โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โซมาลีแลนด์

ดัชนี โซมาลีแลนด์

ซมาลีแลนด์ (Jamhuuriyadda Soomaaliland; أرض الصومال‎, Arḍ aṣ-Ṣūmāl; Somaliland) เป็นดินแดนตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาเลียและติดกับประเทศจิบูตีและประเทศเอธิโอเปียในจะงอยแอฟริกา ประกาศเอกราชจากโซมาเลียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

26 ความสัมพันธ์: พรรคสหประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพุนต์แลนด์กระทรวงกลาโหม (โซมาเลีย)ภาษาอาหรับเยเมนรัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสงครามกลางเมืองโซมาเลียสงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)องค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทนฮาร์เกซาจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติประวัติศาสตร์โซมาเลียประเทศโซมาเลียโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัลเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออกเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3

พรรคสหประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

รรคสหประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (Ururka Dimuqraadiga Ummadda Bahawday, UDUB) เป็นหนึ่งในสี่ของพรรคการเมือง ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาลิแลนด์ และภาคกลางของประเทศโซมาเลีย ปัจจุบันเป็นฝ่ายค้าน.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และพรรคสหประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พุนต์แลนด์

นต์แลนด์ (Puntland) หรือ รัฐพุนต์แลนด์แห่งโซมาเลีย (Puntland State of Somalia) เป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ประเทศโซมาเลีย โดยไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อเป็นเอกราช แต่เพื่อต้องการปฏิรูประบบบริหารให้เกิดความชอบธรรม พุนต์แลนด์มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกติดกับโซมาลีแลนด์ ทิศใต้ติดกับโซมาเลีย มีพื้นที่ทางทิศเหนืออ่าวเอเดน ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และพุนต์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม (โซมาเลีย)

กระทรวงกลาโหม เป็นหน่วยงานของรัฐบาลกลางโซมาเลียซึ่งดูแลกองทัพโซมาเลีย ทหารของประเทศโซมาเลี.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และกระทรวงกลาโหม (โซมาเลีย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเยเมน

ษาอาหรับเยเมน (Yemeni Arabic) เป็นกลุ่มของสำเนียงภาษาอาหรับที่มีผู้พูดในเยเมน โดยแบ่งเป็นสำเนียงหลักๆได้หลากหลายโดยใช้คำศัพท์และหลักทางสัทวิทยาเป็นตัวแบ่งแยก กลุ่มหลักๆได้แก่ สำเนียงซันอานี สำเนียงตาอิซารี สำเนียงเอเดน สำเนียงติอามี และสำเนียงฮาดรามี โดยในบริเวณนี้มีภาษาเอกเทศคือภาษาเมห์รีและภาษาโซโกวตรีซึ่งไม่ใช่สำเนียงของภาษาอาหรับแต่พัฒนามาจากกลุ่มภาษาอาระเบียนใต้โบราณ เช่น ภาษาซาเบียน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษาเอธิโอปิก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และภาษาอาหรับเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

ต่อไปนี้คือรัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติเรียงตามชื่อตามภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และรัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009).

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองโซมาเลีย

งครามกลางเมืองโซมาเลีย เป็นสงครามกลางเมืองที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศโซมาเลีย ชนวนเหตุเริ่มมาจากการต่อต้านระบอบโมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รีในช่วงทศวรรษ 1980 กองทัพโซมาเลียเริ่มสู้รบกับกลุ่มกบฏติดอาวุธต่าง ๆKen Menkhaus, ',' in Andersen/Moller/Stepputat (eds.), Fragile States and Insecure People,' Palgrave, 2007, 73.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และสงครามกลางเมืองโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)

วง..

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และสงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน) · ดูเพิ่มเติม »

องค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทน

องค์กรแห่งชาติและประชาชนที่ไม่เป็นที่รู้จัก (Unrepresented Nations and Peoples Organization; UNPO) เป็นองค์กรระดับนานาชาติ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และองค์การชาติและประชาชนที่ไม่มีผู้แทน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์เกซา

ร์เกซา (Hargeisa) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโซมาลีแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่ยังมีข้อพิพาทเรื่องเอกราช ตั้งอยู่ใน ภูมิภาค กัลบีด วอคูยี ในดินแดนโซมาลิแลนด์ เขตปกครองตนเอง ของโซมาเลีย เมืองนี้เป็นเป็นเมืองหลวงของอาณานิคม อังกฤษโซมาลิแลนด์ อารักขา 1941-1960 เมื่อได้รับเอกราชเป็น ของรัฐโซมาลิแลนด์ และสหรัฐกับ อิตาเลียนโซมาลิแลนด์ ในรูปแบบ สาธารณรัฐโซมาเลีย เมืองนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาใน กัลกอดอน ที่ราบสูงและตั้งอยู่ที่ระดับความสูงของ 4,377 ฟุต (1,334 เมตร) บ้าน ศิลปะหินจากยุคสมัยโบราณ ฮาร์เกซา ยังเป็นศูนย์กลางการค้าหินตัด, ก่อสร้าง, บริการค้าปลีกและนำเข้า / ส่งออกในกิจกรรมอื่น.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และฮาร์เกซา · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โซมาเลีย

ประเทศโซมาเลีย (Soomaaliya; الصومال) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya, جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในแหลมแอฟริกา ตามประวัติศาสตร์สาธารณรัฐโซมาลี หรือ โซมาเลีย ตั้งอยู่บริเวณแหลมแอฟริกาซึ่งแต่เดิมเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของแอฟริกา โดยเป็นจุดค้าขายสินค้าที่มีค่า ได้แก่ ยางสน ยางไม้หอม และเครื่องเทศ ประชาชนในพื้นที่นับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากชาวอาหรับมุสลิม.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และประวัติศาสตร์โซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และประเทศโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์

มฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์ (Maxamed Cabdullahi Omaar, محمد عبدالله عمر) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวโซมาเลีย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโซมาเลี.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล

มฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล (Maxamed Xaaji Ibraahim Cigaal, محمد الحاج ابراهيم ايغال) (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2471 (ออดเวย์นี บริติชโซมาลีแลนด์) - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (พริทอเรีย แอฟริกาใต้)) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย ครั้งแรกเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และโมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

้นขนานที่ 10 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง 43 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 11 ชั่วโมง 33 นาที ในระหว่างเหมายัน ส่วนของเขตแดนระหว่างประเทศกินีและประเทศเซียร์ราลีโอนถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้ ช่องแคบสิบองศาในมหาสมุทรอินเดียตั้งชื่อตามเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3

้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา, ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-ออสตา 28 ตุลาคม ค.ศ. 1898 — 1 มีนาคม ค.ศ. 1942) เป็นพระญาติของพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี และทรงเป็นดยุคแห่งเอออสตาลำดับที่ 3 พระนามหลังทรงได้รับศีลจุ่มในศาสนาคริสต์คือ "อาเมเดโอ อุมแบร์โต อิซาเบลลา ลุยจี ฟิลิปโป มาเรีย จูเซปเป โจวานนี ดี ซาวอย-เอออสตา" (Amedeo Umberto Isabella Luigi Filippo Maria Giuseppe Giovanni di Savoia-Aosta) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชแห่งแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี (Africa Orientale Italiana).

ใหม่!!: โซมาลีแลนด์และเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สาธารณรัฐโซมาลีแลนด์ประเทศโซมาลิแลนด์ประเทศโซมาลีแลนด์โซมาลิแลนด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »