เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แอสทาทีน

ดัชนี แอสทาทีน

แอสทาทีน (Astatine) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 85 และสัญลักษณ์คือ At แอสทาทีนเป็นธาตุกัมมันตภาพรังสี (radioactive element) ในธรรมชาติได้จากการสลายตัวของ ยูเรเนียมและทอเรียม แอสทาทีนเป็นธาตุในกลุ่มแฮโลเจนที่มีน้ำหนักมากที่สุด สมบัติทางเคมีก็เหมือนกับแฮโลเจนอื่นๆโดยเฉพาะไอโอดีนคือมันอาจจะสะสมอยู่ในต่อมไธรอยด์เหมือนไอโอดีน แต่มันมีความเป็นโลหะมากกว่าไอโอดีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน.

สารบัญ

  1. 33 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2483พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)พอโลเนียมการนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุรายชื่อของธาตุตามหมายเลขศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอสหมู่เกาะแห่งเสถียรภาพอิเล็กโตรเนกาทิวิตีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)ธาตุกึ่งโลหะธาตุหลังยูเรเนียมธาตุคาบ 6ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอคาบ (ตารางธาตุ)ตารางธาตุ (บล็อก)ตารางธาตุ (กว้าง)ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)ตารางธาตุ (มาตรฐาน)ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็กตารางธาตุแนวดิ่งตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)แฟรนเซียมแฮโลเจนไอโอดีนไฮโดรเจนแอสทาไทด์เรดอนเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ85

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู แอสทาทีนและพ.ศ. 2483

พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ลังงานไอออไนเซชัน ของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ดู แอสทาทีนและพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

พอโลเนียม

พอโลเนียม (Polonium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 84 และสัญลักษณ์คือ Po พอโลเนียมเป็นธาตุกึ่งอโลหะเรดิโอแอคตีฟ (radioactive metalloid) มีสมบัติทางเคมีคล้ายเทลลูเรียมและบิสมัท พบว่ามีอยู่ในแร่ยูเรเนียม กำลังศึกษาการใช้งานเกี่ยวกับความร้อนในยานอวกาศ ค้นพบโดยมารี กูรี ในปี 1898 หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:ธาตุกึ่งโลหะ หมวดหมู่:แชลโคเจน หมวดหมู่:โลหะมีสกุล.

ดู แอสทาทีนและพอโลเนียม

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

การนำความร้อนของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ดู แอสทาทีนและการนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล).

ดู แอสทาทีนและรัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)

รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ

้านล่างนี้เป็นรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาต.

ดู แอสทาทีนและรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ

รายชื่อของธาตุตามหมายเลข

หมวดหมู่:เคมี.

ดู แอสทาทีนและรายชื่อของธาตุตามหมายเลข

ศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส

ึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส (Holy Crystal Albatross) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวต่อสู้, แฟนตาซีและสงคราม แต่งเรื่องและวาดภาพโดย วากากิ ทามิกิ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กหนุ่มผู้เข้าไปพัวพันกับเหล่า "โมโนไบล์" สิ่งมีชีวิตจากต่างโลกผู้เผาผลาญ "แร่ธาตุ" เป็นพลังงาน และกำลังต่อสู้กันเป็นสงครามเพื่อแย่งชิง "ไอโซโทปแห่งศิลาศักดิ์สิทธ์" คอนเซปต์ของตัวละครจะอิงไปตามธาตุต่างๆในตารางธาต.

ดู แอสทาทีนและศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส

หมู่เกาะแห่งเสถียรภาพ

Z.

ดู แอสทาทีนและหมู่เกาะแห่งเสถียรภาพ

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (อังกฤษ: Electronegativity,::\chi) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ.

ดู แอสทาทีนและอิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ดู แอสทาทีนและอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ธาตุกึ่งโลหะ

ตุกึ่งโลหะ (metalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ ส่วนใหญ่เป็นสารกึ่งตัวนำ (semiconductors) โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอน, ซิลิคอน, เจอร์เมเนียม, สารหนู, พลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอน, อะลูมิเนียม, ซีลีเนียม, พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้ ธาตุกึ่งโลหะมีลักษณะเหมือนโลหะ แต่เปราะและนำไฟฟ้าได้ไม่ดี ในทางเคมีนั้นธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติคล้ายกับธาตุอโลหะ และยังสามารถผสมกับโลหะได้เป็นอัลลอยหรือโลหะผสม คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมีส่วนใหญ่เป็นกลางในธรรมชาติ สารประกอบและธาตุกึ่งโลหะใช้ในการผลิตโลหะผสม, สารชีวภาพ, ตัวเร่งปฏิกิริยา, สารทนไฟ, แก้วและใยแก้วนำแสง คุณสมบัติทางไฟฟ้าของซิลิกอนและเจอเมเนียมได้มีการใช้ประโยชน์ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมของสารกึ่งตัวนำในปี 1950 และได้มีการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งในต้นปี 1960 กึ่งโลหะเป็นองค์ประกอบที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง หรือเรียกว่าไฮบริด กึ่งโลหะได้เป็นที่แพร่หลายในปี 1940-1960 กึ่งโลหะบางครั้งถูกเรียกว่ากึ่งโลหะ จากการปฏิบัติที่นิยม กึ่งโลหะเป็นคำที่มีความหมายที่แตกต่างกันในทางฟิสิกส์มากกว่าในทางเคมี ทางฟิสิกส์จะมีความหมายโดยเฉพาะหมายถึงโครงสร้างวงอิเล็กทรอนิกส์ของสาร.

ดู แอสทาทีนและธาตุกึ่งโลหะ

ธาตุหลังยูเรเนียม

ตุกัมมันตรังสีอย่างรุนแรง ธาตุเหล่านี้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพวกมันน้อยมากเนื่องจากความไม่เสถียรและกัมมันตภาพรังสี ในทางเคมี ธาตุหลังยูเรเนียม (transuranium element, transuranic element) เป็นธาตุเคมีซึ่งมีเลขอะตอมมากกว่า 92 (เลขอะตอมของยูเรเนียม) ธาตุเหล่านี้เป็นธาตุไม่เสถียรและจะสลายตัวให้รังสีจนกลายสภาพไปเป็นธาตุอื่น.

ดู แอสทาทีนและธาตุหลังยูเรเนียม

ธาตุคาบ 6

ธาตุคาบ 6 (period 6 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 6 ของตารางธาตุ ธาตุในคาบจะรวมกลุ่มอนุกรมเคมีแลนทาไนด์ด้วย มีรายละเอียดดังนี้: ธาตุเคมีในคาบที่ 6 หมู่ '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' #ชื่อธาตุ 55Cs 56Ba 57-71 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn แลนทาไนด์ 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71Lu e--conf.

ดู แอสทาทีนและธาตุคาบ 6

ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

วามร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่บอกปริมาณพลังงานที่ต้องใช้หรือคายออกมาในการเปลี่ยนสถานะระหว่างของเหลวกับแก๊ส เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของสารนั้น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอมีหน่วยดังนี้.

ดู แอสทาทีนและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

คาบ (ตารางธาตุ)

