เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แม่พระรับสาร

ดัชนี แม่พระรับสาร

“แม่พระรับสาร” รูปเคารพจากมาเซโดเนีย แม่พระรับสาร (Annunciation, Annunciation of Mary, Annunciation of the Lady หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary) หมายถึง เหตุการณ์ที่ที่พระแม่มารีย์รับสารจากทูตสวรรค์กาเบรียลว่านางจะตั้งครรภ์พระบุตรพระเป็นเจ้า เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดเมื่อไร ไม่ทราบได้ แต่เมื่อมีการฉลองวันการประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคมของทุกปี ก็มีผู้ริเริ่มจัดการฉลองเหตุการณ์แม่พระรับสารนี้ขึ้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เรียกว่า "วันแม่พระรับสาร" (Annunciation of the Lady's Day) โดยนับถอยหลังจากวันคริสต์มาสขึ้นไปเก้าเดือน นอกจากนี้ เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดที่ไหนก็ไม่มีใครทราบได้ ทว่าฝ่ายออร์ทอดอกซ์เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเรธ ประเทศอิสราเอล ที่ "โบสถ์ออร์ทอดอกซ์แม่พระรับสาร" (Orthodox Church of the Annunciation) ส่วนฝ่ายโรมันคาทอลิกก็เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเรธนั้น และเกิดที่ "โบสถ์แม่พระรับสาร" (Church of the Annunciation).

สารบัญ

  1. 53 ความสัมพันธ์: บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโยบาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์บานพับภาพเปรูเจียชีวิตของพระนางพรหมจารีชีวิตของพระเยซูฟราอันเจลีโกฟีลิปโป ลิปปีพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์พระคัมภีร์คนยากพระเจ้าพระบิดากัสโซเนการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)การเสด็จเยี่ยมภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งวาราลโลภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งโอสซุชชิโอมหาวิหารซันตาโกรเชมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมารีย์ (มารดาพระเยซู)มีนาคมรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยวันสมโภชศิลปะคริสเตียนอัครทูตสวรรค์อันเดรอา เดล ซาร์โตอาสนวิหารมูแล็งอาสนวิหารวินเชสเตอร์อาสนวิหารน็องซีอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแลจาโกโป ปอนตอร์โมจิตรกรรมแผงคริสต์มาสคอสมาส ดาเมียน อาซามฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ฉากแท่นบูชาเมรอดซันตาตรีนีตาซีโมเน มาร์ตีนีประวัติของไม้กางเขนแท้ปีพิธีกรรมปีเอโตร โลเรนเซตตีแม่พระรับสาร (ทิเชียน)แม่พระรับสาร (ดา วินชี)แท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอาโบสถ์น้อยสโกรเวญญีโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนีโรเบิร์ต กัมปินโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลเรนโซ กีแบร์ตีโจวันนี ปีซาโนโจวันนี เบลลีนี... ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย

“เด็กขายผลไม้” (The Little Fruit Seller) - ค.ศ. 1670 บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย (Bartolomé Esteban Murillo) รับศีลล้างบาปเมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1618 ที่เซบิยา ประเทศสเปน และเสียชีวิตที่เซบิยาเช่นกันเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย

บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์

ลจิตรกรรมสัญลักษณ์แฝงคติจาก “ตำนานแห่งความรัก” ของพระเจ้าเรเน (King Rene’s Livre du cueur d'amour esprit) บาเธเลมี ฟาน เอค (ภาษาอังกฤษ: Barthelemy van Eyck หรือ Barthélemy d’Eyck หรือ van Eyck หรือ d' Eyck) (ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและบาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์

บานพับภาพเปรูเจีย

นพับภาพเปรูเจีย หรือ บานพับภาพของนักบุญแอนโทนี (ภาษาอังกฤษ: Polyptych of Perugia หรือ Polyptych of St. Anthony) เป็นบานพับภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอุมเบรีย, เปรูเจียในประเทศอิตาลี “บานพับภาพเปรูเจีย” เป็นงานที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและบานพับภาพเปรูเจีย

ชีวิตของพระนางพรหมจารี

ีวิตของพระแม่พรหมจารี (Life of the Virgin) หรือชีวิตของพระแม่มารี เป็นฉากชุดจากชีวิตของพระแม่มารีย์มารดาของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้เขียนภาพชุดในศิลปะคริสต์ศาสนามักจะเป็นชุดที่ประกอบกับหรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการเขียนก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี หนังสือวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่น.

ดู แม่พระรับสารและชีวิตของพระนางพรหมจารี

ชีวิตของพระเยซู

ีวิตของพระคริสต์ (Life of Christ) เป็นฉากชุดจากชีวิตบนโลกของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้ในการเขียนภาพชุดในศิลปะศาสนาคริสต์ มักจะเป็นชุดเอกลักษณ์หรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระนางพรหมจารี จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการสร้างงานก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่นๆ บางฉากก็เป็นภาพเขียนเดี่ยว ๆ เช่น “การตรึงพระเยซูที่กางเขน” ที่นิยมเขียนกันมาก ชุดที่นิยมเขียนกันก็ได้แก่ชุดที่เกี่ยวกับการประสูติและพระทรมานของพระเยซู ที่นำไปสู่การตรึงพระเยซูที่กางเขนและการคืนพระชนม์ แต่ภาพเขียนที่เกี่ยวกับการเทศนาก่อนที่จะถึงเหตุการณ์ในวาระสุดท้ายของพระองค์แทบจะไม่เขียนกันในยุคกลางด้วยเหตุผลหลายอย่าง.

ดู แม่พระรับสารและชีวิตของพระเยซู

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและฟราอันเจลีโก

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและฟีลิปโป ลิปปี

พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

"''การรับเป็นมนุษย์''" เป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรชีวิตของพระเยซู โดยมีพระตรีเอกภาพอยู่ตรงกลางภาพ ฟรีโดลิน ไลเบอร์ วาดไว้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ พระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ พระวาทะทรงเกิดเป็นมนุษย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Incarnation of the Word) ในศาสนาคริสต์หมายถึงการที่พระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระเจ้าพระบุตรหรือพระวจนะ ได้เสด็จลงมาบนโลกเพื่อรับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของนางมารีย์ (บางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ จึงยกย่องพระนางมารีย์พรหมจารีเป็นพระมารดาพระเจ้าด้วย) เรื่องพระเจ้ามารับสภาพมนุษย์ถือเป็นหลักคำสอนทางเทววิทยาที่หลักข้อเชื่อไนซีนให้การรับรอง โดยถือว่าพระเยซูเป็นพระบุคคลที่สองในพระเป็นเจ้าซึ่งเป็นตรีเอกภาพ ได้มารับสภาพมนุษย์โดยที่ธรรมชาติพระเป็นเจ้าเดิมยังดำรงอยู่ในตัว หลักข้อเชื่อนี้จึงถือว่าพระเยซูทรงเป็นทั้งมนุษย์และพระเป็นเจ้าโดยสมบูรณ์ ดังที่พระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่า "พระวจนะเป็นพระเจ้...

ดู แม่พระรับสารและพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

พระคัมภีร์คนยาก

หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.

ดู แม่พระรับสารและพระคัมภีร์คนยาก

พระเจ้าพระบิดา

วาดพระเจ้าพระบิดาโดย Julius Schnorr ค.ศ. 1860 พระเจ้าพระบิดา (God the Father) เป็นคำที่ใช้เรียกพระเจ้าในศาสนาคริสต์ ศาสนายูดาห์เรียกพระเจ้าว่าพระบิดาเพราะเชื่อว่าพระองค์ทรงเป็นผู้สร้าง ผู้บัญญัติธรรม และผู้ปกป้อง ส่วนทางศาสนาคริสต์เรียกพระเจ้าว่าพระบิดาตามเหตุผลเดียวกับศาสนายูดาห์ แต่ก็เป็นเพราะความสัมพันธ์ระหว่างพระบิดาและพระเยซูซึ่งเป็นพระบุตรของพระองค์ด้วย คำว่า พระบิดา บ่งบอกว่าพระองค์เป็นผู้ทรงสรรพานุภาพ เป็นผู้ปกป้องดูแล เป็นสัพพัญญู และทรงอยู่ทุกหนแห่ง ซึ่งเกินกว่าการที่มนุษย์ธรรมดาจะเข้าใจได้ เช่น นักบุญทอมัส อไควนัส นักปราชญ์แห่งคริสตจักรคนสำคัญเขียนสรุปไว้ว่าท่านเองก็ยังไม่เข้าใจพระบิดาเล.

