โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา

ดัชนี สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา

นีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา (Thai Parliament Television - TPTV) เป็นช่องโทรทัศน์ของไทย ซึ่งออกอากาศโดยไม่ใช้คลื่นความถี่ และกำลังทดลองออกอากาศ ผ่านโครงข่ายโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการสาธารณะ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อการกระจายข้อมูลข่าวสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างรัฐสภากับประชาชน ทางช่องหมายเลข 10 ดำเนินการโดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีภารกิจหลักในการถ่ายทอดสด การประชุมรัฐสภา การประชุมสภาผู้แทนราษฎร และการประชุมวุฒิสภา (ปัจจุบันหมายถึง การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) รวมถึงรายงานข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานของรัฐสภา เผยแพร่สู่ประชาชนทั่วไป รวมถึงรายการสาระประโยชน์ต่างๆ ออกอากาศในช่วงนอกเหนือจากการประชุมสภาฯ สถานีฯ ได้ประกอบพิธีเปิดและเริ่มออกอากาศ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีสุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภาขณะนั้น เป็นประธานในพิธี โดยขณะนั้นออกอากาศในช่องความถี่ของโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็นบีทีของกรมประชาสัมพันธ์ที่ช่อง NBT 15.

37 ความสัมพันธ์: บุญยอด สุขถิ่นไทยพ.ศ. 2549พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พฤษภาคม พ.ศ. 2556พีเอสไอกรกฎาคม พ.ศ. 2556กรุงเทพมหานครภาษาไทยมิถุนายน พ.ศ. 2558รัฐสภาไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศรายนามประธานวุฒิสภาไทยวุฒิสภาไทยสภาผู้แทนราษฎรไทยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สุชน ชาลีเครืออสมทอาคารรัฐสภาไทยอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณถนนอู่ทองทรูวิชันส์คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะรักษาความสงบแห่งชาติประเทศไทยโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทยเขตดุสิต12 กันยายน12 สิงหาคม16 มิถุนายน21 กรกฎาคม22 พฤษภาคม22 กรกฎาคม23 กรกฎาคม24 มิถุนายน

บุญยอด สุขถิ่นไทย

ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและบุญยอด สุขถิ่นไทย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ษภาคม..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและพฤษภาคม พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พีเอสไอ

ริษัท พีเอสไอ โฮลดิ้ง จำกัด (PSI Holding Company Limited) เป็นผู้ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม ของประเทศไทย รวมถึงเป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบการโครงข่ายโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมจากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.).

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและพีเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กรกฎาคม..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและกรกฎาคม พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มิถุนายน พ.ศ. 2558

มิถุนายน..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและมิถุนายน พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ

นี่เป็นรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ มีทั้งระดับชาติ (national) และเหนือชาติ (supranational) ชื่อสภานิติบัญญัตินั้นผิดแผกกันไปในแต่ละแห่ง ที่นิยม คือ สมัชชาแห่งชาติ (national assembly) และรัฐสภา (parliament หรือ congress).

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและรายชื่อสภานิติบัญญัติแบ่งตามประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานวุฒิสภาไทย

ประธานวุฒิสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของวุฒิสภา หรือสภาสูงของไทย ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทย หรือสภาล่าง มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย วุฒิสภาไทย มีบัญญัติครั้งแรกไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและรายนามประธานวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 แบ่งรูปแบบสำคัญออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งและการสรรหา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนวุฒิสภา โดยมี นายนัฑ ผาสุข เป็นเลขาธิการว.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชาลีเครือ

นายสุชน ชาลีเครือ (12 มีนาคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานวุฒิสภา อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ เป็นสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งสมัยแรก (พ.ศ. 2543-2549) เป็นประธานวุฒิสภาคนที่สามของวุฒิสภาชุดนี้ สืบต่อจาก นายสนิท วรปัญญา และพลโทมนูญกฤต รูปขจร ก่อนหน้าจะดำรงตำแหน่งประฐานวุฒิสภา นายสุชนดำรงตำแหน่งรองประธานวุฒิสภาคนที่ 1.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและสุชน ชาลีเครือ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและอสมท · ดูเพิ่มเติม »

