โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แฮมป์เชอร์

ดัชนี แฮมป์เชอร์

ที่ตั้งของมณฑลแฮมป์เชอร์ แฮมป์เชอร์ หรือ แฮมป์เชียร์ (Hampshire,; ย่อ Hants) หรือ “มณฑลเซาท์แธมพ์ตัน” บางครั้งก็เคยเรียกว่า “เซาท์แธมป์ตันเชอร์” หรือ “แฮมป์ตันเชอร์” แฮมป์เชอร์เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางฝั่งทะเลด้านใต้ของอังกฤษโดยมีวินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวง แฮมป์เชอร์มีเขตแดนติดกับดอร์เซ็ท, วิลท์เชอร์, บาร์คเชอร์, เซอร์รีย์ และ เวสต์ซัสเซ็กซ.

45 ความสัมพันธ์: บีเออี ซิสเต็มส์พระนางเอลฟรีดาพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพระเจ้าเอเธล์เบิร์ทแห่งเวสเซ็กซ์พระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์พอร์ตสมัทมหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตันมัลคอล์ม แกลดเวลมาร์ติน ฟรีแมนรายชื่อระบบรถไฟฟ้าโมโนเรลรายชื่อสวนสัตว์รายชื่อหอดูดาวรายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศอังกฤษริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3วิทยาลัยวินเชสเตอร์วินเชสเตอร์วงกตหญ้าสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กอาสนวิหารวินเชสเตอร์อิซาเบล มาร์แชลจอห์น วินดัมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3ดอร์เซตคลูโดซัสเซกซ์ประตูชัยเวลลิงตันแฟร์อัมแอนโดเวอร์ (แฮมป์เชอร์)โจ เดวิสโนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ไอล์ออฟไวต์เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรีเมก้าซิตี้โฟร์เวสต์ซัสเซกซ์เจ้าหญิงมารีอา ฟรังซิชกาแห่งโปรตุเกสเทศมณฑลเทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษเทศมณฑลของอังกฤษเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษเดนลอว์เซอร์รีย์เซาท์อีสต์อิงแลนด์เซาแทมป์ตันเนชันนัลลีก

บีเออี ซิสเต็มส์

ีเออี ซิสเต็มส์ พีแอลซี (BAE Systems plc) เป็นบริษัทผลิตยุทโธปกรณ์ และอากาศยานสัญชาติอังกฤษ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองฟาร์นโบโร แฮมป์เชอร์ ประเทศอังกฤษ เป็นบริษัทผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่อันดับสองของโลก รองจากโบอิง และอันดับหนึ่งของยุโรป บีเออี ซิสเต็มส์ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และบีเออี ซิสเต็มส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเอลฟรีดา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และพระนางเอลฟรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอเธล์เบิร์ทแห่งเวสเซ็กซ์

อเธลเบิร์ท กษัตริย์แห่งเวสเซ็กซ์ ทรงเป็นโอรสองค์ที่สามจากห้าพระองค์ของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟกับออสเบอร์ที่ตัวพระนางเองสืบเชื้อสายมาจากสายราชวงศ์ของชาวเวสเซ็กซ์ ช่วงสั้นๆก่อนที่เอเธลวูล์ฟจะเสด็จไปโรมในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และพระเจ้าเอเธล์เบิร์ทแห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์

อเธลเร็ดที่ 1 สืบทอดตำแหน่งของพระเชษฐา เอเธลเบิร์ท รัชสมัยของเอเธลเร็ดคือหนึ่งในสงครามกับพวกเดนท์ที่ยาวนาน อิวาร์ผู้ไร้กระดูกกับน้องชาย แฮล์ฟดัน ที่ยึดดับลินเป็นฐานที่มั่นโจมตีและยึดครองยอร์กในปี..866 ที่ซึ่งกลายเป็นอาณาจักรไวกิ้ง (ยอร์วิช) พวกเดนท์เดินทัพลงใต้และยึดครองน็อตติ้งแฮม ในปี..869 พวกเขาแล่นเรือสู่อีลต์แองเกลีย ที่ซึ่งพวกเขาได้ปลงพระชนม์กษัตริย์ท้องถิ่น เอ็ดมุนด์ เวสเซ็กซ์ในตอนนั้นถูกข่มขวัญและเอเธลเร็ดกับพระอนุชา อัลเฟรด ได้ต่อสู้ในสมรภูมิที่ยาวนานต่อเนื่องกับชาวเดนท์ อิวาร์, แฮล์ฟดัน และกุธรุน ที่เรดิ้ง, แอชดาวน์ และเบซิ่ง ช่วงปี..870-871 พวกเดนท์ชิงทรัพย์และปล้นสะดมตลอดการเดินทางออกนอกเมือง การสู้รบครั้งสำคัญครั้งต่อมาคือที่เมเรทุนในแฮมพ์เชียร์ ซึ่งเป็นสมรภูมิที่ไม่ปรากฏผลชี้ขาด เอเธลเร็ดบาดเจ็บสาหัสในสมรภูมิและสวรรคตเนื่องจากบาดแผลที่วิตแชมพ์ตัน ใกล้กับวิมบอร์น ที่ๆพระองค์ถูกฝัง.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และพระเจ้าเอเธล์เรดแห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ตสมัท