ดู แม่พระรับสารและพระเจ้าพระบิดา

กัสโซเน

กัสโซเน, วังเว็คคิโอ, ฟลอเรนซ์ กัสโซเนฟลอเรนซ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 กัสโซเน (cassone) เป็นหีบชนิดหนึ่งของอิตาลีที่ทำกันอย่างวิจิตรที่เป็นของเชิดหน้าชูตา ที่อาจจเป็นงานฝังหรือแกะสลักที่เตรียมด้วยเจสโซแล้วทาสีหรือลงรักปิดทอง กัสโซเนมีความหมายตรงตัวว่า "หีบใหญ่" เป็นงานเฟอร์นิเจอร์ชิ้นสำคัญของพ่อค้าหรือขุนนางที่มีฐานะดีในวัฒนธรรมอิตาลีตั้งแต่ยุคกลางตอนปลายเป็นต้นมา กัสโซเนเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่มอบให้แก่เจ้าสาวและใช้วางในห้องชุดของผู้ที่เป็นเจ้าสาว เป็นหีบที่จะมอบให้แก่เจ้าสาวระหว่างพิธีการแต่งงาน และจะเป็นของขวัญจากบิดามารดาของเจ้าสาวที่มอบให้สำหรับการแต่งงาน การที่กัสโซเนเป็นหีบที่ใช้ใส่สิ่งของที่เป็นของส่วนตัวของเจ้าสาว จึงทำให้เหมาะแก่การตกแต่งด้วยเรื่องราวที่เป็นเรื่องการฉลองการแต่งงาน โดยการเขียนเป็นจิตรกรรมแผงที่เป็นอุปมานิทัศน์ตกแต่งที่เริ่มในสมัยต้น "กวัตโตรเชนโต" ด้านข้างของหีบมีลักษณะราบเหมาะแก่การเขียนภาพที่มักจะเป็นหัวเรื่องที่มาจากตำนานรักในราชสำนัก หรือจากบทสอนในพระคัมภีร์ หรือ ตำนานศักดิ์สิทธิ์ จิตรกรเอกของฟลอเรนซ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ต่างก็ได้รับการจ้างให้ตกแต่งกัสโซเน จิตรกรทัสคันในซีเอนาบางคนมีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะในการเขียนแผ่นภาพสำหรับกัสโซเน ที่สะสมเป็นแผ่นภาพอิสระจากหีบโดยนักสะสมและนักค้าขายศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่บางครั้งก็จะทิ้งตัวกัสโซเน ตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1850 ก็ได้มีการสร้างกัสโซเนแบบศิลปวิทยาฟื้นฟูขึ้นเพื่อใช้ในการตกแต่งด้วยแผ่นภาพกัสโซเนดั้งเดิม เพื่อที่จะทำให้หีบใหม่ดูราวกับเป็นของจริงมากขึ้น ตามปกติแล้วกัสโซเนจะตั้งอยู่ปลายเตียงที่ล้อมด้วยผ้าม่านภายในห้อง เช่นที่เห็นในภาพ "การประกาศของเทพ" หรือ "การเยือนเอลิซาเบท" กัสโซเนเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่ตั้งอยู่กับที่ที่อาจจะใช้เป็นพนักพิงได้ถ้านั่งกับพื้น ในสมัยโบราณเก้าอี้เป็นสิ่งที่มีไว้สำหรับบุคคลสำคัญเท่านั้น ฉะนั้นจึงเป็นสิ่งปกติที่เจ้าของบ้านอาจจะต้อนรับขับสู้แขกโดยการวางหมอนลงบนพื้นให้นั่ง ฉะนั้นกัสโซเนจึงอาจจะใช้เป็นพนักพิงได้ หรือใช้เป็นโต๊ะก็ได้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 กัสโซเนของต้นสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของทางตอนกลางและตอนเหนือของอิตาลีจะเป็นหีบสลัก และบางส่วนก็จะปิดทอง แต่ตกแต่งแบบคลาสสิก โดยมีแผ่นตกแต่งที่ขนาบด้วยเสาตรงมุมหีบ รอบตกแต่งด้วยขอบคันและบัว หรือ อาจจะเป็นแผ่นสลักแบบภาพนูนต่ำหรือนูนสูง กัสโซเนของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีอิทธิพลมาจากการตกแต่งโลงหินโรมัน เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 จอร์โจ วาซารี ก็สามารถกล่าวถึงกัสโซเนแบบเก่าที่ตกแต่งด้วยแผงภาพ เช่นตัวอย่างที่เห็นตามคฤหาสน์หรือวังในฟลอเรนซ.

ดู แม่พระรับสารและกัสโซเน

การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.

ดู แม่พระรับสารและการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

การเสด็จเยี่ยม

“การเสด็จเยี่ยม” จาก “ฉากแท่นบูชาพระแม่มารี” (St Vaast Altarpiece) โดยฌาคส์ ดาเรท์ (Jacques Daret) ราว ค.ศ. 1435 เบอร์ลิน พระนางมารีย์เสด็จเยี่ยม (Visitation of Mary) หรือเรียกโดยย่อว่าการเสด็จเยี่ยม (Visitation) เป็นเหตุการณ์ที่พระแม่มารีย์เสด็จมาเยี่ยมนักบุญเอลิซาเบธ ซึ่งบันทึกไว้ในพระวรสารนักบุญลูกา สำหรับศาสนาคริสต์ตะวันตกจะจัดการฉลอง (feast) เพื่อฉลองการเสด็จเยี่ยมในวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี และในศาสนาคริสต์ตะวันออกตรงกับวันที่ 2 กรกฎาคม ของทุกปี ในปฏิทินระหว่างปี..

ดู แม่พระรับสารและการเสด็จเยี่ยม

ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งวาราลโล

ูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งวาราลโล หรือ เยรูซาเลมใหม่ (Sacro Monte di Varallo หรือ Nuova Gerusalemme; Sacred Mountain of Varallo) เป็นกลุ่มชาเปลที่ตั้งอยู่บนเนินเขาเหนือเมืองวาราลโลในแคว้นพีดมอนต์ในประเทศอิตาลี ที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งพีดมอนต์และลอมบาร์ดีที่ได้รับเลือกจากองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ดู แม่พระรับสารและภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งวาราลโล

ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งโอสซุชชิโอ

ูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งโอสซุชชิโอ (Sacro Monte di Ossuccio) เป็นกลุ่มคริสต์ศาสนสถานของโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่บนเนินเขาโอสซุชชิโอในบริเวณพีดมอนต์/ลอมบาร์ดีทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ที่เป็นหนึ่งในเก้าภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งพีดมอนต์และลอมบาร์ดีที่ได้รับเลือกจากองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ดู แม่พระรับสารและภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งโอสซุชชิโอ

มหาวิหารซันตาโกรเช

้านหน้าบาซิลิกา ภายใน บาซิลิกาซานตาโครเช (ภาษาอิตาลี: Basilica di Santa Croce; ภาษาอังกฤษ: Basilica of the Holy Cross) เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ที่ตั้งแต่เดิมเป็นที่ลุ่มนอกกำแพงเมืองฟลอเรนซ์ ภายในวัดเป็นที่เก็บศพคนสำคัญๆ ของอิตาลีเช่นไมเคิล แอนเจโล, กาลิเลโอ กาลิเลอี, และคนอื่นจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “Pantheon of the Italian Glories” (จุดยอดของความเลิศของอิตาลี).

ดู แม่พระรับสารและมหาวิหารซันตาโกรเช

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี (Basilica di San Francesco d'Assisi; Basilica of St.) ตั้งอยู่ที่เมืองอัสซีซี ประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกของคณะฟรันซิสกัน ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีก่อตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชั้นบนและชั้นล่างของมหาวิหารมองจากจัตุรัสเดลเลลอจเจ (Piazza delle Logge).

ดู แม่พระรับสารและมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี

มารีย์ (มารดาพระเยซู)

มารีย์ (מרים, มัรยาม, มีเรียม) คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายเรียกว่าพระแม่มารีย์ พระนางมารีย์พรหมจารี (Blessed Virgin Mary) หรือพระนางมารีย์พระชนนีพระเป็นเจ้า (Mary, Mother of God) (ในอัลกุรอานว่านางมัรยัม) เป็นสตรีชาวยิวจากเมืองนาซาเรธ แคว้นกาลิลี คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่และคัมภีร์อัลกุรอานระบุตรงกันว่านางได้เป็นมารดาของพระเยซูโดยอำนาจของพระเจ้า พระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูการะบุว่ามารีย์เป็นหญิงพรหมจรรย์ (παρθένος, parthénos ในภาษากรีก) ชาวคริสต์เชื่อสืบกันมาแต่อดีตว่านางได้ตั้งครรภ์บุตรด้วยอำนาจพระวิญญาณบริสุทธิ์ขณะที่ยังเป็นหญิงพรหมจรรย์ ส่วนชาวมุสลิมก็เชื่อว่านางตั้งครรภ์ด้วยโองการของพระเจ้า เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อนางได้หมั้นหมายกับนักบุญโยเซฟแล้วและอยู่ระหว่างรอพิธีแต่งงาน เมื่อนางได้แต่งงานกับโยเซฟแล้วก็ย้ายไปอยู่ที่เมืองเบธเลเฮมซึ่งได้เป็นที่ประสูติพระเยซู ตามธรรมเนียมยิวการหมั้นน่าจะเกิดขึ้นเมื่อนางอายุราว 12 ปีแล้วให้กำเนิดพระเยซูในหนึ่งปีหลังจากนั้น คัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มกล่าวถึงนางด้วยเหตุการณ์แม่พระรับสาร เมื่อทูตสวรรค์กาเบรียลมาปรากฏกายต่อหน้านาง แล้วแจ้งว่าพระเจ้าทรงเลือกนางให้เป็นมารดาของพระเยซู คริสตจักรและข้อเขียนนอกพระคัมภีร์ในยุคแรกยังระบุว่าบิดามารดาของนางเป็นคู่สามีภรรยาสูงอายุชื่อนักบุญโยอาคิมและนักบุญอันนา คัมภีร์ไบเบิลบันทึกถึงบทบาทของนางในชีวิตของพระเยซูตั้งแต่การตั้งครรภ์พระองค์จนถึงพระองค์เสด็จขึ้นสวรรค์ ข้อเขียนจากคัมภีร์นอกสารบบยังกล่าวว่าหลังจากมรณกรรมนางได้รับการยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณด้ว.

ดู แม่พระรับสารและมารีย์ (มารดาพระเยซู)

มีนาคม

มีนาคม เป็นเดือนสามของปี ในทั้งปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน เป็นหนึ่งในเจ็ดเดือนที่มี 31 วัน เดือนมีนาคมในซีกโลกเหนือมีฤดูกาลเทียบเท่ากับเดือนกันยายนในซีกโลกใต้ ในซีกโลกเหนือ วันที่ 1 มีนาคมเป็นวันเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิทางอุตุนิยมวิทยา ส่วนในซีกโลกใต้ วันเดียวกันเป็นการเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงทางอุตุนิยมวิทยา เดือนมีนาคมมีวันในสัปดาห์เริ่มต้นตรงกับเดือนพฤศจิกายนทุกปี และเดือนกุมภาพันธ์เฉพาะปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมสิ้นสุดวันในสัปดาห์เดียวกับเดือนมิถุนายนทุกปี ในปีอธิกสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนกันยายนและธันวาคมของปีก่อนหน้า ในปีปกติสุรทิน เดือนมีนาคมเริ่มต้นในวันเดียวกับเดือนมิถุนายนปีก่อนหน้า คำว่า "March" ในภาษาอังกฤษ มาจากโรมโบราณ เมื่อเดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของปี และได้ชื่อภาษาละตินว่า "มาร์ติอุส" (Martius) ตามมาร์ส หรือแอรีส เทพแห่งสงครามของกรีก ในโรม ซึ่งมีลักษณะอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เดือนมีนาคมเป็นเดือนแรกของฤดูใบไม้ผลิ จุดเริ่มต้นปีตามหลักเหตุผล และการเริ่มต้นฤดูกาลศึกสงคราม เดือนมกราคมเป็นเดือนแรกของปีปฏิทินในรัชสมัยกษัตริย์นูมา ปอมปิเลียส (ประมาณ 713 ปีก่อน ค.ศ.) หรือในรัชสมัยกษัตริย์เดเซมวีร์ราว 450 ก่อน..

ดู แม่พระรับสารและมีนาคม

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ดู แม่พระรับสารและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

วันสมโภช

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก วันสมโภช (solemnity) หมายถึงวันฉลองที่มีความสำคัญสูงสุด เพราะเกี่ยวข้องกับพระตรีเอกภาพ พระเยซู พระนางมารีย์พรหมจารี นักบุญโยเซฟ เป็นต้น วันสำคัญรองจากวันสมโภชเรียกว่าวันฉลอง และรองจากวันฉลองเรียกว่าวันระลึกถึง โดยปกติวันสมโภชจะระบุในปฏิทินโรมันทั่วไป ซึ่งหมายถึงคริสตจักรละตินทั่วโลกจะร่วมเฉลิมฉลองกัน แต่คริสตจักรเฉพาะถิ่นอาจกำหนดวันสมโภชขึ้นเพิ่มเติมได้ หากเหตุการณ์นั้นมีความสำคัญเป็นพิเศษกับคริสตจักรในท้องถิ่น.