350px ในตารางธาตุนั้น ธาตุต่างๆ จะถูกจัดเรียงให้อยู่ในรูปแบบเชิงตารางอันประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ เราเรียกแถวหนึ่งๆ ในตารางธาตุเรียกว่าคาบ (period) และเรียกคอลัมน์หนึ่งๆ ในตารางธาตุว่าหมู่ (group) การจัดเรียงธาตุในเชิงตารางนี้ทำให้ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกันถูกจัดไว้ในหมู่เดียวกัน ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีจำนวนชั้นของอิเล็กตรอน (electron shell) เท่ากัน โดยจำนวนของอิเล็กตรอนและโปรตอนของธาตุในคาบเดียวกันนี้จะเพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง พร้อมทั้งความเป็นโลหะที่ลดลงจากธาตุหมู่ทางด้านซ้ายมือไปยังขวามือของตารางธาตุ ในขณะที่อิเล็กตรอนจะถูกจัดเรียงในชั้นใหม่เมื่อชั้นเดิมถูกจัดเรียงจนเต็ม หรือก็คือเริ่มคาบใหม่ในตารางธาตุ การจัดเรียงเช่นนี้ทำให้เกิดการวนซ้ำของธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีที่ใกล้เคียงกันเมื่อเพิ่มเลขอะตอม ยกตัวอย่างเช่น โลหะอัลคาไลน์ ถูกจัดเรียงอยู่ในหมู่ 1 และมีคุณสมบัติทางเคมีที่คล้ายกัน เช่น ความไวต่อปฏิกิริยาเคมี หรือ มีแนวโน้มในการสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัวเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นเพื่อที่จะจัดเรียงอิเล็กตรอนให้มีลักษณะเหมือนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแก๊สเฉื่อย ปัจจุบันตารางธาตุจัดเรียงธาตุไว้ทั้งสิ้น 118 ธาตุ กลศาสตร์ควอนตัมสมัยใหม่อธิบายการวนซ้ำของคุณสมบัติเคมีของธาตุเหล่านี้โดยใช้ชั้นของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนจะถูกเติมในชั้นอิเล็กตรอนตามลำดับที่แสดงในแผนภาพด้านขวาตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มอิเล็กตรอนภายในชั้นเทียบได้กับคาบในตารางธาตุ ใน s-block และ p-block ของตารางธาตุ ธาตุในคาบเดียวกันไม่แสดงแนวโน้มหรือความคล้ายคลึงในคุณสมบัติเคมี (แนวโน้มของธาตุภายในหมู่เดียวกันชัดเจนกว่า) อย่างไรก็ดี ใน d-block แนวโน้มคุณสมบัติของธาตุภายในคาบเดียวกันเพิ่มความเด่นชัดมากขึ้น และยิ่งเห็นชัดเจนในกลุ่มธาตุใน f-block (โดยเฉพาะกลุ่มของแลนทาไนด์).

ดู แอสทาทีนและคาบ (ตารางธาตุ)

ตารางธาตุ (บล็อก)

'''หมู่''' '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' '''คาบ''' '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11Na 12Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba * 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra ** 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og * แลนทาไนด์s 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71Lu ** แอกทิไนด์ 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr บล็อก บล็อก-dบล็อก-fบล็อก-pบล็อก-s ความหมายสีของเลขอะตอม.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุ (บล็อก)

ตารางธาตุ (กว้าง)

ตารางธาตุเคมีแบบกว้าง '''หมู่''' → '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' I II III IV V VI VII VIII '''คาบ''' ↓ '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11 Na 12 Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71 Lu 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og อนุกรมเคมีตารางธาตุ ความหมายสีของเลขอะตอม.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุ (กว้าง)

ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)

ตารางธาตุ (มาตรฐาน)

รูปแบบตารางธาตุแบบมาตรฐานที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์และเลขอะตอมของธาตุแต่ละชน.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุ (มาตรฐาน)

ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)

วามหมายสีของเลขอะตอม.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก

ที่ควรรู้ นิโฮเนียม113 Nh เทนเนสซีน117 Ts *** *** น้ำหนักอะตอมโดยการประมาณเท่านั้น อนุกรมเคมีตารางธาตุ หมวดหมู่:ตารางธาตุ en:Periodic table (detailed).

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก

ตารางธาตุแนวดิ่ง

ตารางธาตุแนวดิ่ง ความหมายสีของเลขอะตอม.

ดู แอสทาทีนและตารางธาตุแนวดิ่ง

ตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่ถูกจัดให้ดูง่ายกว่า, ดูตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน).

ดู แอสทาทีนและตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)

ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่รวมเป็นตารางเดียว, ดูตารางไอโซโทป (สมบูรณ์) The data for these tables came from Brookhaven National Laboratory which has an interactive with data on ~3000 nuclides.

ดู แอสทาทีนและตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)

แฟรนเซียม

มาร์เกอริต เปอแร ผู้ค้นพบแฟรนเซียม แฟรนเซียม (Francium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 87 สัญลักษณ์ Fr แฟรนเซียมเคยเป็นที่รู้จักในชื่อ เอคา-ซีเซียม และ แอกทิเนียม Kไอโซโทปที่ไม่เสถียรน้อยที่สุดจริง ๆ คือ แฟรนเซียม-223 มันเป็นหนึ่งในสองธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่ำที่สุด อีกหนึ่งคือ ซีเซียม แฟรนเซียมเป็นกัมมันตรังสีอย่างสูง สามารถสลายไปเป็นแอสทาทีน เรเดียม และเรดอนได้ ด้วยที่มันเป็นโลหะแอลคาไล มันจึงมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ยังไม่เคยมีใครเห็นแฟรนเซียมเป็นก้อนในปริมาณมากเลย คุณสมบัติทั่วไปของธาตุอื่น ๆ ในแถวเดียวกัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าแฟรนเซียมเป็นโลหะที่สะท้อนแสงได้สูง ถ้าเก็บแฟรนเซียมมาไว้รวมกันเป็นก้อนหรือของเหลวปริมาณมากพอ การได้สารตัวอย่างดังกล่าวมานั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากความร้อนจากการสลายตัว (ครึ่งชีวิตของไอโซโทปที่ยาวนานที่สุดคือเพียง 22 นาที) จะทำให้ธาตุปริมาณมากพอที่จะมองเห็น กลายเป็นไอได้ แฟรนเซียมถูกค้นพบโดยมาร์เกอริต เปอแรที่ฝรั่งเศส (ซึ่งได้นำมาตั้งเป็นชื่อธาตุนี้) ในปี..

ดู แอสทาทีนและแฟรนเซียม

แฮโลเจน

แฮโลเจน (halogens) คือ อนุกรมเคมีของกลุ่มธาตุในหมู่ 7 ของตารางธาตุ ซึ่งประกอบด้ว.

ดู แอสทาทีนและแฮโลเจน

ไอโอดีน

อโอดีน (อังกฤษ:Iodine) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 53 และสัญลักษณ์คือ I ไอโอดีน (เป็นคำในภาษากรีก Iodes, มีความหมายว่า "สีม่วง") เป็นธาตุที่ไม่ละลายน้ำ มีความจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต สมบัติทางเคมีของไอโอดีนมีความไวน้อยกว่าธาตุในกลุ่มฮาโลเจนด้วยกัน ไอโอดีนมีประโยชน์ในทางการแพทย์ การถ่ายภาพ และสีย้อมผ้า ไอโอดีนสามารถระเหิดได้ โครงสร้างอะตอมของไอโอดีน (2-8-18-18-7).

ดู แอสทาทีนและไอโอดีน

ไฮโดรเจนแอสทาไทด์

รเจนแอสทาไทด์ (hydrogen astatide) หรือ แอสทาเทน (astatane) มีสูตรทางเคมีว่า HAt เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดจากอะตอมของธาตุแอสทาทีนเชื่อมกับอะตอมไฮโดรเจนด้วยพันธะโคเวเลนต์ สารประกอบชนิดนี้จัดอยู่ในประเภทไฮโดรเจนแฮไลด์ (hydrogen halide) ซึ่งประกอบด้วยสาร 5 ชนิดที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน โดยไฮโดรเจนแอสทาไทด์มีสภาพเป็นกรดสูงสุดในกลุ่มดังกล่าว แต่สารชนิดนี้ยังใช้ประโยชน์ได้ในวงจำกัด เนื่องจากสามารถสลายตัวออกเป็นไฮโดรเจนกับแอสทาทีนได้อย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับไอโซโทปของแอสทาทีนที่มีครึ่งชีวิตสั้น สาเหตุที่สลายตัวเร็วเนื่องจากทั้งไฮโดรเจนและแอสทาทีนมีค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตีเกือบเท่ากัน ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนแอสทาไทด์อาจเกิดได้ตามสมการดังต่อไปนี้ โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สไฮโดรเจนและตะกอนแอสทาทีน เนื่องจากธาตุแอสทาทีนไม่มีไอโซโทปใดเลยที่เสถียร โดยโอโซโทปที่เสถียรที่สุดคือ แอสทาทีน-210 ซึ่งมีครึ่งชีวิตเพียงประมาณ 8.1 ชั่วโมง ทำให้ยากต่อการศึกษาในเรื่องสารประกอบที่เกิดจากแอสทาทีน ธาตุชนิดนี้จะสลายตัวได้อย่างรวดเร็วกลายเป็นธาตุชนิดอื่นแทน.

ดู แอสทาทีนและไฮโดรเจนแอสทาไทด์

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ดู แอสทาทีนและเรดอน

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ดู แอสทาทีนและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

85

85 (แปดสิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 84 (แปดสิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 86 (แปดสิบหก).

ดู แอสทาทีนและ85

หรือที่รู้จักกันในชื่อ AstatineAt