อร์ตสมัท (Portsmouth) เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของแฮมป์เชอร์เคาน์ตี ทางชายฝั่งตอนใต้ของอังกฤษ เป็นเมืองเกาะแห่งเดียวในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่บนเกาะพอร์ตซี ในช่องแคบอังกฤษ อยู่ห่างจากกรุงลอนดอนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 103 กม.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และพอร์ตสมัท · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน

มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตัน (University of Southampton, ชื่อย่อ UoS หรือ Soton) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยในสหราชอาณาจักร มีที่ตั้งในเมืองเซาท์แฮมป์ตัน และเมืองวินเชสเตอร์ จังหวัดแฮมป์เชอร์ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยอันดับต้นของสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตันถือกำเนิดจากสถาบันฮาร์ตเลย์ (Hartley Institute) ซึ่งตั้งในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และมหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

มัลคอล์ม แกลดเวล

มัลคอล์ม ทีโมธี แกลดเวล (Malcolm Timothy Gladwell) หรือ มัลคอล์ม แกลดเวล (เกิด 3 กันยายน ค.ศ. 1963) เป็นนักข่าว นักเขียนและนักพูดชาวแคนาดาที่เกิดในอังกฤษ เขาเป็นนักเขียนให้กับThe New Yorker ตั้งแต่ปี 1996 และเขียนหนังสือทั้งหมด 5 เล่ม ได้แก่The Tipping Point: How Little Things Can Make a Big Difference (2000), Blink: The Power of Thinking Without Thinking (2005), Outliers: The Story of Success (2008), What the Dog Saw: And Other Adventures (2009) หนังสือรวบรวมบทความ, และ David and Goliath: Underdogs, Misfits, and the Art of Battling Giants (2013) หนังสือทั้งห้าเล่มขายดีติดอันดับของ ''The New York Times'' Best Seller นอกจากนี้เขายังมีพอดแคสชื่อว่า Revisionist History อีกด้วย หนังสือและบทความของเขามักเกี่ยวกับการตีความที่คาดไม่ถึงของงานวิจัยในสังคมศาสตร์และบ่อยครั้งอ้างถึงงานวิชาการโดยเฉพาะในสาขาสังคมวิทยา จิตวิทยาและจิตวิทยาสังคม มัลคอล์มได้รับ Order of Canada เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2011.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และมัลคอล์ม แกลดเวล · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ฟรีแมน

มาร์ติน จอห์น คริสโตเฟอร์ ฟรีแมน (Martin John Christopher Freeman; เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษที่มีผลงานละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์สั้น และละครเวที เขาเริ่มเข้าวงการด้วยการเป็นนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์เรื่อง เดอะบิลล์ ในปี ค.ศ. 1997 และเป็นที่รู้จักมากที่สุดจากการรับบทเป็นทิม แคนเทอร์เบอรี ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์เรื่อง ดิออฟฟิซ (สหราชอาณาจักร), นายแพทย์จอห์น วอตสัน ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์เรื่อง เชอร์ล็อก ของบีบีซี, บิลโบ แบ๊กกิ้นส์ ในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ''เดอะฮอบบิท'' และเลสเตอร์ ไนการ์ด ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์เรื่อง ฟาร์โก ผลงานภาพยนตร์เรื่องอื่น ๆ ของฟรีแมนที่มีชื่อเสียงได้แก่ ทุกหัวใจมีรัก (ค.ศ. 2003), เดอะฮิตช์ไฮเกอส์ไกด์ทูเดอะแกลักซี (ค.ศ. 2005), นาทิวิตี! (ค.ศ. 2009), ภาพยนตร์สามเรื่องชุด ''ทรีเฟลเวอส์คอร์เนตโต'' (โดยมีบทบาทเด่นที่สุดจากเรื่อง เดอะเวิลดส์เอ็นด์ ค.ศ. 2013) และ ''แบล็ค แพนเธอร์'' (ค.ศ. 2018) ในบรรดารางวัลทางการแสดงทั้งหมดที่เขาได้รับนั้นมีรางวัลเอ็มมี รางวัลสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์แห่งอังกฤษ (แบฟตา) และรางวัลเอ็มไพร์รวมอยู่ด้วย นอกจากนี้ยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มมี 2 รางวัล รางวัลแบฟตา 2 รางวัล รางวัลแซเทิร์น 1 รางวัล และรางวัลลูกโลกทองคำอีก 1 รางวัล.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และมาร์ติน ฟรีแมน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟฟ้าโมโนเรล

รถโมโนเรลในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย รายชื่อระบบรถไฟฟ้าโมโนเรล โดยแสดงเฉพาะที่เปิดให้บริการเท่านั้น.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และรายชื่อระบบรถไฟฟ้าโมโนเรล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสัตว์

;.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และรายชื่อสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอังกฤษ

หน้านี้คือรายการธงต่างๆ ที่มีการใช้อยู่ในประเทศอังกฤษ สำหรับธงอื่นๆ ที่มีการใช้ในอังกฤษและสหราชอาณาจักร ดูเพิ่มเติมที่ ธงในสหราชอาณาจักร สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และรายชื่อธงในประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3

ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3 (Richard of Conisburgh, 3rd Earl of Cambridge) (ราว ค.ศ. 1375 - 5 สิงหาคม ค.ศ. 1415) ริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์กเป็นขุนนางชาวอังกฤษผู้มีบทบาทในการก่อการการคบคิดเซาท์แธมป์ตัน (Southampton Plot) ในระหว่างสงครามดอกกุหลาบ ริชาร์ดเป็นบุตรคนเล็กของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุคแห่งยอร์คที่ 1 และอินแฟนตาอิสซาเบลลาแห่งคาสตีล และเป็นหลานของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษและ and ฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ และเป็นหลานตาของปีเตอร์แห่งคาสตีลและมาเรียเดอพาดิลลา ริชาร์ดเกิดที่ปราสาทโคนิสเบิร์กในยอร์คเชอร์และได้เป็นเอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ต่อจากพี่ชายในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และริชาร์ดแห่งโคนิสเบิร์ก เอิร์ลแห่งเคมบริดจ์ที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวินเชสเตอร์

วิทยาลัยวินเชสเตอร์ (Winchester College) เป็นโรงเรียนมัธยมชื่อดังแห่งหนึ่ง เปิดรับเฉพาะนักเรียนชาย ในหลักสูตรโรงเรียนประจำ ตั้งอยู่ที่เมืองวินเชสเตอร์ แฮมป์เชอร์ ประเทศอังกฤษ เป็นโรงเรียนเก่าแก่ที่ก่อตั้งมานานมากกว่า 600 ปี และได้รับการอ้างว่าเป็นหนึ่งในโรงเรียนที่มีมายาวนานที่สุด (ที่ไม่เคยยุบ) ในประวัติศาสตร์โรงเรียนในอังกฤษ เป็นโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดา 9 โรงเรียนที่อธิบายไว้ในพระราชบัญญัติโรงเรียนกินนอน ค.ศ. 1868 และเป็นหนึ่งใน 4 โรงเรียนเอกชนที่ยังคงอยู่ (โรงเรียนอื่นคือ วิทยาลัยอีตัน โรงเรียนแฮร์โรว์ และวิทยาลัยแรดลีย์) หมวดหมู่:โรงเรียนในประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และวิทยาลัยวินเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินเชสเตอร์

มืองวินเชสเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Winchester) เป็นเมืองหลวงของมลฑลแฮมป์เชอร์ในภาคการปกครองตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ วินเชสเตอร์ตั้งอยู่กลางนครวินเชสเตอร์ซึ่งเป็นเมืองเทศบาลมณฑลที่ตั้งอยู่ระหว่างทางตะวันตกของเซาท์ดาวน์ตามฝั่งแม่น้ำอิตเค็น วินเชสเตอร์มีเนื้อที่ 4.8 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจสำมโนประขากรในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และวินเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงกตหญ้า

วิง, รัทแลนด์ที่เชื่อกันว่าสร้างมาตั้งแต่ยุคกลาง วงกตหญ้า (Turf maze) คือวงกตที่เป็นทางวกวนที่สร้างบนลานหญ้าสั้นราบ วงกตหญ้าบางครั้งก็จะมีชื่อเรียกเช่น “วงกตมิซ” ที่แคว้นแฮมป์เชอร์ในอังกฤษ, “วงกตมิซ”, “วงกตเมืองทรอย” (Troy Town) ที่เชื่อกันว่าเป็นวงกตที่สร้างโดยหมู่บ้านชาวประมงในบริเวณสแกนดิเนเวีย เพื่อดักโทรลล์หรือลมในขดวงกตเพื่อให้การเดินทางไปหาปลาปลอดภัย, วงกตหญ้าจูเลียนส์เบาเวอร์ในลิงคอล์นเชอร์ หรือ “Shepherd's Race” ในนอร์ทแธมป์ตันเชอร์ ซึ่งเป็นวงกตประเภทที่วิลเลียม เชคสเปียร์กล่าวถึงในบทละคร “A Midsummer Night's Dream” วงกตหญ้ามักจะเป็นวงกตประเภทที่เรียกว่า “วงกตปริศนา” (maze) แม้ว่าคำว่า “วงกต” และคำว่า “วงกตซ้อน” จะถือว่าเป็นคำที่ใช้แทนที่กันไม่ได้แล้ว “วงกตซ้อน” จะเป็นลวดลายวกวนที่มีทางเข้าและทางภายในลวดลายที่แยกออกไปเป็นสาขา และอาจจะมีทางตัน ซึ่งต่างกับ “วงกต” หรือ “labyrinth” ที่จะเป็นทางเดียวที่นำไปสู่ศูนย์กลางโดยไม่มีทางแยก (unicursal) วงกตหญ้าบางวงก็จะมีทางที่ตัดเป็นร่องสำหรับเดินที่อาจจะหมายไว้ด้วยกรวดหรืออิฐ และที่พบบ่อยคือทางเดินจะเป็นทางที่ยกสูงต่างระดับขึ้นโดยมีร่องแคบๆ สองข้างขนาบทางเดิน ตัวอย่างวงกตหญ้าของอังกฤษส่วนใหญ่จะมีสองลักษณะคือ “วงกตคลาสสิก” ที่เป็นวงกตเจ็ดชั้นง่ายๆ และ “วงกตยุคกลาง” ที่พัฒนามาจากวงกตคลาสสิกที่ซับซ้อนขึ้น.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และวงกตหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวินเชสเตอร์

อาสนวิหารวินเชสเตอร์ (Winchester Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองวินเชสเตอร์ เทศมณฑลแฮมป์เชอร์ สหราชอาณาจักร ตัวอาสนวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และอาสนวิหารวินเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบล มาร์แชล