ดู แม่พระรับสารและวันสมโภช

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ดู แม่พระรับสารและศิลปะคริสเตียน

อัครทูตสวรรค์

อัครทูตสวรรค์ทั้งสามในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก อัครทูตสวรรค์ (Archangel) ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ หัวหน้าทูตสวรรค์ ในนิกายโปรเตสแตนต์ หมายถึงทูตสวรรค์ระดับสูง มีที่มาจากคำในภาษากรีก αρχάγγελος (arch- + angel) พบในความเชื่อของหลายศาสนาทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ส่วนมากถือเหมือนกันว่า อัครทูตสวรรค์ประกอบด้วย มีคาเอล และ กาเบรียล ส่วนหนังสือโทบิตได้นับรวม ราฟาเอล เป็นอัครทูตสวรรค์ด้วย แต่หนังสือเล่มนี้เป็นที่ยอมรับเข้าในสารบบคัมภีร์ไบเบิลเฉพาะในคริสตจักรโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์เท่านั้น ส่วนคริสตจักรในนิกายโปรเตสแตนต์ไม่ยอมรับ ชาวโรมันคาทอลิกนิยมฉลองอัครทูตสวรรค์ทั้งมีคาเอล, กาเบรียล และราฟาเอล ในวันที่ 29 กันยายน (ในอดีตวันฉลองทูตสวรรค์กาเบรียลเป็นวันที่ 24 มีนาคม และฉลองทูตสวรรค์ราฟาเอลในวันที่ 24 ตุลาคม) อัครทูตสวรรค์ที่เป็นที่รู้จักในศาสนาอิสลาม คือ กาเบรียล, มีคาเอล, ราฟาเอล และอิสรออีล ส่วนจารีตอื่น ๆ ถือว่าอัครทูตสวรรค์มี 7 องค์ โดยนามจะแตกต่างกันไปตามแหล่งที่ม.

ดู แม่พระรับสารและอัครทูตสวรรค์

อันเดรอา เดล ซาร์โต

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราวปี ค.ศ. 1520 - 1530) สกอตแลนด์ อันเดรอา เดล ซาร์โต (Andrea del Sarto, ราว ค.ศ. 1486 - ค.ศ. 1531) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์และแมนเนอริสม์ยุคต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน จิตรกรร่วมสมัยยกย่องอันเดรอา เดล ซาร์โตว่า "Senza errori”"หรือผู้ไม่ทำผิดและถือกันว่ามีความสามารถไม่ด้อยไปกว่าราฟาเอล.

ดู แม่พระรับสารและอันเดรอา เดล ซาร์โต

อาสนวิหารมูแล็ง

อาสนวิหารมูแล็ง (Cathédrale de Moulins) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งมูแล็ง (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation de Moulins) เป็นวัดคริสต์ศาสนาของนิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ของอัครมณฑลมูแล็ง เป็นอาสนวิหารเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร ตั้งอยู่ที่เมืองมูแล็ง จังหวัดอาลีเย ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารมูแล็งได้รับการสถาปนาเป็นอาสนวิหารในปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและอาสนวิหารมูแล็ง

อาสนวิหารวินเชสเตอร์

อาสนวิหารวินเชสเตอร์ (Winchester Cathedral) เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองวินเชสเตอร์ เทศมณฑลแฮมป์เชอร์ สหราชอาณาจักร ตัวอาสนวิหารปัจจุบันเริ่มสร้างเมื่อ..

ดู แม่พระรับสารและอาสนวิหารวินเชสเตอร์

อาสนวิหารน็องซี

อาสนวิหารน็องซี (Cathédrale de Nancy) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์แห่งน็องซี (Cathédrale Notre-Dame-de-l’Annonciation et Saint-Sigisbert de Nancy) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นทั้ง ไมเนอร์บาซิลิกา (Minor Basilica) และ ไพรเมต (Primate) เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลน็องซี-ตูลร่วมกับอาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูล ตั้งอยู่ในเขตเมืองน็องซี จังหวัดเมอร์เตมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสารและนักบุญซีฌแบร์ (พระเจ้าซีฌแบร์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง) อาสนวิหารน็องซีได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและอาสนวิหารน็องซี

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

อาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale du Puy-en-Velay) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระรับสารแห่งเลอปุย-อ็อง-เวอแล (Cathédrale Notre-Dame-de-l'Annonciation du Puy-en-Velay) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลเลอปุย-อ็อง-เวอแล ตั้งอยู่ที่เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล จังหวัดโอต-ลัวร์ แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่แม่พระรับสาร และยังได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นบาซิลิกาเมื่อปีค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและอาสนวิหารเลอปุย-อ็อง-เวอแล

จาโกโป ปอนตอร์โม

“จาโคโป ปอนตอร์โม” จากหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” โดย จอร์โจ วาซารี พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี โจเซฟในอียิปต์ (รายละเอียด) นักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อท พระแม่มารีและนักบุญอลิสซาเบ็ธ นักบุญเควนแต็ง ภาพเหมือนของชายหนุ่ม จาโคโป ปอนตอร์โม หรือ ปอนตอร์โม (Jacopo Pontormo หรือ Jacopo da Pontormo หรือ Pontormo) (24 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและจาโกโป ปอนตอร์โม

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ดู แม่พระรับสารและจิตรกรรมแผง

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ดู แม่พระรับสารและคริสต์มาส

คอสมาส ดาเมียน อาซาม

ในวัดอาซาม หน้าต่างเหนือแท่นบูชา ชัยชนะของอพอลโลบนเพดานปราสาทใกล้เรเก็นสเบิร์ก (ค.ศ. 1730) ภาพเขียนบนเพดาน ชัยชนะของนักบุญเบ็นเนดิคแห่งเนอร์เซียที่สำนักสงฆ์ไวน์การ์เต็น คอสมาส ดาเมียน อาซาม (ภาษาเยอรมนี: Cosmas Damian Asam) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ดู แม่พระรับสารและคอสมาส ดาเมียน อาซาม

ฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ การสวมมงกุฏของพระแม่มารี ฉากแท่นบูชาโอดดิ (ภาษาอังกฤษ: Oddi altar) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกันที่วังวาติกันในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “ฉากแท่นบูชาโอดดิ” ระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและฉากประดับแท่นบูชาออดดี (ราฟาเอล)

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์

มุมที่สาม ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ (Isenheim Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส “ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์” ที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์

ฉากแท่นบูชาเมรอด

ฉากแท่นบูชาเมรอด (Mérode Altarpiece) หรือ ฉากแท่นบูชาการประกาศของเทพ (Annunciation Altarpiece) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยโรเบิร์ต กัมปิน จิตรกรสมัยศิลปะเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โรเบิร์ต กัมปินเขียนภาพ "ฉากแท่นบูชาเมรอด" ระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและฉากแท่นบูชาเมรอด

ซันตาตรีนีตา

ซันตาตรีนีตา หรือโบสถ์พระตรีเอกภาพ (Santa Trinita; Church of the Holy Trinity) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ โบสถ์ซันตาตรีนีตาเป็นโบสถ์แม่คณะวัลลุมโบรซัน (Vallumbrosan Order) ที่ก่อตั้งในปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและซันตาตรีนีตา

ซีโมเน มาร์ตีนี

หน้าแรกของ “Virgil” โดย เพทราค (Petrach) หนังสือวิจิตร วาดโดยซิโมเน มาร์ตินิราว ค.ศ. 1336 ปัจจุบันอยู่ที่มิลาน รายละเอียดจิตรกรรมฝาผนังที่ “ทีว่าการเมืองเซึยนนา” ซิโมเน มาร์ตินิ (Simone Martini, ราว ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและซีโมเน มาร์ตีนี

ประวัติของไม้กางเขนแท้

ูบทความหลักที่ สัตยกางเขน ประวัติของสัตยกางเขน หรือ ตำนานของสัตยกางเขน หรือ (Legend of the True Cross หรือ History of the True Cross) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี “ตำนานของสัตยกางเขน” เป็นงานที่สันนิษฐานกันว่าเขียนก่อนปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและประวัติของไม้กางเขนแท้

ปีพิธีกรรม

วันสำคัญในศาสนาคริสต์ (Liturgical year) ส่วนใหญ่กำหนดตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน มีบ้างที่กำหนดโดยอิงปฏิทินจันทรคติ สำหรับวันสำคัญที่มีมาแต่ศาสนายูดาห.

