็องเจียแห่งโพรว็องซ์
ซ็องเจียแห่งโพรว็องซ์ (Sanchia of Provence; ค.ศ. 1228 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1261) เป็นบุตรสาวคนที่สามของรามอน เบเรนเกร์ที่ 4 เคานต์แห่งโพรว็องส์ กับเบียทริซแห่งซาวัว ซ็องเจียถูกบรรยายไว้ว่า "งามเกินจะหาใดเทียบ".
ดู โบฮีเมียและซ็องเจียแห่งโพรว็องซ์
ประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก
น์ตี ดัชชี และแกรนด์ดัชชีลักเซมเบิร์ก (County, Duchy and Grand Duchy of Luxembourg) ภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ของ ลักเซมเบิร์ก เป็นมณฑลของโรมันเบลจิคาพรีมา หลังจากการรุกรานของกลุ่มชนเจอร์มานิคจากทางตะวันออกลักเซมเบิร์กก็กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงก์และต่อมาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแฟรงค์กลาง.
ดู โบฮีเมียและประวัติศาสตร์ลักเซมเบิร์ก
ประวัติศาสตร์สเปน
ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและประวัติศาสตร์สเปน
ประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..
ดู โบฮีเมียและประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ.
ดู โบฮีเมียและประวัติศาสตร์เยอรมนี
ประเทศสโลวาเกีย
ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ประเทศเชโกสโลวาเกียในโอลิมปิก
ประเทศเชโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกใน..
ดู โบฮีเมียและประเทศเชโกสโลวาเกียในโอลิมปิก
ประเทศเช็กเกีย
็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ปราก
รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.
โซฟีอา ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก
ซฟี โชเทิค เคานเตสแห่งชอทโควาและวงนิง (Sophie Chotek, Gräfin von Chotkova und Wognin) เป็นพระชายาในอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย ซึ่งถือเป็นการอภิเษกสมรสนอกกฎมณเฑียรบาล ต่อมา ภายหลังได้รับพระราชทานยศสูงขึ้นไปอีกเป็น ดัชเชสแห่งโฮเอ็นแบร์ก (The Duchess of Hohenberg).
ดู โบฮีเมียและโซฟีอา ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก
ไรชส์เกา
NSDAP administrative units, 1944. Map of Nazi Germany with Reichsgaue highlighted. ไรชส์เกา (Reichsgau) เป็นเขตปกครองย่อยๆที่ถูกสร้างขึ้นในหลายพื้นที่ที่ถูกผนวกโดยนาซีเยอรมนีระหว่างปี 1939-1945.
ไอรีน แอดเลอร์
ลิลลี แลงทราย หนึ่งในข้อสันนิษฐานที่เชื่อว่าเป็นต้นแบบของไอรีน แอดเลอร์ ไอรีน แอดเลอร์ (Irene Adler) เธอปรากฏอยู่ในนวนิยายสืบสวนสอบสวนเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ตอน เหตุอื้อฉาวในโบฮีเมีย (A Scandal in Bohemia) ซึ่งเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ เป็นคนสร้างนวนิยายสืบสวนสอบสวนชื่อดังนี้ขึ้นมา โดยให้เธอเคยแต่งงานมาแล้วครั้งหนึ่งและหย่ากับสามีไป อดีตสามีของเธอเป็นทนายชื่อ กอดฟรีย์ นอร์ตัน ในงานแต่งงานของเธอและสามี โฮมส์ได้ปลอมตัวไปที่นั่นและเป็นพยานการแต่งงานของทั้งสองคน หลังจากงานนั้น ไอรีนก็ให้เหรียญทองแก่โฮมส์ ซึ่งโฮมส์ก็เก็บเหรียญทองนี้ไว้อย่างดี ไอรีน แอดเลอร์ เป็นผู้หญิงคนเดียวที่โฮมส์ยอมรับ เมื่อโฮมส์เห็นรูปเธอก็มักจะเรียกเธอว่า "คุณผู้หญิง" อยู่เสมอ เธอเป็นคนที่มีเสน่ห์มากแม้กระทั่งกษัตริย์แห่งโบฮีเมียก็เคยหลงรักเธออีกด้วย ไอรีน แอดเลอร์ เกิดเมื่อปี..