อาคารรัฐสภาไทย

อาคารรัฐสภา เป็นสำนักของรัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หลังการปฏิวัติสยามและประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก ผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้ประกอบกันเป็นสภาผู้แทนราษฎรและประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้โปรดให้สภาผู้แทนราษฎรประชุมกันที่พระที่นั่งนี้ได้ต่อไป ครั้นจำนวนสมาชิกรัฐสภาเพิ่มขึ้นตามอัตราประชากรที่เพิ่มขึ้น และจำต้องมีที่ทำการของข้าราชการฝ่ายรัฐสภา จึงจำต้องสร้างอาคารรัฐสภาที่รับความต้องการดังกล่าวได้ ในการนี้ มีการวางโครงการสร้างอาคารรัฐสภาใหม่ถึงสี่ครั้ง แต่สามครั้งแรกไปไม่ตลอดรอดฝั่งเพราะคณะรัฐมนตรีซึ่งริเริ่มโครงการต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน ในครั้งที่สี่ เริ่มโครงการก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2513 มีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและอาคารรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ

mux กับ demuxมัลติเพล็กซ์เซอร์ การรวมสัญญาณ กับ การไม่รวมสัญญาณมัลติเพล็กซ์เซอร์ มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer: MUX) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาต์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป รูปบล็อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์ จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D0 ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S0 ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S0 ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D0 ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (22.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอู่ทอง

นนอู่ทองช่วงถนนอู่ทองนอก ผ่านพระที่นั่งอนันตสมาคมและเรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์ ถนนอู่ทอง (Thanon U Thong) แบ่งออกเป็น ถนนอู่ทองใน (Thanon U Thong Nai) และ ถนนอู่ทองนอก (Thanon U Thong Nok) เป็นถนนในท้องที่แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยถนนอู่ทองในมีระยะทางเริ่มตั้งแต่บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจนถึงถนนราชวิถี (แยกอู่ทองใน) ส่วนถนนอู่ทองนอกมีระยะทางเริ่มตั้งแต่บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนนครราชสีมา (แยกอู่ทองนอก) ไปสิ้นสุดที่ถนนสามเสน ถนนอู่ทองเดิมชื่อ "ถนนใบพร" เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชื่อถนนใบพรมาจากเครื่องลายครามจีนที่มีใบคล้ายว่าน ต่อมาในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนใบพร ตั้งแต่ถนนสามเสนถึงถนนส้มมือใต้เป็น "ถนนอู่ทอง (นอก)" และถนนปลายใบพร ตั้งแต่ถนนพระลานถึงถนนซางฮี้ใน (ถนนราชวิถี) เป็น "ถนนอู่ทอง (ใน)" โดยตั้งตามพระนามของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี พระราชธิดาองค์ที่สามในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรั.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและถนนอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและทรูวิชันส์ · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)

มชัดลึก เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ฉบับภาษาไทย ในเครือเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป เสนอข่าวทั่วไป โดยเริ่มออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 มีจำนวนพิมพ์วันละ 900,000 ฉบับในปี พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและคมชัดลึก (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

ทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย (Digital television in Thailand) เป็นระบบโทรทัศน์ดิจิทัลภายในอาณาเขตประเทศไทย โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดระยะของการทดลองออกอากาศไว้ ระหว่างวันอังคารที่ 1 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557 ก่อนจะกำหนดเวลาให้ผู้ประกอบการทุกราย เตรียมความพร้อมขั้นสุดท้าย เพื่อเริ่มออกอากาศในส่วนกลาง ระหว่างวันศุกร์ที่ 25 เมษายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ12 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ16 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กรกฎาคม

วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ22 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

โทรทัศน์รัฐสภา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »