เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แถบดาวเคราะห์น้อย

ดัชนี แถบดาวเคราะห์น้อย

กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G.

สารบัญ

  1. 148 ความสัมพันธ์: ช่องว่างเคิร์กวูดการระดมชนหนักครั้งหลังระบบสุริยะวงศ์ดาวเคราะห์น้อยสิ่งมีชีวิตนอกโลกหน่วยดาราศาสตร์ที่ตั้งของโลกในเอกภพดอว์น (ยานอวกาศ)ดาราศาสตร์ดาวบริวารดาวเคราะห์น้อยดาวหางดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9ดาวหางในแถบหลักดาวอังคารดาวเคราะห์นอกระบบดาวเคราะห์น้อยดาวเคราะห์น้อยตระกูลฮังการีดาวเคราะห์น้อยประเภท Sซีรีสนิวฮอไรซันส์แถบไคเปอร์เรือรบอวกาศยามาโตะเวสตาเอชดี 169830เอชดี 69830เซนทอร์ (ดาวเคราะห์น้อย)PSR B1257+1210 ไฮเจีย100 เฮกคาตี101 เฮเลนา102 มิเรียม103 เฮรา104 ไคลมีน105 อาร์ทิมิส106 ไดโอนี107 คามิลลา108 เฮคิวบา109 ฟีลิชีตัส110 ลิเดีย111 อาที112 อิฟิจิไนอา113 แอมัลเทีย114 คัสแซนดรา115 ไทรา116 ซีโรนา117 โลเมีย118 พีโธ119 แอลเธีย120 แลคิซิส121 เฮอร์ไมโอนี... ขยายดัชนี (98 มากกว่า) »

ช่องว่างเคิร์กวูด

องว่างเคิร์กวูด หรือ ช่องแคบเคิร์กวูด (Kirkwood gaps) เป็นช่องว่างของการกระจายตัวของดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยที่ค่ากึ่งแกนเอกต่างๆ (หรือเทียบเท่ารอบการโคจรของมัน) ดังแสดงให้เห็นในแผนภาพฮิสโตแกรมข้างล่างนี้ ตำแหน่งของช่องว่างเคิร์กวูดมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งการสั่นพ้องของวงโคจรกับดาวพฤหัสบดี แผนภาพแสดงการกระจายตัวของดาวเคราะห์น้อยตามกึ่งแกนเอกต่างๆ ตามค่าแกนของแถบหลัก ตำแหน่งลูกศรชี้คือตำแหน่งช่องว่างเคิร์กวูด ยกตัวอย่างดังนี้ มีดาวเคราะห์น้อยอยู่จำนวนน้อยมากที่ค่ากึ่งแกนเอกใกล้เคียงกับ 2.50 หน่วยดาราศาสตร์ หรือคาบโคจร 3.95 ปี ซึ่งหมายถึงดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้ต้องโคจรไปสามรอบจึงจะเท่ากับรอบโคจรของดาวพฤหัสบดี 1 รอบ (ดังนั้นจึงเรียกตำแหน่งนี้ว่า การสั่นพ้องวงโคจร 3:1) ตำแหน่งการสั่นพ้องวงโคจรแห่งอื่นๆ มีความสัมพันธ์กับคาบโคจรของดาวพฤหัสบดีแบบเป็นเลขจำนวนเต็มเช่นเดียวกัน แรงสั่นพ้องนี้ไล่ให้ดาวเคราะห์น้อยออกไปจากบริเวณ ขณะที่ยอดแหลมในแผนภาพฮีสโตแกรมมักแสดงถึงการรวมกลุ่มกันของตระกูลดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ ผู้ที่สังเกตเห็นช่องว่างนี้เป็นครั้งแรก คือ แดเนียล เคิร์กวูด ในปี ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและช่องว่างเคิร์กวูด

การระดมชนหนักครั้งหลัง

การระดมชนหนักครั้งหลัง (Late Heavy Bombardment, ย่อ: LHB) หรือวินาศภัยดวงจันทร์ (lunar cataclysm) เป็นเหตุการณ์ซึ่งคาดว่าเกิดเมื่อประมาณ 4.1 ถึง 3.8 พันล้านปีก่อน ตรงกับบรมยุคเฮเดียนและมหายุคอีโออาร์เคียนบนโลก มีทฤษฎีว่าในช่วงนี้ดาวเคราะห์น้อยจำนวนมากผิดปกติพุ่งชนดาวเคราะห์คล้ายโลกยุคต้นในระบบสุริยะชั้นใน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลกและดาวอังคาร การระดมชนหนักครั้งหลักเกิดหลังโลกและดาวเคราะห์หินอื่นก่อรูปขึ้นและรวบรวม (accrete) มวลส่วนใหญ่ของดาวนั้น ๆ แล้ว แต่ยังถือเป็นช่วงต้นในประวัติศาสตร์ของโลก หลักฐานของการระดมชนหนักครั้งหลังมาจากตัวอย่างดวงจันทร์ที่นักบินอวกาศโครงการอะพอลโลนำกลับมาด้วย การหาอายุด้วยไอโซโทปของหินดวงจันทร์บ่งว่า เศษหลอมละลายจากการพุ่งชน (impact melt) ส่วนใหญ่เกิดในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ มีหลายสมมติฐานพยายามอธิบายการเพิ่มขึ้นเฉียบพลันของสิ่งพุ่งชน (ทั้งดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง) ในระบบสุริยะชั้นใน แต่ยังไม่มีมติ แบบจำลองไนซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในหมู่นักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ตั้งสมมติฐานว่าดาวเคราะห์ยักษ์กำลังมีการย้ายวงโคจร และระหว่างนั้นเองก็ทำให้วัตถุในแถบดาวเคราะห์น้อย และ/หรือ แถบไคเปอร์กระจัดกระจายเป็นวงโคจรเยื้องศูนย์กลาง และเข้าสู่วิถีของดาวเคราะห์คล้ายโลก นักวิจัยบางส่วนแย้งว่าข้อมูลตัวอย่างดวงจันทร์ไม่จำเป็นว่าเหตุการณ์พุ่งชนจะต้องเกิดในช่วง 3.9 พันล้านปีก่อน และการกระจุกของเศษหลอมละลายจากการพุ่งชนที่มีอายุใกล้เคียงช่วงนี้เป็นผลจากการสุ่มตัวอย่างวัสดุที่เก็บมาจากแอ่งพุ่งชนขนาดใหญ่แห่งเดียว พวกเขายังสังเกตว่าอัตราการเกิดแอ่งพุ่งชนอาจแตกต่างกันได้มากระหว่างระบบสุริยะชั้นนอกและใน.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและการระดมชนหนักครั้งหลัง

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่างดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน นับถึงกลางปี ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและระบบสุริยะ

วงศ์ดาวเคราะห์น้อย

วงศ์ดาวเคราะห์น้อย คือการจัดกลุ่มประชากรดาวเคราะห์น้อยที่มีลักษณะร่วมกันทางวงโคจร เช่น ค่ากึ่งแกนเอก ความเยื้องศูนย์กลาง และความเอียงของวงโคจร เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยที่เป็นสมาชิกในวงศ์เดียวกันน่าจะเป็นชิ้นส่วนของดาวเคราะห์น้อยดวงเดียวกันที่แตกออกเป็นส่วน ๆ จากการปะทะกันในอดีต.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและวงศ์ดาวเคราะห์น้อย

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและสิ่งมีชีวิตนอกโลก

หน่วยดาราศาสตร์

หน่วยดาราศาสตร์ (Astronomical Unit; ย่อในภาษาอังกฤษว่า AU หรือ au หรือ a.u. หรือ ua) คือ หน่วยของระยะทาง มีค่า (โดยประมาณ) เท่ากับระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ค่าที่ยอมรับในปัจจุบัน เท่ากับ 149,597,870,691±30 เมตร (ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 93 ล้านไมล์) สัญลักษณ์ "ua" ได้รับการเสนอจากสำนัก Bureau International des Poids et Mesures แห่งฝรั่งเศส แต่ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษจะใช้อักษรตัวใหญ่มากกว่า ส่วนสหภาพดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) เสนอให้ใช้ "au" ส่วนมาตรฐานนานาชาติ ISO 31-1 นั้นใช้ "AU".

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและหน่วยดาราศาสตร์

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ

ที่ตั้งของโลกในเอกภพ (Earth's location in the Universe) นั้นตั้งแต่ที่มนุษย์ได้เริ่มมีการสร้างและสมมุติตำแหน่งที่ตั้งของโลกขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีที่แล้วโดยเริ่มจากการสังเกตการณ์ด้วยกล้องส่องทางไกลและซึ่งเริ่มมีความแพร่หลายมากในหลายศตวรรษที่ผ่านมา ในอดีตนานมาแล้วนั้นมนุษย์เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลซึ่งประกอบด้วยดาวเคราะห์, ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่หมุนรอบโลกและในศตวรรษที่ 17 ก็มีแนวคิดว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางซึ่งเป็นผลมาจากการสังเกตของนักดาราศาสตร์นามว่าวิลเลียม เฮอร์เชลและยังได้อธิบายต่ออีกว่าดวงอาทิตย์และระบบสุริยะอยู่ในกาแลคซีที่เป็นรูปแผ่นดิสก์ขนาดใหญ่ และในศตวรรษที่ 20 ได้มีการขอสังเกตจากการสำรวจดาราจักรชนิดก้นหอยจึงเผยให้เห็นว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือกของเราเป็นหนึ่งในพันล้านกาแลคซีในจักรวาลที่กำลังขยายตัวจึงได้มีการจัดกลุ่มกระจุกดาราจักรขึ้นในตอนปลายของศตวรรษที่ 20 จากนั้นก็มีการกำหนดเอกภพที่สังเกตได้ซึ้งเกิดจากกลุ่มกระจุกดาราจักรและช่องว่างขนาดใหญ่ (Cosmic voids) รวมกันเป็นใยเอกภพ (Galaxy filament) ซึ่งกลุ่มกระจุกดาราจักร, ช่องว่างและใยเอกภพนั้นเป็นโครงสร้างใหญ่ ๆ ที่สามารถพบและสังเกตได้ในเอกภพ โครงสร้างเหล่ามีขนาดใหญ่มากอาจมีขนาดมากกว่า 1000 เมกะพาร์เซก และเอกภพนั้นจะรวมจนกลายเป็นเนื้อเดียวกันซึ่งหมายความว่าทุกส่วนของเอกภพนั้นมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นขององค์ประกอบและโครงสร้างเดียวกัน และในปัจจุบันนี้มนุษย์ก็ยังไม่รู้ว่าจุดสิ้นสุดหรือขอบของเอกภพนั้นอยู่ที่ใดเนื่องจากโลกเป็นส่วนเล็ก ๆ ในเอกภพจึงไม่สามารถหาตำแหน่งขอบของเอกภพได้จากโลก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและที่ตั้งของโลกในเอกภพ

ดอว์น (ยานอวกาศ)

นสำรวจอวกาศ ดอว์น (Dawn) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาแบบใช้หุ่นยนต์ควบคุม ถูกส่งไปในภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงที่ใหญ่ที่สุด 2 ดวงในแถบดาวเคราะห์น้อย คือ ดาวเคราะห์น้อยเวสตา และดาวเคราะห์แคระ ซีรีส ดอว์นขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 กันยายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดอว์น (ยานอวกาศ)

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาราศาสตร์

ดาวบริวารดาวเคราะห์น้อย

243 ไอดา กับดาวบริวาร แดคทิล ดาวบริวารดาวเคราะห์น้อย คือดาวเคราะห์น้อยที่โคจรไปรอบๆ ดาวเคราะห์น้อยดวงอื่นในลักษณะของดาวบริวาร เชื่อกันว่ามีดาวเคราะห์น้อยจำนวนมากที่มีดาวบริวารของตัวเอง และบางทีอาจมีขนาดพอๆ กันด้วย การค้นพบดาวบริวารดาวเคราะห์น้อย (หรือบางครั้งคือวัตถุคู่) มีความสำคัญเนื่องจากการที่สามารถระบุวงโคจรของพวกมันได้จะทำให้สามารถประเมินมวลและความหนาแน่น ซึ่งนำไปสู่การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพอื่นๆ ที่ไม่อาจทำได้ในทางปฏิบัติ บทความนี้หมายรวมถึงดาวบริวารของวัตถุพ้นดาวเนปจูนด้ว.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวบริวารดาวเคราะห์น้อย

ดาวหาง

ดาวหางเฮล-บอปป์ ดาวหางเวสต์ ดาวหาง คือ วัตถุชนิดหนึ่งในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ มีส่วนที่ระเหิดเป็นแก๊สเมื่อเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สที่ฝ้ามัวล้อมรอบ และทอดเหยียดออกไปภายนอกจนดูเหมือนหาง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์จากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ไปบนนิวเคลียสของดาวหาง นิวเคลียสหรือใจกลางดาวหางเป็น "ก้อนหิมะสกปรก" ประกอบด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย และมีฝุ่นกับหินแข็งปะปนอยู่ด้วยกัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร คาบการโคจรของดาวหางมีความยาวนานแตกต่างกันได้หลายแบบ ตั้งแต่คาบโคจรเพียงไม่กี่ปี คาบโคจร 50-100 ปี จนถึงหลายร้อยหรือหลายพันปี เชื่อว่าดาวหางบางดวงเคยผ่านเข้ามาในใจกลางระบบสุริยะเพียงครั้งเดียว แล้วเหวี่ยงตัวเองออกไปสู่อวกาศระหว่างดาว ดาวหางที่มีคาบการโคจรสั้นนั้นเชื่อว่าแต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในแถบไคเปอร์ที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ส่วนดาวหางที่มีคาบการโคจรยาวอาจมาจากแหล่งอื่น ๆ ที่ไกลจากดวงอาทิตย์ของเรามาก เช่นในกลุ่มเมฆออร์ตซึ่งประกอบด้วยเศษซากที่หลงเหลืออยู่จากการบีบอัดตัวของเนบิวลา ดาวหางเหล่านี้ได้รับแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวเคราะห์รอบนอก (กรณีของวัตถุในแถบไคเปอร์) จากดวงดาวอื่นใกล้เคียง (กรณีของวัตถุในกลุ่มเมฆออร์ต) หรือจากการชนกัน ทำให้มันเคลื่อนเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยมีกำเนิดจากกระบวนการที่ต่างไปจากนี้ อย่างไรก็ดี ดาวหางที่มีอายุเก่าแก่มากจนกระทั่งส่วนที่สามารถระเหิดเป็นแก๊สได้สูญสลายไปจนหมดก็อาจมีสภาพคล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยก็ได้ เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกหลายดวงเคยเป็นดาวหางมาก่อน นับถึงเดือนพฤษภาคม..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง

ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9

วหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9 หรือ SL9; ชื่ออย่างเป็นทางการ D/1993 F2) เป็นดาวหางที่พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในปี พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9

ดาวหางในแถบหลัก

วหางในแถบหลัก คือวัตถุที่โคจรอยู่ในระบบสุริยะในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อย แต่มีลักษณะปรากฏและคุณสมบัติคล้ายคลึงกับดาวหางในระหว่างการโคจรบางช่วง ดาวหางกลุ่มนี้จะแตกต่างกับดาวหางทั่วไปที่มักมีวงโคจรไกลกว่าดาวพฤหัสบดี และมีวงโคจรที่ค่อนข้างกลมอยู่ในบริเวณแถบหลักซึ่งแตกต่างจากวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยอื่นๆ ดาวหางคาบสั้นจำนวนหนึ่งอาจมีค่ากึ่งแกนเอกต่ำกว่าวงโคจรของดาวพฤหัสบดี แต่ดาวหางในแถบหลักจะมีความเยื้องศูนย์กลางที่เล็กกว่า และความเอียงวงโคจรก็คล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก มีดาวหางในแถบหลักที่รู้จักแล้ว 3 ดวงซึ่งพบว่ามีวงโคจรอยู่ในบริเวณขอบรอบนอกของแถบดาวเคราะห์น้อย from Henry Hsieh's Main Belt Comets webpage.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวหางในแถบหลัก

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวอังคาร

ดาวเคราะห์นอกระบบ

accessdate.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวเคราะห์นอกระบบ

ดาวเคราะห์น้อย

วเคราะห์น้อย 253 แมธิลด์ เป็นดาวเคราะห์น้อยแบบ C-Type ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid หรือบางครั้งเรียกว่า Minor Planet / Planetoid) คือวัตถุทางดาราศาสตร์ขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ แต่ใหญ่กว่าสะเก็ดดาว (ซึ่งโดยปกติมักมีขนาดราว 10 เมตรหรือน้อยกว่า) และไม่ใช่ดาวหาง การแบ่งแยกประเภทเช่นนี้กำหนดจากภาพปรากฏเมื่อแรกค้นพบ กล่าวคือ ดาวหางจะต้องมีส่วนของโคม่าที่สังเกตเห็นได้ชัด และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของดาวหางเอง ดาวเคราะห์น้อยมีลักษณะปรากฏคล้ายดวงดาว (คำว่า asteroid มาจากคำภาษากรีกว่า αστεροειδής หรือ asteroeidēs ซึ่งหมายถึง "เหมือนดวงดาว" มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า Aστήρ หรือ astēr ซึ่งแปลว่า ดวงดาว) และมีการกำหนดเรียกชื่ออย่างคร่าวๆ ตามชื่อปีที่ค้นพบ จากนั้นจึงมีการตั้งชื่อตามระบบ (เป็นหมายเลขเรียงตามลำดับ) และชื่อ ถ้ามีการพิสูจน์ถึงการมีอยู่และรอบการโคจรเรียบร้อยแล้ว สำหรับลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อยโดยส่วนใหญ่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่มีการตั้งชื่อคือ ซีรีส ค้นพบในปี พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยตระกูลฮังการี

วเคราะห์น้อยตระกูลฮังการี (Hungaria asteroids) เป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยในแถบหลักซึ่งโคจรรอบดวงอาทิตย์ที่ระยะห่างระหว่าง 1.78 และ 2.0 หน่วยดาราศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีค่าความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรค่อนข้างต่ำ (ต่ำกว่า 0.18) มีค่าความเอียงวงโคจร ระหว่าง 16 ถึง 34 องศา และมีคาบการโคจรประมาณ 2.5 ปี ดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้มีการสั่นพ้องของวงโคจรกับดาวพฤหัสบดีที่ 9:2 และกับดาวอังคารที่ 3:2 ชื่อของตระกูลดาวเคราะห์น้อยกลุ่มนี้ตั้งตามชื่อดาวเคราะห์น้อยสมาชิกดวงที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่ม คือ 434 ฮังกาเรีย ถือเป็นกลุ่มดาวเคราะห์น้อยที่หนาแน่นมากที่สุดในบริเวณด้านใน ในแถบวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 4:1.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวเคราะห์น้อยตระกูลฮังการี

ดาวเคราะห์น้อยประเภท S

อีรอส ตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยประเภท S ดาวเคราะห์น้อยประเภท S เป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบซิลิกา (Silica) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่เป็นจำนวนประมาณ 17% ของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนมากรองจากดาวเคราะห์น้อยประเภท C หรือจำพวกคาร์บอน.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและดาวเคราะห์น้อยประเภท S

ซีรีส

ซีรีส หรือ เซเรส (Ceres) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า 1 ซีรีส เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดและเป็นดาวเคราะห์แคระดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดยจูเซปเป ปีอาซซี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและซีรีส

นิวฮอไรซันส์

นิวฮอไรซันส์ (New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและนิวฮอไรซันส์

แถบไคเปอร์

กราฟิกแสดงแถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต ภาพแสดงวัตถุพ้นดาวเนปจูนขนาดใหญ่ ที่เป็นที่รู้จักแล้วในปัจจุบัน ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของดาวหางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ ผู้ค้นพบ เดิมทีวัตถุที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ถูกค้นพบในแถบไคเปอร์ คือ ดาวพลูโต ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและแถบไคเปอร์

เรือรบอวกาศยามาโตะ

รือรบอวกาศยามาโตะ หรือ ในชื่อที่ใช้เมื่อครั้งที่เคยออกอากาศในเมืองไทยครั้งแรกโดยไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. คือ "สตาร์เบลเซอร์ ตลุยอวกาศ" คืออะนิเมะแนววิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่น ซึ่งชื่อของเรี่องนั้นเป็นชื่อของยานอวกาศ อะนิเมะเรื่องนี้มีอีกชื่อในภาษาอังกฤษคือ Space Cruiser Yamato (สเปซ ครุยเซอร์ ยามาโตะ) หรือStar Blazers (สตาร์ เบลเซอส์) สำหรับภาคภาษาอังกฤษ ซึ่งออกอากาศในอเมริกาเหนือและออสเตรเลีย สำหรับภาคภาษาอิตาลีก็ใช้ชื่อ สตาร์ เบลเซอ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและเรือรบอวกาศยามาโตะ

เวสตา

วสตา หรือ เวสต้า (Vesta) อาจหมายถึง.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและเวสตา

เอชดี 169830

อชดี 169830 (HD 169830) เป็นดาวแคระเหลือง-ขาว (สเปกตรัมประเภท F9V) ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตั้งอยู่ห่างจากระบบสุริยะ 118.46 ปีแสง.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและเอชดี 169830

เอชดี 69830

อชดี 69830 (HD 69830) เป็นดาวแคระส้มที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 41 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวท้ายเรือ ในปี..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและเอชดี 69830