ไซลีเซีย
ูมิภาคในประวัติศาสตร์ (ในวงสีฟ้าและเหลือง) และเขตแดนประเทศต่าง ๆ ในปัจจุบัน ไซลีเซีย (Silesia; ไซลีเซีย: Ślůnsk; Śląsk; Slezsko; Schlesien) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก และเยอรมนี ไซลีเซียเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและมีบริเวณสำคัญทางอุตสาหกรรมหลายแห่ง เมืองที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณนี้ได้แก่วรอตสวัฟ (Wrocław) ซึ่งเป็นเมืองหลวงในประวัติศาสตร์ คาโตวีตเซในโปแลนด์ และออสตราวา (Ostrava) ในสาธารณรัฐเช็ก แม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำโอเดอร์ เขตแดนของไซลีเซียเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากตลอดมาในประวัติศาสตร์ทั้งตั้งแต่ยังเป็นของขุนนางในสมัยศักดินา มาจนถึงหลังจากการรุ่งเรืองของรัฐชาติสมัยใหม่ รัฐแรกที่เป็นที่ทราบว่ามีอำนาจในบริเวณนี้คือเกรตเตอร์โมราเวีย (Greater Moravia) และโบฮีเมีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐโปแลนด์สมัยแรก แต่ต่อมาก็แยกตัวออกไปเป็นดัชชีอิสระแต่ตกเข้ามาอยู่ภายใต้อิทธิพลของเยอรมนีมากขึ้นทุกขณะ ในที่สุดไซลีเซียก็ตกมาเป็นของราชบัลลังก์โบฮีเมีย ที่ผ่านต่อไปยังออสเตรียในปี..
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ
้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ.
ดู โบฮีเมียและเจ้าชายวิลเลียมแห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ
เจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเฮนเบิร์ก
้าหญิงโซฟีแห่งโฮเอ็นแบร์ก เมื่อทรงพระเยาว์และครอบครัว เจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเอ็นแบร์ก (Prinzessin Sophie von Hohenberg, Princess Sophie of Hohenberg) (พระนามเต็ม: โซฟี มารี ฟรานซิสก้า แอนโตเนีย อิกเนเทีย อัลเบอร์ต้า, Sophie Marie Franziska Antonia Ignatia Alberta von Hohenberg) เป็นพระธิดาองค์โตในอาร์ชดยุกฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย-เอสต์ และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเอ็นแบร์ก เจ้าหญิงโซฟี ประสูติเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู โบฮีเมียและเจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเฮนเบิร์ก
เครือราชรัฐ
แผนที่เครือราชรัฐ ค.ศ. 1512 ดินแดนที่ไม่อยู่ในกลุ่มเป็นสีขาว เครือราชรัฐ หรือ เครือรัฐของจักรวรรดิ (Reichskreis ไรช์สไคร์ส) หมายถึงกลุ่มรัฐในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยในการจัดระบบบริหารของราชสภา, เพื่อเป็นการจัดกลุ่มที่มีความเหมาะสมในการใช้ระบบการป้องกันทางทหารร่วมกัน และในการเก็บภาษีของหลวง นอกจากนั้นก็เป็นการจัดระบบภายใน “ระบบศาลหลวงแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์” (Reichskammergericht) ด้วย แต่ละเครือราชรัฐมี "สภาเครือราชรัฐ" (Kreistag) แต่สมาชิกของสภาเครือราชรัฐเพียงบางคนเท่านั้นที่เป็นสมาชิกของ “ราชสภา”.
16 มีนาคม
วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ BohemiaDuchy of Bohemiaอาณาจักรดยุคแห่งโบฮีเมียแคว้นโบฮีเมียโบเอม