อิซาเบล มาร์แชล (ภาษาอังกฤษ: Isabel Marshal; 9 ตุลาคม ค.ศ.1200 - 17 มกราคม ค.ศ.1240) เป็นเคานเตสอังกฤษยุคกลาง เธอเป็นภรรยาของทั้งจิลแบต์ เดอ แคลร์ เอิร์ลแห่งฮาร์ตฟอร์ดคนที่ 4 และเอิร์ลแห่งกลอสเตอร์คนที่ 5 และริชาร์ด เอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์คนที่ 1 (พระโอรสของพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ) สามีคนแรกทำให้เธอเป็นทวดของพระเจ้าโรเบิร์ต เดอะ บรูซ แห่งสก็อตแลน.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และอิซาเบล มาร์แชล · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น วินดัม

อห์น วินดัม ปากส์ ลูคัส เบย์นอน แฮร์ริส (John Wyndham Parkes Lucas Beynon Harris; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1903 – 11 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองดอร์ริดจ์ในวอริกเชอร์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตเวสต์มิดแลนส์) เป็นบุตรของจอร์จ เบย์นอน แฮร์ริสกับเกอร์ทรูด ปากส์ มีน้องชายที่ต่อมาเป็นนักเขียนเช่นกันคือ วิเวียน เบย์นอน แฮร์ริส วินดัมใช้ชีวิตวัยเด็กในเขตเอดจ์บาสตันในเมืองเบอร์มิงแฮม เมื่อเขาอายุได้ 8 ปี บิดาและมารดาของเขาแยกกันอยู่ วินดัมเรียนในหลายโรงเรียนก่อนจะเรียนที่โรงเรียนบีเดลส์ จากนั้นเขาทำงานหลายอย่างรวมถึงเขียนเรื่องสั้นให้นิตยสารอเมริกันหลายฉบับ โดยใช้นามปากกาส่วนใหญ่ว่า "จอห์น เบย์นอน" และ "จอห์น เบย์นอน แฮร์ริส" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง วินดัมรับราชการในกระทรวงสารสนเทศ ก่อนจะย้ายไปอยู่กองทหารสื่อสาร นอกจากนี้เขายังส่วนร่วมในการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี หลังสงคราม วินดัมกลับมาเขียนหนังสือ ในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และจอห์น วินดัม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ดอร์เซต

อร์เซ็ท (Dorset) เป็นเทศมณฑลในประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ที่มีฐานะเป็นเทศมณฑลพิธีที่ไม่ใช่มหานคร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ มีอาณาเขตนติดกับเดวอนทางด้านตะวันตก ซัมเมอร์เซตทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ วิลต์เชอร์ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ และแฮมป์เชอร์ทางตะวันออก ดอร์เซ็ทแบ่งการปกครองเป็นห้าแขวง: เวย์มัธและพอร์ทแลนด์, เวสต์ดอร์เซ็ท, นอร์ธดอร์เซ็ท, เพอร์เบ็ค, อีสต์ดอร์เซ็ท, ไครสต์เชิร์ช, บอร์นมัธ, และพูลโดยมีดอร์เชสเตอร์เป็นเมืองหลวงของมณฑล ดอร์เซ็ทมีเนื้อที่ 2653 ตารางกิโลเมตร และมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 708,100 คน (ค.ศ.) ถัวเฉลี่ย 265 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร ดินแดนส่วนใหญ่เป็นชนบทประชากรส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ริมทะเล ชื่อเสียงของดอร์เซ็ทอยู่ที่ฝั่งทะเลเจอราสสิคซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกที่ประกอบด้วยลัลเวิร์ธโคฟว์ (Lulworth Cove), ไอล์ออฟพอร์ตแลนด์ (Isle of Portland), หาดเชสซิล (Chesil Beach) และเดอร์เดิลดอร์ (Durdle Door) และเมืองชายทะเลบอร์นมัธ, พูล, เวย์มัธ, สวอนเนจ และไลม์รีจิส นอกจากนั้นดอร์เซ็ทก็ใช้เป็นฉากในนวนิยายหลายเรื่องโดยนักประพันธ์คนสำคัญของอังกฤษทอมัส ฮาร์ดี (Thomas Hardy) ผู้เกิดที่เมืองดอร์เชสเตอร์ ดอร์เซ็ทเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของผู้คนมาตั้งแต่โบราณที่จะเห็นได้จากหลักฐานทางโบราณคดีเช่น ป้อมเนิน (ไม่ใช่เนินป้อม hill fort) ที่เมดเด็นคาสเซิล และฮอดฮิลล.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และดอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

คลูโด

กมนักสืบหัวเห็ด หรือ คลูโด (Cluedo หรือ Clue ในเวอร์ชันของอเมริกาเหนือ) เป็นเกมกระดานแนวฆาตกรรมสืบสวนสอบสวน สำหรับผู้เล่น 3 - 6 คน คิดค้นเมื่อปี 1949 โดย แอนโทนี เออร์เนสต์ แพรตต์ และวางจำหน่ายครั้งแรกในปี 1950 โดยบริษัทแรกที่ผลิตเกมคือ วัดดิงตันส์ ในสหราชอาณาจักร ปัจจุบันสิทธิของการผลิตตกเป็นของฮัสโบร ตัวเกมมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เล่นหาตัวคนร้าย สถานที่เกิดเหตุ และใช้อาวุธใดในการฆาตกรรม และด้วยวัตถุประสงค์นี้เองที่ทำให้เกมนี้ได้รับความนิยม จนกระทั่งมีการนำไปทำเป็นนวนิยาย ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ อัลบั้มเพลง และรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และคลูโด · ดูเพิ่มเติม »