เซนทอร์ (ดาวเคราะห์น้อย)

ซนทอร์ (Centaur) คือวัตถุคล้ายดาวเคราะห์ขนาดเล็กในระบบสุริยะรอบนอกที่มีวงโคจรไม่แน่นอน ตั้งชื่อตามเผ่าพันธุ์เซนทอร์ในตำนานปรัมปรา เนื่องจากมันมีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างดาวเคราะห์น้อยกับดาวหาง วงโคจรของเซนทอร์ตัดหรืออาจตัดกับวงโคจรของดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ในระบบ และมีช่วงอายุที่เปลี่ยนแปลงอยู่หลายล้านปี วัตถุคล้ายเซนทอร์ดวงแรกที่ค้นพบคือ 944 ฮิดัลโก ในปี..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและเซนทอร์ (ดาวเคราะห์น้อย)

PSR B1257+12

PSR B1257+12 หรือบางครั้งเรียกอย่างย่อว่า PSR 1257+12 เป็นพัลซาร์ดวงหนึ่ง อยู่ห่างจากโลกราว 980 ปีแสง ในกลุ่มดาวหญิงสาว ค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ อเล็กซานเดอร์ โวลส์ชาน เมื่อปี..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและPSR B1257+12

10 ไฮเจีย

10 ไฮเจีย (‘Υγιεία; Hygiea) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวรีประมาณ 350 - 500 กิโลเมตร และมีมวลคิดเป็นประมาณ 2.9% ของมวลรวมทั้งหมดของดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก ถือเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นลำดับที่สี่ทั้งโดยปริมาตรและมวล รวมถึงเป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดสำหรับกลุ่มดาวเคราะห์น้อยมืด (คือ ดาวเคราะห์น้อยประเภท C) ซึ่งมีส่วนประกอบคาร์บอนอยู่บนพื้นผิวค่อนข้างมาก แม้ไฮเจียจะเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่มาก แต่ด้วยพื้นผิวที่ค่อนข้างมืดและยังอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มาก จึงปรากฏให้โลกเห็นเพียงริบหรี่ ดาวเคราะห์น้อยอื่นที่มีขนาดเล็กกว่าจึงถูกค้นพบก่อนที่ แอนนาเบล เดอ แกสปารีส จะค้นพบไฮเจียเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ10 ไฮเจีย

100 เฮกคาตี

100 เฮกคาตี (Hekate) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ100 เฮกคาตี

101 เฮเลนา

101 เฮเลนา (101 Helena) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดยเจ.ซี.วัตสัน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1868 (พ.ศ. 2411) ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ถูกตั้งชื่อตามเฮเลนแห่งทรอยในตำนานกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ101 เฮเลนา

102 มิเรียม

102 Miriam เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม มิเรียม พี่สาวของโมเสสในพระคัมภีร์เดิม.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ102 มิเรียม

103 เฮรา

103 เฮรา (103 Hera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยแถบหลัก ค้นพบโดยเจมส์ เครก วัตสัน เมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1868 (พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ103 เฮรา

104 ไคลมีน

104 Klymene เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม ไคลมีน ในเทพเทพปกรณัมกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ104 ไคลมีน

105 อาร์ทิมิส

105 อาร์ทิมิส (105 Artemis) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามอาร์ทิมิส เทพเจ้าแห่งการล่าสัตว์ เทพีแห่งดวงจันทร์ และเป็นเทพีแห่งความรักทางใจของกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ105 อาร์ทิมิส

106 ไดโอนี

106 ไดโอนี (106 Dione) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากไดโอนี มารดาของแอโฟรไดที.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ106 ไดโอนี

107 คามิลลา

107 คามิลลา (Camilla) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ107 คามิลลา

108 เฮคิวบา

108 Hecuba เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก เฮคิวบา ภรรยาของไพรอัมจากสงครามเมืองทรอยในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ108 เฮคิวบา

109 ฟีลิชีตัส

109 Felicitas เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งขื่อมาจาก ฟีลิชีตัส เทพีแห่งความสำเร็จของโรมัน.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ109 ฟีลิชีตัส

110 ลิเดีย

110 ลิเดีย (110 Lydia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ชนิด M-type spectrum ซึ่งอาจจะมีธาตุนิกเกิล-เหล็ก ตระกูลดาวเคราะห์น้อยลิเดีย (Lydia asteroid family) ได้ชื่อนี้หลังจากถูกค้นพบโดยอาลฟงส์ บอแรลี (Alphonse Borrelly) เมื่อ 19 เมษายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ110 ลิเดีย

111 อาที

111 อาที (111 Ate) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก อาที (Atë) เทพีแห่งความเสียหายและการทำลายในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ111 อาที

112 อิฟิจิไนอา

112 อิฟิจิไนอา (112 Iphigenia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากอิฟิจิไนอา (Iphigenia) เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ112 อิฟิจิไนอา

113 แอมัลเทีย

113 แอมัลเทีย (113 Amalthea) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากแอมัลเทีย จากตำนานเทพเจ้ากรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ113 แอมัลเทีย

114 คัสแซนดรา

114 คัสแซนดรา (114 Kassandra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจากคัสแซนดรา (Cassandra) ผู้หญิงทำนายม้าในนิทานของสงครามเมืองทรอ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ114 คัสแซนดรา

115 ไทรา

115 Thyra เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Thyra พระมเหสีของพระเจ้ากอร์ม เดอะ โอล.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ115 ไทรา

116 ซีโรนา

116 Sirona เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Sirona เทพีแห่งการรักษาของเคลติก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ116 ซีโรนา

117 โลเมีย

117 Lomia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Lamia ปีศาจเพศหญิงจากเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ117 โลเมีย

118 พีโธ

118 Peitho เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อมาจาก Peithos จากเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ118 พีโธ

119 แอลเธีย

119 Althaea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Althaea มารดาของ Meleager ในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ119 แอลเธีย

120 แลคิซิส

120 แลคิซิส (120 Lachesis) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามแลคิซิส (Lachesis).

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ120 แลคิซิส

121 เฮอร์ไมโอนี

121 เฮอร์ไมโอนี (Hermione) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ121 เฮอร์ไมโอนี

122 เกอร์ดา

122 Gerda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Gerðr ภรรยาของเทพเจ้า Freyr ในตำนานนอร.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ122 เกอร์ดา

123 บรุนฮิลด์

123 Brunhild เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Brynhildr วาลคิรีในตำนานนอร.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ123 บรุนฮิลด์

124 แอลเคสต์

124 Alkeste เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Alcestis เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ124 แอลเคสต์

125 ไลเบรอเทรกซ์

125 Liberatrix เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ125 ไลเบรอเทรกซ์

126 เวลเลดา

126 Velleda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Veleda นักบวชและผู้เผยพระวจนะของชนเผ่าดั้งเดิมของ Bructeri.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ126 เวลเลดา

127 โจแฮนนา

127 Johanna เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ127 โจแฮนนา

128 เนเมซิส

128 Nemesis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Nemesis เทพีแห่งการลงโทษในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ128 เนเมซิส

129 แอนทิโกนี

129 Antigone เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Antigone เจ้าหญิงในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ129 แอนทิโกนี

130 อิเล็กตรา

130 อิเล็กตรา (Elektra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ130 อิเล็กตรา

131 วาลา

131 Vala เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ถูกค้นพบโดย ซี. เอช. เอฟ ปีเตอร์ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ131 วาลา

132 อีทรา

132 อีทรา (132 Aethra) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตามอีทรา มารดาของทีซีอัส (Theseus) ในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ132 อีทรา

133 Cyrene

133 Cyrene เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่อตาม Cyrene นิมฟ์ในเทพนิยายกรีก.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ133 Cyrene

134 โซโฟรซีนี

134 Sophrosyne เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ134 โซโฟรซีนี

135 Hertha

135 Hertha เป็นดาวเคราะห์น้อยในกลุ่มดาวเคราะห์น้อยไนซาซึ่งอยู่ในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ135 Hertha

136 ออสเตรีย

136 ออสเตรีย (Austria) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ136 ออสเตรีย

137 เมลีเบีย

137 Meliboea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ137 เมลีเบีย

138 โทโลซา

138 โทโลซา (Tolosa, to-loe'-za;: Tolōsa)เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ138 โทโลซา

139 จูเอวา

139 จูเอวา (139 Juewa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ139 จูเอวา

140 ชีวา

140 ชีวา (Siwa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ140 ชีวา

141 ลูว์แมน

141 ลูว์แมน (141 Lumen) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ141 ลูว์แมน

142 Polana

142 Polana เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ142 Polana

143 Adria

143 Adria เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ143 Adria

144 Vibilia

144 Vibilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ144 Vibilia

145 Adeona

145 Adeona เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ145 Adeona

146 Lucina

146 Lucina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ146 Lucina

147 Protogeneia

147 Protogeneia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ147 Protogeneia

148 Gallia

148 Gallia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ148 Gallia

149 เมดูซา

149 เมดูซา (Medusa) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ149 เมดูซา

159 Aemilia

159 Aemilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ159 Aemilia

160 Una

160 Una เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ160 Una

2 พัลลัส

2 พัลลัส (Παλλάς) เป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุดในแถบหลัก เป็นดาวเคราะห์น้อยที่ได้รับการค้นพบเป็นดวงที่สอง โดยนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส เมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ2 พัลลัส

201 พิเนโลพี

201 พิเนโลพี (201 Penelope) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ201 พิเนโลพี

202 ไครซีอิส

202 ไครซีอิส (202 Chryseïs) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ202 ไครซีอิส

203 ปอมเปจา

203 ปอมเปจา (Pompeja) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ203 ปอมเปจา

204 Kallisto

204 Kallisto เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ204 Kallisto

205 Martha

205 Martha เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ205 Martha

206 Hersilia

206 Hersilia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ206 Hersilia

207 Hedda

207 Hedda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ207 Hedda

208 Lacrimosa

208 Lacrimosa เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ208 Lacrimosa

209 Dido

209 Dido เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ209 Dido

210 Isabella

210 Isabella เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ210 Isabella

211 อิซอลดา

211 อิซอลดา (211 Isolda) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ211 อิซอลดา

212 Medea

212 Medea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ212 Medea

213 Lilaea

213 Lilaea เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ213 Lilaea

214 แอเชอรา

214 แอเชอรา (214 Aschera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ214 แอเชอรา

21464 ชินอรุณชัย

21464 ชินอรุณชัย (1998 HH88) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบหลัก ค้นพบเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) โดยทีมวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น ที่เมืองโซคอร์โร รัฐนิวเม็กซิโก มีชื่อรหัสในขณะค้นพบว่า 1998 HH88 ชื่อของดาวเคราะห์น้อยมาจากนามสกุลของ นายทนงศักร ชินอรุณชัย หนึ่งในสามเยาวชนไทยผู้ทำโครงการ "การแตกตัวของฝักต้อยติ่ง" และได้รับรางวัลแกรนด์อวอร์ด (Grand Award) จากงานอินเทลไอเซฟ (Intel International Science and Engineering Fair: ISEF) ที่สหรัฐอเมริกา เมื่อปี..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ21464 ชินอรุณชัย

215 อีโนนี

215 อีโนนี (215 Oenone) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ215 อีโนนี

216 คลีโอพัตรา

216 คลีโอพัตรา (Kleopatra) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ216 คลีโอพัตรา

21632 สุวรรณศรี

21632 สุวรรณศรี (1999 NR11) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบหลัก ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 โดยทีมวิจัยดาวเคราะห์น้อยใกล้โลกลินคอล์น เมืองโซคอร์โร รัฐนิวเม็กซิโก ชื่อนี้สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ครองรัฐ สุวรรณศรี อดีตนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา หนึ่งในคณะผู้ร่วมทำโครงงานพฤกษศาสตร์ “การแตกตัวของฝักต้อยติ่ง” และได้รับรางวัลที่ 2 ในงาน Intel International science and Engineering Fair (ISEF) เมื่อ..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ21632 สุวรรณศรี

217 Eudora

217 Eudora เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ217 Eudora

218 Bianca

218 Bianca เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ218 Bianca

219 Thusnelda

219 Thusnelda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ219 Thusnelda

22 Kalliope

22 Kalliope (kəlaɪ.əpiː / kə LY-ə-Pee; กรีก: Καλλιόπη) เป็นดาวเคราะห์น้อยชนิด M ที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดย J.R. Hind เมื่อ 16 พฤศจิกายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ22 Kalliope

220 Stephania

220 Stephania เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ220 Stephania

221 Eos

221 Eos เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ221 Eos

222 Lucia

222 Lucia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ222 Lucia

223 Rosa

223 Rosa เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ223 Rosa

224 โอเชียนา

224 โอเชียนา (Oceana) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ224 โอเชียนา

225 Henrietta

225 Henrietta เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ225 Henrietta

226 Weringia

226 Weringia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ226 Weringia

227 Philosophia

227 Philosophia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ227 Philosophia

228 Agathe

228 Agathe เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ228 Agathe

229 Adelinda

229 Adelinda เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ229 Adelinda

230 Athamantis

230 Athamantis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ230 Athamantis

231 วินโดโบนา

231 วินโดโบนา (231 Vindobona) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ231 วินโดโบนา

232 รัสเซีย

232 รัสเซีย (232 Russia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ซึ่งค้นพบโดยโยฮันน์ พาลิซา เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2426 ที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย แต่ตั้งชื่อตามประเทศรัสเซี.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ232 รัสเซีย

233 Asterope

233 Asterope เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ233 Asterope

23308 นิยมเสถียร

23308 นิยมเสถียร เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อย ระบบสุริยะจักรวาล มีคาบการโคจร 1502.5338982 วัน (4.11 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ23308 นิยมเสถียร

23310 ศิริวัน

23310 ศิริวัน (23310 Siriwon) เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งในแถบดาวเคราะห์น้อยของระบบสุริยะ มีคาบการโคจร 1240.4205508 วัน (3.40 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ23310 ศิริวัน

23313 สุโภไควณิช

ป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยที่มีคาบดาราคติ 1227.2011173 วัน (3.36 ปี) ถูกค้นพบในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2544 และตั้งชื่อตาม ณฐพล สุโภไควณิช นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาในขณะนั้น ที่เป็นหนึ่งในสามสมาชิกกลุ่มตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ งาน Intel International Science and Engineering Fair หรือ ISEF ที่สหรัฐอเมริกา เรื่องรูปแบบการหุบของใบไมยราบ ซึ่งได้อันดับ 1 ของโลก เมื่อปี..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ23313 สุโภไควณิช

234 Barbara

234 Barbara เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ234 Barbara

235 แคโรไลนา

235 แคโรไลนา (235 Carolina) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา เมื่อ 28 พฤศจิกายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ235 แคโรไลนา

236 โฮโนเรีย

236 โฮโนเรีย (236 Honoria) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ถูกค้นพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวออสเตรีย โยฮันน์ ปาลีซา เมื่อวันที่ 26 เมษายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ236 โฮโนเรีย

237 โคเอเลสตีนา

237 โคเอเลสตีนา (237 Coelestina) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย มันถูกค้นพบโดยโยฮันน์ ปาลีซา เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ237 โคเอเลสตีนา

238 ไฮเพเชีย

238 ไฮเพเชีย (238 Hypatia) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ238 ไฮเพเชีย

239 แอดรัสเทีย

239 แอดรัสเทีย (239 Adrastea) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ239 แอดรัสเทีย

240 Vanadis

240 Vanadis เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ240 Vanadis

241 Germania

241 Germania เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ241 Germania

242 Kriemhild

242 Kriemhild เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ242 Kriemhild

243 ไอด้า

243 ไอดา (Ida) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดยโยฮันน์ พาลิซา เมื่อปี พ.ศ. 2427.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ243 ไอด้า

244 Sita

244 Sita เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ244 Sita

245 วีรา

245 วีรา (245 Vera) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ245 วีรา

246 Asporina

246 Asporina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ246 Asporina

247 Eukrate

247 Eukrate เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ247 Eukrate

248 Lameia

248 Lameia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ248 Lameia

249 Ilse

249 Ilse เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ249 Ilse

250 Bettina

250 Bettina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ250 Bettina

251 โซเฟีย

251 โซเฟีย เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ251 โซเฟีย

252 Clementina

252 Clementina เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ252 Clementina

253 มาทิลเด

253 มาทิลเด (253 Mathilde) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก ค้นพบโดย โยฮันน์ พาลิซา ใน พ.ศ. 2428 ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์จำนวนสี่ปี และโคจรรอบตัวเองด้วยอัตราที่ช้าผิดปกติ คือใช้เวลา 17.4 วัน ในการโคจรรอบตัวเองครบหนึ่งรอบ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท C ซึ่งพื้นผิวมีส่วนประกอบของคาร์บอนอยู่ปริมาณมาก ทำให้พื้นผิวของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ทึบแสง โดยจะสะท้อนแสงเพียง 4% ของแสงที่ตกกระทบ เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ253 มาทิลเด

254 Augusta

254 Augusta เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อย ค้นพบโดย โจฮานน์ พาลิซา เมื่อปี พ.ศ. 2429.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ254 Augusta

255 Oppavia

255 Oppavia เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ255 Oppavia

256 แวลพัวร์กา

256 แวลพัวร์กา (256 Walpurga) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ256 แวลพัวร์กา

2985 เชกสเปียร์

ดาวเคราะห์น้อย 2985 เชกสเปียร์ เป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กที่อยู่ในแถบหลัก ค้นพบโดย เอ็ดเวิร์ด โบเวลล์ ในปี ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ2985 เชกสเปียร์

33179 อาร์แซนแวงแกร์

33179 อาร์แซนแวงแกร์ (33179 Arsènewenger) เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก มีคาบดาราคติเท่ากับ 1544.2942189 วัน (4.23 ปี) ค้นพบเมื่อวันที่ 29 มีนาคม..

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ33179 อาร์แซนแวงแกร์

4 เวสตา

4 เวสต้า (Vesta) เป็นวัตถุขนาดใหญ่ที่มีมวลมากที่สุดเป็นลำดับสองในแถบดาวเคราะห์น้อย โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยประมาณ 530 กิโลเมตร (329 ไมล์) และมีมวลคิดเป็นประมาณ 9% ของมวลดาวเคราะห์น้อยในแถบหลักทั้งหมด ผู้ค้นพบเวสต้าคือนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส ค้นพบเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ4 เวสตา

434 ฮังกาเรีย

434 ฮังกาเรีย เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลัก จัดเป็นดาวเคราะห์น้อยประเภท E (คือมีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงสูง) ชื่อของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้ใช้เป็นชื่อตระกูลดาวเคราะห์น้อยฮังกาเรีย ซึ่งเป็นกลุ่มของดาวเคราะห์น้อยที่มีวงโคจรต่ำกว่าช่องว่างเคิร์กวูด 1:4 ห่างออกมาจากแกนกลางของแถบหลัก แมกซ์ วูล์ฟ แห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก เป็นผู้ค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงนี้เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ434 ฮังกาเรีย

5535 แอนน์แฟรงก์

วเคราะห์น้อยแอนน์แฟรงก์ ถ่ายจากยานอวกาศสตาร์ดัสต์ 5535 แอนน์แฟรงก์ (5535 Annefrank) เป็นดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ในแถบดาวเคราะห์น้อยหลักด้านใน เป็นสมาชิกดวงหนึ่งในตระกูลดาวเคราะห์น้อยออกัสตา ค้นพบโดยคาร์ล ไรน์มุท (Karl Reinmuth) เมื่อปี ค.ศ.

ดู แถบดาวเคราะห์น้อยและ5535 แอนน์แฟรงก์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Asteroid belt

122 เกอร์ดา123 บรุนฮิลด์124 แอลเคสต์125 ไลเบรอเทรกซ์126 เวลเลดา127 โจแฮนนา128 เนเมซิส129 แอนทิโกนี130 อิเล็กตรา131 วาลา132 อีทรา133 Cyrene134 โซโฟรซีนี135 Hertha136 ออสเตรีย137 เมลีเบีย138 โทโลซา139 จูเอวา140 ชีวา141 ลูว์แมน142 Polana143 Adria144 Vibilia145 Adeona146 Lucina147 Protogeneia148 Gallia149 เมดูซา159 Aemilia160 Una2 พัลลัส201 พิเนโลพี202 ไครซีอิส203 ปอมเปจา204 Kallisto205 Martha206 Hersilia207 Hedda208 Lacrimosa209 Dido210 Isabella211 อิซอลดา212 Medea213 Lilaea214 แอเชอรา21464 ชินอรุณชัย215 อีโนนี216 คลีโอพัตรา21632 สุวรรณศรี217 Eudora218 Bianca219 Thusnelda22 Kalliope220 Stephania221 Eos222 Lucia223 Rosa224 โอเชียนา225 Henrietta226 Weringia227 Philosophia228 Agathe229 Adelinda230 Athamantis231 วินโดโบนา232 รัสเซีย233 Asterope23308 นิยมเสถียร23310 ศิริวัน23313 สุโภไควณิช234 Barbara235 แคโรไลนา236 โฮโนเรีย237 โคเอเลสตีนา238 ไฮเพเชีย239 แอดรัสเทีย240 Vanadis241 Germania242 Kriemhild243 ไอด้า244 Sita245 วีรา246 Asporina247 Eukrate248 Lameia249 Ilse250 Bettina251 โซเฟีย252 Clementina253 มาทิลเด254 Augusta255 Oppavia256 แวลพัวร์กา2985 เชกสเปียร์33179 อาร์แซนแวงแกร์4 เวสตา434 ฮังกาเรีย5535 แอนน์แฟรงก์