ดู แม่พระรับสารและปีพิธีกรรม

ปีเอโตร โลเรนเซตตี

ปีเอโตร โลเรนเซตตี (Pietro Lorenzetti หรือ Pietro Laurati) (ราว ค.ศ. 1280 - ค.ศ. 1348) เป็นจิตรกรสมัยกอธิคชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนนาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมแผง ปีเอโตร โลเรนเซตตีเกิดเมื่อราว ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและปีเอโตร โลเรนเซตตี

แม่พระรับสาร (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับสาร แม่พระรับสาร (ภาษาอังกฤษ: Annunciation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ตั้งอยู่ที่วัดซานซาลวาดอร์แห่งเวนิสในประเทศอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “แม่พระรับสาร” ระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและแม่พระรับสาร (ทิเชียน)

แม่พระรับสาร (ดา วินชี)

ูบทความหลักที่ แม่พระรับสาร แม่พระรับสาร (ภาษาอังกฤษ: Annunciation) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เลโอนาร์โดเขียนภาพ “แม่พระรับสาร” ระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและแม่พระรับสาร (ดา วินชี)

แท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา

แท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา (Pulpit of St.) เป็นงานประติมากรรมแท่นเทศน์ชิ้นเอกที่สร้างโดยโจวันนี ปีซาโน ประติมากรคนสำคัญชาวอิตาลี ในปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและแท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา

โบสถ์น้อยสโกรเวญญี

ปลสโครเวนยี หรือ ชาเปลอารีนา (Cappella degli Scrovegni, Scrovegni Chapel หรือ Arena Chapel) เป็นชาเปลของนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองปาดัวในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ กอธิค ฟื้นฟูศิลปวิทยา บาโรก ชาเปลสโครเวนยีมีจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยจอตโต ดี บอนโดเนที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโบสถ์น้อยสโกรเวญญี

โบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

ปลทอร์นาบุโอนิ (Tornabuoni Chapel, Cappella Tornabuoni) เป็นชาเปลหลักหรือชาเปลของบริเวณร้องเพลงสวดอยู่ภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่เขียนโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาและห้องเขียนภาพระหว่างปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

โรเบิร์ต กัมปิน

แผ่นภาพ "Flemalle" ส่วนหนึ่ง งานที่มักจะสันนิษฐานว่าเขียนโดยกัมปิน บานภาพนี้เป็นบานทางขวาของบานพับภาพเวิร์ล (Werl triptych) ที่เขียนเมื่อ ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโรเบิร์ต กัมปิน

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ดู แม่พระรับสารและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

โลเรนโซ กีแบร์ตี

ลเรนโซ กีแบร์ตี บน "ประตูสวรรค์" (Gates of Paradise) ที่หอศีลจุ่มซานจิโอวานนี (Battistero di San Giovanni) ที่ฟลอเรนซ์ งานของโลเรนโซ กีแบร์ตี ที่ชนะการประกวดเมื่อปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโลเรนโซ กีแบร์ตี

โจวันนี ปีซาโน

แท่นเทศน์ภายในมหาวิหารเซียนนา แท่นเทศน์ในมหาวิหารปิซา จิโอวานนี ปิซาโน (ภาษาอังกฤษ: Giovanni Pisano) (ราวปี ค.ศ. 1250 – ราวปี ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโจวันนี ปีซาโน

โจวันนี เบลลีนี

“การนำพระเยซูเข้าวัด” (Presentation in the Temple) โดย จิโอวานนี เบลลินี (ราว ค.ศ. 1499-1500), พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย จิโอวานนี เบลลินี (Giovanni Bellini) (ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโจวันนี เบลลีนี

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย

เอลเกรโก

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1604) โดยเอลเกรโก โดเมนิคอส เทโอโทโคพูลอส (Δομήνικος Θεοτοκόπουλος; Doménicos Theotokópoulos; ค.ศ.

ดู แม่พระรับสารและเอลเกรโก

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ดู แม่พระรับสารและ25 มีนาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ AnnunciationAnnunciation of MaryAnnunciation of the Blessed Virgin MaryAnnunciation of the Ladyการประกาศการประสูติของพระเยซูการประกาศของเทวทูตการประกาศของเทพการแจ้งข่าวการปฏิสนธิ

โดเมนีโก กีร์ลันดาโยเอลเกรโก25 มีนาคม