ซัสเซกซ์

ซัสเซกซ์ (Sussex) ภาษาอังกฤษเก่าเรียกว่า Sūþseaxe ที่แปลว่าแซกซันใต้ เป็นอดีตเทศมณฑลในภูมิภาคเซาท์อีสต์อิงแลนด์ของอังกฤษ มีอาณาบริเวณใกล้เคียงกับราชอาณาจักรซัสเซกซ์ในอดีต เขตแดนทางด้านเหนือติดกับเทศมณฑลเซอร์รีย์, ด้านตะวันออกติดกับเคนต์, ด้านใต้ติดช่องแคบอังกฤษ และด้านตะวันตกแฮมป์เชอร์ และแบ่งการปกครองท้องถิ่นออกเป็นเวสต์ซัสเซกซ์ และอีสต์ซัสเซกซ์ และนครไบรตันและโฮฟ นครไบรตันและโฮฟใช้ระบบรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประตูชัยเวลลิงตัน

ประตูชัยเวลลิงตัน ประตูชัยเวลลิงตัน หรือซุ้มเวลลิงตัน (Wellington Arch) หรือเรียกชื่ออื่นว่าประตูชัยรัฐธรรมนูญ (Constitution Arch) หรือประตูชัยสวนกรีนพาร์ก (Green Park Arch) เป็นประตูชัยตั้งที่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของสวนไฮด์พาร์ก กลางกรุงลอนดอน สร้างระหว่าง..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และประตูชัยเวลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์อัม

ย่านค้าขายในแฟร์อัม ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2006 แฟร์อัม (Fareham) เป็นเมืองตลาดทางตะวันออกเฉียงใต้ของแฮมป์เชอร์ ประเทศอังกฤษ ตั้งอยู่ระหว่างเมืองเซาแทมป์ตันและพอร์ตสมัท มีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับดิน ผลิตอิฐ กระเบื้อง เครื่องปั้นดินเผา มาแต่เนิ่นนาน ปัจจุบันเศรษฐกิจหลักของเมืองแฟร์อัมได้แก่ ร้านขายปลีก คิดเป็น 15% ของประชากรท้องถิ่น หมวดหมู่:เมืองในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และแฟร์อัม · ดูเพิ่มเติม »

แอนโดเวอร์ (แฮมป์เชอร์)

แอนโดเวอร์ (Andover) เป็นเมืองที่อยู่ในมณฑลแฮมป์เชอร์ของอังกฤษ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแอนตัน อยู่ห่างจากเมืองเบซิงสโตคไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร ห่างจากเมืองวินเชสเตอร์ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 30 กิโลเมตร และห่างจากเมือง เซาท์แธมป์ตันไปทางเหนือ 40 กิโลเมตร เมืองนี้มีประชากรประมาณ 52,000 คน เป็นส่วนหนึ่งของเขตการปกครอง Test Valley หมวดหมู่:เมืองในมลฑลแฮมป์เชอร์ หมวดหมู่:เมืองในอังกฤษ หมวดหมู่:เมืองในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และแอนโดเวอร์ (แฮมป์เชอร์) · ดูเพิ่มเติม »

โจ เดวิส

ซฟ (โจ) เดวิส (Joseph (Joe) Davis, OBE; 15 เมษายน ค.ศ. 1901—10 กรกฎาคม ค.ศ. 1978 ในแฮมป์เชอร์) เป็นนักสนุกเกอร์และอิงลิชบิลเลียดอาชีพชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และโจ เดวิส · ดูเพิ่มเติม »

โนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์

นรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ โนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ (Nora Stanton Blatch Barney; 30 สิงหาคม พ.ศ. 2426 — 18 มกราคม พ.ศ. 2514) เป็น วิศวกรโยธา สถาปนิก และสนับสนุนการเรียกร้องสิทธิสตรี ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และโนรา สแตนตัน แบลตช์ บาร์นีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอล์ออฟไวต์

องไอล์ออฟไวต์จากสถานีอวกาศนานาชาติ ไอล์ออฟไวต์ (Isle of Wight) เป็นเคาน์ตีและเกาะใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศอังกฤษ ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบอังกฤษ ทางตอนใต้ของอังกฤษ ราว 4 ไมล์ (6 กม.) จากชายฝั่งของแฮมป์เชอร์ และแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ของเกรตบริเตนโดยช่องแคบโซเลนต์ เกาะเป็นที่ตั้งสถานที่ตากอากาศชายทะเลหลายแห่ง เป็นจุดหมายปลายทางในการพักผ่อนวันหยุดมาตั้งแต่ยุควิกตอเรีย กระทั่งปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และไอล์ออฟไวต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี

อมพล เบอร์นาร์ด ลอว์ มอนต์โกเมอรี ไวเคานต์มอนต์โกเมอรีแห่งอลามีน (Bernard Law Montgomery, 1st Viscount Montgomery of Alamein; 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1887 – 24 มีนาคม ค.ศ. 1976) ชื่อเล่นว่า "มอนตี้" และ "นายพลสปาร์ตัน"เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสกองทัพอังกฤษที่ต่อสู้ทั้งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง มอนต์โกเมอรีได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งผู้บัญชาการที่ดีที่สุดของอังกฤษ บัญชาการกองทัพตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และมีชื่อเสียงจากสงครามโลกครั้งที่สองในการทัพแอฟริกาเหนือโดยนำกองทัพกองพลทหารราบที่ 1 ชนะกองทัพของรอมเมิลที่เอลอลาเมลและกองกำลังสุดท้ายที่ตูนิเซีย โดยแอร์วิน รอมเมิลได้กล่าวว่ามอนต์โกเมอรีเป็นคู่กัดอันดับหนึ่งของเขา จากนั้นได้นำกองกำลังบุกเกาะซิชิลีและเข้ารุกรานอิตาลี ต่อมาได้มีส่วนรวมในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ดโดยนำกองทัพอังกฤษยกพลขึ้นบกที่หาดนอร์ม็องดี นำกองทัพรวมกับสหรัฐอเมริกาปลดปล่อยฝรั่งเศส ในปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดนเขาได้ล้มเหลวในการนำกองทัพอังกฤษบุกเมืองอาร์นเน็มเนเธอร์แลนด์ เป็นความล้มเหลวที่เกิดจากความเป็นชาตินิยมของเขาที่เขาไม่ยอมวางแผนกับนายพลของสหรัฐอเมริกา เขาได้แก้ตัวโดยนำทัพข้ามแม่น้ำไรน์เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี · ดูเพิ่มเติม »

เมก้าซิตี้โฟร์

มก้าซิตี้โฟร์ (Mega City Four) เป็นวงดนตรีอินดี้/ป็อปพังก์จาก อังกฤษ พวกเขาได้รับความนิยมในสหราชอาณาจักร ในยุค 1980s และ ต้นยุค 1990 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2006 วิส ได้เสียชีวิตที่โรงพยาบาลเซนต์จอร์จ จากก้อนเลือดในสมอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม มิวส์ ได้ออกจำหน่ายเพลงคัฟเวอร์ของเมก้าซิตี้โฟร์คือเพลง "Prague" ในหน้าบี ของซิงเกิล "Resistance" ที่ได้ออกจำหน่ายในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2010 เป็นเพลงที่มิวส์อุทิศให้กับ วิส นักร้องนำที่เสียชีวิต ในปี 2006 พวกเขาเติบโตจากการฟังเพลงและเป็นแรงบันดาลใจโดยเมก้าซิตี้โฟร.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเมก้าซิตี้โฟร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์ซัสเซกซ์

วสต์ซัสเซกซ์ (West Sussex) เป็นเทศมณฑล (county) แห่งหนึ่งในประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร มีฐานะเป็นทั้งเทศมณฑลทางพิธีการและเทศมณฑลที่ไม่ใช่มหานคร เวสต์ซัสเซกซ์ตั้งอยู่ในเซาท์อีสต์อิงแลนด์ (ภาคการปกครองตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ) มีเขตแดนติดกับเทศมณฑลอีสต์ซัสเซกซ์ (กับเทศมณฑลไบรตันและโฮฟ), เทศมณฑลแฮมป์เชอร์ และเทศมณฑลเซอร์รีย์ เทศมณฑลซัสเซกซ์ถูกแยกเป็นอีสต์ซัสเซกซ์และเวสต์ซัสเซกซ์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 และอยู่ภายใต้การบริหารของสภาเทศมณฑลแยกต่างหากจากกันตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเวสต์ซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีอา ฟรังซิชกาแห่งโปรตุเกส

้าหญิงมารีอา ฟรังซิชกาแห่งโปรตุเกส หรือ เจ้าหญิงแห่งบราแกนซา (มารีอา ฟรังซิชกา เดอ อัซซิส มาเตอนิแดด ซาเวียร์ เดอ เปาลา เดอ อัลคันทารา อันโตเนีย โจวควินา กอนซากา คาร์ลอตา โมนิกา เซนโฮรินฮา โซเตอร์ อี คาเอีย เดอ บราแกนซา; 22 เมษายน พ.ศ. 2343 - 4 กันยายน พ.ศ. 2377) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเจ้าหญิงมารีอา ฟรังซิชกาแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L. Brookes (ed.), 2005, Chambers Harrap Publishers Ltd, Edinburgh คำ เคาน์ตี มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า conté (กงเต) แปลว่าเขตการปกครองภายใต้เจ้าต่างกรมหรือขุนนางระดับเคานต์The Oxford Dictionary of English Etymology, C. W. Onions (Ed.), 1966, Oxford University Press เคาน์ตีในแต่ละประเทศมีฐานะการปกครองที่แตกต่างกันไม่เป็นแบบเดียวกันเสียทีเดียว จึงต้องพิจารณาถึงฐานะการปกครองเสียก่อนจึงเทียบให้เข้ากับระบบการปกครองของไทย ในสหรัฐอเมริกา เคาน์ตีมักเรียกว่า เทศมณฑล มีฐานะรองลงจากรัฐ (ซึ่งมีรัฐบาลอิสระจากรัฐบาลกลาง) แต่ใหญ่กว่าหมู่บ้านหรือเมือง แต่ในสหราชอาณาจักร เคาน์ตีมีฐานะเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดประจำ รวมทั้งมีสภาจังหวัดและ/หรือสภาอำเภอ (กรมการอำเภอ) ปกครอง ในประเทศต่าง ๆ นอกจากนี้ คำ เคาน์ตี จะหมายถึงหน่วยการปกครองที่แตกต่างกันออกไป (โปรดดูรายละเอียดในบทความ).

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเทศมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษ

มณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตันของอังกฤษ เป็นระดับการปกครองหนึ่งของสี่ระดับของระดับการปกครองของอังกฤษที่ใช้สำหรับรัฐบาลระดับท้องถิ่นนอกนครลอนดอนและปริมณฑล ตามความหมายเดิมมณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตันแต่ละมณฑลประกอบด้วยกลุ่มอำเภอ (District), เมืองมณฑล และเป็นมณฑลผู้แทนพระองค์ (Ceremonial counties of England) แต่ต่อมาคำจำกัดความนี้ก็เปลี่ยนไปโดยกฎหมายระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1990 ที่อนุญาตให้รวมมณฑลที่ไม่มีเทศบาลมณฑลและ “รัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียว” ของตำบลเดียว มณฑลผู้แทนพระองค์ในปัจจุบันได้รับความหมายใหม่โดยพระราชบัญญัติมณฑลผู้แทนพระองค์ ค.ศ. 1997 (Lieutenancies Act 1997) ที่จำลองมาจากมณฑลเมโทรโพลิตันและมณฑลนอกเมโทรโพลิตัน และคาดกันว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองระดับท้องถิ่นอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเทศมณฑลที่เป็นมหานครและไม่ใช่มหานครของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลของอังกฤษ

มณฑลการปกครองของอังกฤษ เป็นการแบ่งการเขตการปกครองหนึ่งในระดับการปกครองท้องถิ่นของอังกฤษเพื่อใช้ในทางการบริหาร, ทางการเมือง และในการแบ่งเขตการปกครองทางภูมิศาสตร์ มณฑลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากการแบ่งเขตการปกครองของระบบการปกครองในประวัติศาสตร์เช่นในสมัยแองโกล-แซ็กซอน คำว่ามณฑลที่ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า “County” ซึ่งมาจากบริเวณเขตการปกครองของขุนนางระดับเคานท์ แต่ในอังกฤษตำแหน่ง “เคานท์” เท่ากับตำแหน่ง เอิร์ล ของแซ็กซอนโบราณ แต่ภรรยาของเอิร์ลยังคงมีตำแหน่งเป็น “เคานเทส” ชื่อ, เขตแดน และลักษณะการบริหารของเขตการปกครองของมณฑลเปลี่ยนแปลงไปมากจากที่เป็นมาในอดีตกาล และการปฏิรูปเขตการปกครองต่างๆ ที่เกิดเริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมาทำให้ความหมายคำว่า “มณฑล” ที่ใช้กันในอังกฤษค่อนข้างจะสับสนและกำกวม ฉะนั้นคำว่า “มณฑลของอังกฤษ” โดยทั่วไปจึงมิได้หมายถึงหน่วยเขตการปกครองที่แจ่มแจ้งเช่นในความหมายอย่างเป็นทางการของคำว่า “มณฑล” ตามที่เข้าใจกัน เช่นในการใช้คำว่า “มณฑล” สำหรับกรณีอื่นๆ นอกไปจากการบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นเช่น มณฑลภูมิศาสตร์ (Ceremonial counties), มณฑลลงทะเบียน (Registration county), มณฑลในประวัติศาสตร์ (Historic counties) หรือมณฑลไปรษณีย์ (Postal counties) เป็นต้น.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเทศมณฑลของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษ

มณฑลการปกครองของอังกฤษและเวลส์ในประวัติศาสตร์, แผนที่จากปี ค.ศ. 1824 มณฑลการปกครองของอังกฤษในประวัติศาสตร์ เป็นเขตการปกครองโบราณของอังกฤษ ที่ก่อตั้งโดยการบริหารของชนนอร์มันและในกรณีส่วนใหญ่จำลองมาจากเขตการปกครองราชอาณาจักรและไชร์ของแองโกล-แซ็กซอนก่อนหน้านั้น เขตการปกครองเหล่านั้มีประโยชน์ในการใช้สอยหลายอย่างมาเป็นเวลาหลายร้อยปีBryne, T., Local Government in Britain, (1994) และยังใช้เป็นพื้นฐานในการพิจารณาการจัดเขตการปกครองของรัฐบาลส่วนท้องถิ่นในสมัยปัจจุบันHer Majesty's Stationery Office, Aspects of Britain: Local Government, (1996)Hampton, W., Local Government and Urban Politics, (1991) มณฑลเหล่านี้บางครั้งก็รู้จักกันว่า “มณฑลโบราณ” (ancient counties).

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เดนลอว์

“โกลด์:” บริเวณการปกครองของเดนส์ บริเวณการปกครองของเดนส์ หรือ บริเวณเดนลอว์ (Danelaw, Danelagh; Dena lagu; Danelov) ที่บันทึกใน “พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน” เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ของบริเวณในบริเตนใหญ่ที่ปกครองด้วยกฎหมายของ “เดนส์” ที่อยู่เหนืออิทธิพลของกฎของแองโกล-แซ็กซอน บริเวณบริเตนใหญ่ที่อยู่ใต้การปกครองของเดนส์ในปัจจุบันอยู่ในบริเวณทางเหนือและตะวันออกของอังกฤษ ที่มาของบริเวณการปกครองของเดนส์มาจากการขยายตัวของไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แม้ว่าคำนี้จะมิได้ใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวของไวกิงมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในสแกนดิเนเวียที่ทำให้นักรบไวกิงมีความจำเป็นในการไปล่าทรัพย์สมบัติในอาณาบริเวณใกล้เคียงเช่นเกาะอังกฤษ นอกจากจะใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์แล้ว “บริเวณการปกครองของเดนส์” ก็ยังหมายถึงชุดกฎหมายและคำจำกัดความที่ระบุในสนธิสัญญาระหว่างพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชและขุนศึกชาวเดนส์กูธรัมผู้อาวุโส (Guthrum the Old) ที่เขียนขึ้นหลังจากกูธรัมพ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอัลเฟรดในยุทธการเอธาดัน (Battle of Ethandun) ในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเดนลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์รีย์

เซอร์รีย์ (Surrey) คือ มณฑลหนึ่งทางตอนใต้ของสหราชอาณาจักร เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ มีอาณาเขตติดต่อกับมณฑลบาร์คเชอร์ เกรตเตอร์ลอนดอน (Greater London) แฮมป์เชอร์ เค้นท์ อีสต์ซัสเซกซ์ และเวสต์ซัสเซกซ์ เมืองเอกคือกิลด์ฟอร์ด หมวดหมู่:สหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เซอร์รีย์.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเซอร์รีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เซาท์อีสต์อิงแลนด์

ตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: South East England) เป็นหนึ่งในเก้าของภาคการปกครองของอังกฤษที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1994 และรับเป็นส่วนหนึ่งของสถิติใน ปี ค.ศ. 1999 ภาคตะวันออกเฉียงใต้รวมมลฑลบาร์คเชอร์, บัคคิงแฮมเชอร์, อีสต์ซัสเซ็กซ์, แฮมป์เชอร์, ไอล์ออฟไวท์, เค้นท์, อ๊อกซฟอร์ดเชอร์, เซอร์รีย์ และเวสต์ซัสเซ็กซ์ คำที่ใช้กันโดยทั่วไปในการเรียกบริเวณนี้คือ “ตะวันออกเฉียงใต้” แต่ความหมายต่างกันออกไปมาก ภาคตะวันออกเฉียงใต้มีเนื้อที่ 19,096 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเซาท์อีสต์อิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เซาแทมป์ตัน

ซาแทมป์ตัน (Southampton) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในแฮมป์เชียร์เคาน์ตี ชายฝั่งตอนใต้ของอังกฤษ อยู่ห่างจากกรุงลอนดอนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 120 กิโลเมตร และห่างจากเมืองพอร์ตสมัททางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว 30 กิโลเมตร มีประชากร 239,700 คน (ค.ศ. 2010) เป็นเมืองท่าสำคัญ เมืองที่ใกล้ที่สุดคือ นิวฟอร์เรสต์ เซาแทมป์ตันอยู่ทางทิศเหนือสุดของอ่าวเซาแทมป์ตันวอเตอร์ มีแม่น้ำเทสต์และแม่น้ำอิตเชน ไหลมาบรรจบกัน มีแม่น้ำแฮมเบิลไหลมารวมทางตอนใต้บริเวณเขตเมือง ชาวโรมันและแซกซันเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของเยอรมัน เนื่องจากเป็นที่ตั้งฐานทัพเรือที่สำคัญของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเซาแทมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

เนชันนัลลีก

นชันนัลลีก หรือในอดีตคือ ลีกคอนเฟเรนซ์ พรีเมียร์ หรือบลูสแควร์ พรีเมียร์ (ปัจจุบันมีชื่อในการแข่งขันตามผู้สนับสนุนหลักอย่างเป็นทางการว่า แวนอะรามา เนชันนัลลีก) คือการแข่งขันฟุตบอลในระดับสูงที่สุดของระบบฟุตบอลกึ่งอาชีพในอังกฤษ และถูกจัดให้เป็นลีกที่อยู่ลำดับ 5 ของระบบลีกอังกฤษทั้งหมด โดยผู้ชนะจะได้เลื่อนชั้นสู่ฟุตบอลลีกทู ซึ่งเป็นลีกระดับล่างสุดในระบบฟุตบอลลีก หรือลีกระดับอาชีพ ในอดีตลีกคอนเฟเรนซ์ พรีเมียร์ จัดเป็นลีกของสโมสรฟุตบอลกึ่งอาชีพ โดยมีการผสมผสานทั้งสโมสรอาชีพเก่าแก่ที่ตกชั้นลงมาจากลีกทู และสโมสรสมัครเล่นที่เลื่อนชั้นขึ้นมาจากลีกระดับล่าง ในฤดูกาล 2015–16 ได้มีการเปลี่ยนชื่อลีกเป็น เนชันนัลลีก โดยมีผู้สนับสนุนหลักคือบริษัทแวนอะรามา ผู้ประกอบธุรกิจรถยนต์อเนกประสงค์ (รถแวน) ในสหราชอาณาจักร"", BBC Sport, 6 April 2015.

ใหม่!!: แฮมป์เชอร์และเนชันนัลลีก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hampshireมณฑลแฮมพ์เชอร์แฮมพ์เชอร์แฮมพ์เชียร์แฮมป์เชียร์แฮมป์เชียร์เคาน์ตี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »