สารบัญ
25 ความสัมพันธ์: ชิเบนีกพันโนเนียกองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนีรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชอาณาจักรอิตาลีรายชื่อสนธิสัญญาลีเยพานาชาดอมอวีนอสมเด็จพระเจ้าโทมิสลาฟที่ 1 แห่งโครเอเชียสงครามครูเสดครั้งที่ 4สงครามประสานมิตรครั้งที่สามสปลิตสนธิสัญญาลอนดอน (1915)จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิยูลิอุส แนโปสจักรพรรดิเฮราคลิอัสธงชาติเซอร์เบียคนีนประเทศโครเอเชียประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรนิยามของตรานิคโคโล เดลอาร์คาเชทนิกส์เกาะบราชเกาะกาแล็ชญักเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5
ชิเบนีก
นีก (Šibenik) เป็นเมืองประวัติศาสตร์เมืองหนึ่งของประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ในภูมิภาคแดลเมเชียตอนกลาง บริเวณที่แม่น้ำเคอร์คาไหลลงสู่ทะเลเอเดรียติก ชิเบนีกเป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การขนส่ง อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวของเทศมณฑลชิเบนีก-คนีน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ในภูมิภาคแดลเมเชียอันเก่าแก่ นอกจากนี้ยังเป็นเมืองของชาวโครแอตพื้นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดริมชายฝั่งทะเลอีกด้ว.
พันโนเนีย
ักรวรรดิโรมันในสมัยของจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงจังหวัดโรมันทางตอนกลางของแม่น้ำดานูบ: "อัปเปอร์พันโนเนีย" (ออสเตรียตะวันออก/สโลวีเนีย) และ "โลว์เออร์พันโนเนีย" (ฮังการีตะวันตก) และกองทหารโรมันสองกองที่ถูกส่งไปยังทั้งสองบริเวณนั้นในปี ค.ศ.
กองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี
กองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี (Deutsches Bundesheer) เป็นกองทัพของสมาพันธรัฐเยอรมนี สถาปนาขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1866 โดยมีรากฐานจากการรวมกันของกองทหารรัฐต่างๆในสมาพันธรัฐเยอรมัน - มีหน้าที่ปกป้องดินแดน พิทักษ์อธิปไตยของสมาพันธรัฐจากศัตรูผู้รุกราน ในช่วงก่อตั้งฝรั่งเศสได้ส่งกองทัพเข้าร่วมทำสงครามต่อต้านจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, ทั้งนี้รัสเซีย เข้ามามีบทบาทในระหว่างการผนวกดินแดนของชาวสลาฟ.
ดู แดลเมเชียและกองทัพสมาพันธรัฐเยอรมนี
รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ
รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (State of Slovenes, Croats and Serbs) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเพียงในระยะเวลาอันสั้น โดยตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บก่อตั้งขึ้นหลังจากการยุบตัวของจักรวรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยประชาชนชาวสโลวีน ชาวโครเอเชีย และชาวเซอร์เบีย รวมไปถึงชาวบอสนีแอก.
ดู แดลเมเชียและรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ
ราชอาณาจักรอิตาลี
ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและราชอาณาจักรอิตาลี
รายชื่อสนธิสัญญา
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.
ดู แดลเมเชียและรายชื่อสนธิสัญญา
ลีเยพานาชาดอมอวีนอ
ลีเยพานาชาดอมอวีนอ เป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐโครเอเชีย โดยบทนำคือคำว่า Lijepa naša หมายถึง ความงดงามของข้า ใช้กันแพร่หลายในประเทศโครเอเชีย คำร้องต้นฉบับประพันธ์โดย อันทุน มีฮานอวิช (Antun Mihanović) ถูกตีพิมพ์ภายใต้ชื่อ "Horvatska domovina" ("Croatian homeland") ในปี 1835 เพลงเป็นผู้ประพันธ์โดย ยอซิป รุนยานิน (Josip Runjanin) ในปี 1846 บทเพลงได้เสร้จสิ้นลงตามที่เขียนไว้บนโน้ต และ ได้ประสานงานงานกับ วาโตรสลาฟ ลิชเติร์นเนกเกอร์ (Vatroslav Lichtenegger) ในปี 1861 และได้ไปดำเนินการเคารพเพลงชาติโครเอเชีย ในแต่ละปี มีความแตกต่างกัน เพลงชาติฉบับดั้งเดิมมี 15 บท รัฐสภาโครเอเชียยังมิได้รับรองการประกาศใช้เพลงชาติอย่างเป็นทางการ ในปี..
ดู แดลเมเชียและลีเยพานาชาดอมอวีนอ
สมเด็จพระเจ้าโทมิสลาฟที่ 1 แห่งโครเอเชีย
มเด็จพระเจ้าโทมิสลาฟที่ 1 แห่งโครเอเชีย (Tomislav I of Croatia) (? – ค.ศ. 928) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโครเอเชียแห่งราชวงศ์ Trpimirović ผู้ครองราชย์ต่อจากดยุกมันซิเมียร์แห่งโครเอเชียระหว่างปี ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและสมเด็จพระเจ้าโทมิสลาฟที่ 1 แห่งโครเอเชีย
สงครามครูเสดครั้งที่ 4
งครามครูเสดครั้งที่ 4 (Fourth Crusade) (ค.ศ. 1202-ค.ศ. 1204) เป็นสงครามครูเสด ครั้งที่สี่ที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1202 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและสงครามครูเสดครั้งที่ 4
สงครามประสานมิตรครั้งที่สาม
งครามประสานมิตรครั้งที่สาม (War of the Third Coalition) เป็นสงครามในทวีปยุโรประหว่างปี..
ดู แดลเมเชียและสงครามประสานมิตรครั้งที่สาม
สปลิต
ปลิต (Split) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศโครเอเชียและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคแดลเมเชีย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรเล็ก ๆ ริมชายฝั่งตะวันออกของทะเลเอเดรียติก เมืองนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมแห่งหนึ่งและเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งภายในภูมิภาค และยังมีระบบขนส่งเชื่อมโยงกับกลุ่มเกาะในทะเลเอเดรียติกและเมืองในคาบสมุทรอิตาลีด้ว.
สนธิสัญญาลอนดอน (1915)
กติกาสัญญาลอนดอน (London Pact) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (Treaty of London) ใน..
ดู แดลเมเชียและสนธิสัญญาลอนดอน (1915)
จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2335 - พ.ศ.
ดู แดลเมเชียและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดิยูลิอุส แนโปส
ักรพรรดิยูลิอุส แนโปส (Julius Nepos) (ราว ค.ศ. 430 – ค.ศ. 480) ยูลิอุส แนโปสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันตก ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิไกลเซริอัสในเดือนมิถุนายน ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและจักรพรรดิยูลิอุส แนโปส
จักรพรรดิเฮราคลิอัส
ักรพรรดิเฮราคลิอัส หรือ จักรพรรดิเฮราเคลออส(Heraclius; ชื่อเต็ม: Flavius Heraclius Augustus, Φλάβιος) (ราว ค.ศ. 575 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและจักรพรรดิเฮราคลิอัส
ธงชาติเซอร์เบีย
งชาติเซอร์เบีย เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) โดยแบ่งภายในเป็นแถบแนวนอน 3 ริ้ว มีสีแดงอยู่บนสุด สีน้ำเงินอยู่กลาง สีขาวอยู่ล่าง ธงดังกล่าวนี้ได้ปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์เซอร์เบียในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย และถือกันว่าเป็นธงชาติของชนชาวสลาฟทั้งมวล สำหรับธงที่ใช้ในราชการนั้นจะมีรูปตราอาร์มแผ่นดินอย่างย่อของเซอร์เบียอยู่ตรงกลาง โดยตำแหน่งของตรานั้นจะห่างจากด้านซ้ายของธง 1 ใน 7 ส่วนของความยาวธง ธงลักษณะข้างต้นนี้เดิมเคยใช้เป็นธงชาติของราชอาณาจักรเซอร์เบียตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและธงชาติเซอร์เบีย
คนีน
นีน (Knin) เป็นเมืองในเทศมณฑลชิเบนีก-คนีน ประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่บริเวณตอนในของภูมิภาคแดลเมเชียใกล้ต้นน้ำเคอร์คา เป็นจุดเชื่อมต่อที่สำคัญแห่งหนึ่งทางรถไฟและรถยนต์ระหว่างกรุงซาเกร็บกับเมืองสปลิต คนีนก้าวขึ้นสู่จุดสูงสุดสองครั้งในประวัติศาสตร์ในฐานะเมืองหลวงของราชอาณาจักรโครเอเชียในยุคกลางและเมืองหลวงในระยะเวลาสั้น ๆ ของสาธารณรัฐเซิร์บแห่งครายินาซึ่งประกาศตัวเองระหว่างปี พ.ศ.
ประเทศโครเอเชีย
รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ.
ดู แดลเมเชียและประเทศโครเอเชีย
ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู แดลเมเชียและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
นิยามของตรา
นิยามของตรา (Blazon) ในด้านการศึกษาทางด้านมุทราศาสตร์ และ ธัชวิทยา “Blazon” หรือ “นิยามของตรา” คือคำบรรยายอย่างเป็นทางการของลักษณะของตรา ที่ส่วนใหญ่เป็นการบรรยายตราอาร์ม หรือ ธง ที่สามารถทำให้ผู้สร้างสามารถสร้างตรา, ธง หรือ เครื่องหมายได้ตามความต้องการอย่างถูกต้อง ฉะนั้นรูปลักษณะและองค์ประกอบของตราอาร์ม หรือ ธงตามหลักแล้วไม่ใช่เป็นการบรรยายโดยการใช้รูป แต่จะเป็นการบรรยายโดยตัวอักษร (แต่ในสมัยปัจจุบัน จะมีการให้นิยามเพิ่มเติมและบรรยายอย่างเจาะจงกว่าที่เป็นมาด้วยรายละเอียดทางเรขาคณิต) “นิยามของตรา” ใช้ภาษาเฉพาะทางในการเขียนนิยามตั้งแต่หลักการวางตำแหน่งของคำบรรยาย การใช้คำกิริยา ไปจนถึงหลัก และลำดับการเขียนคำบรรยายของแต่ละส่วนที่ย่อยออกไป เช่นคำแรกที่พบในการบรรยายตราคือชื่อผิวตรา ที่หมายถึงสีหรือผิวของพื้นตรา เช่น “Azure...” ซึ่งหมายความว่า “ (พื้นตรา) น้ำเงิน” ผู้อ่านที่เข้าใจหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยามจะทราบว่า “Azure...” เป็นสีของพื้นตราโดยไม่ต้องมีคำว่า “Field” ที่แปลว่าพื้นตรานำหน้าคำว่า “Azure...” เพราะตำแหน่งการวางคำเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยาม นอกจากโครงสร้างการวางลำดับการบรรยายและการใช้ไวยากรณ์แล้ว นิยามของตราในมุทราศาสตร์ก็ยังใช้คำศัพท์ที่เป็นศัพท์เฉพาะกิจเช่นคำว่า “Charge” ที่หมายถึง “เครื่องหมาย” บน “พื้นตรา” (Field) หรือคำว่า “Attitude” ที่หมายถึง “ลักษณะการวางท่า” ของมนุษย์หรือสัตว์ที่ปรากฏบนตรา นอกจากตราอาร์ม หรือ ธง แล้ว “นิยามของตรา” ก็อาจจะใช้ในการบรรยายลักษณะของสิ่งอื่นๆ ด้วยเช่น ตรายศ (badge), แถบคำขวัญ (banner) และ ตราประทั.
นิคโคโล เดลอาร์คา
นิคโคโล เดลอาร์คา (ภาษาอังกฤษ: Niccolò dell’Arca หรือ Niccolò da Ragusa หรือ Niccolò da Bari หรือ Niccolò d'Antonio d'Apulia) (ราว ค.ศ. 1435 - ค.ศ. 2 มีนาคม ค.ศ.
ดู แดลเมเชียและนิคโคโล เดลอาร์คา
เชทนิกส์
ขบวนการเชทนิกส์ที่แยกตัวจากกองทัพยูโกสลาเวีย(Chetnik Detachments of the Yugoslav Army) หรือเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า เชทนิกส์ (Četnici, Четници,; Četniki),เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวในยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองภายใต้การนำโดยเดรซา มิเฮลโรวิก(Draža Mihailović) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านฝ่ายอักษะในเป้าหมายระยะยาวของพวกเขาซึ่งมีส่วนร่วมในการเคลื่อนไหวต่อต้านที่เล็กน้อยจากระยะเวลาที่จำกัด พวกเขายังได้มีส่วนร่วมในกลยุทธ์หรือการเลือกที่จะให้ความร่วมมือกับกองกำลังยึดครองเกือบทั้งหมดของสงคราม เชทนิกส์ของมิเฮลโรวิกได้รับนโยบายจากการให้ความร่วมมือจากการเป็นมิตรกับฝ่ายอักษะและทำงานร่วมกับจากระดับหนึ่งหรืออีกอย่างโดนการจัดตั้ง modus vivendi หรือปฏิบัติการที่"ถูกต้องตามกฏหมาย" กองกำลังเสริมภายใต้การควบคุมฝ่ายอักษะ ในช่วงระยะเวลาหนึ่งและในหลายส่วนของประเทศ กลุ่มเคลื่อนไหวของเชทนิกส์ได้เติบโตอย่างก้าวหน้า ได้เข้าร่วมในข้อตกลทำงานร่วมกัน:ครั้งแรกกับกองกำลังเนดิกในเขตการปกครองของผู้บัญชาการกองทัพในเซอร์เบีย จากนั้นก็อิตาลีในเขตยึดครองแดลเมเชียและมอนเตเนโกร กับกองกำลังอูสตาซีในภาคเหนือของบอสเนีย และภายหลังจากการยอมจำนนของอิตาลี ก็ได้ให้ความร่วมมือกับเยอรมันโดยตรง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ยูโกสลาเวีย หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง.
เกาะบราช
กาะบราช (ภาษาถิ่น: Broč; Bretia, Brattia; Brazza) เป็นเกาะในทะเลเอเดรียติก นอกชายฝั่งดัลเมเชีย ของประเทศโครเอเชีย มีพื้นที่ 396 กม² ทำให้เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในดัลเมเชีย และเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเอเดรียติก เกาะมีประชากร 14,436 คน.
เกาะกาแล็ชญัก
กาแล็ชญัก (Galešnjak, หรือเรียกว่า เกาะแห่งรัก, เกาะแห่งคนรัก, Otok za zaljubljene) ตั้งอยู่ในทะเลเอเดรียติก ระหว่างเกาะปัชมันกับเมืองตูรัญบนแผ่นดินใหญ่ของประเทศโครเอเชีย ความน่าสนใจคือรูปร่างของเกาะนี้เป็นรูปหัวใจซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ คล้ายกับแนวปะการังรูปหัวใจในหมู่เกาะวิตซันเดส์ของประเทศออสเตรเลีย กาแล็ชญักมีพื้นที่ 0.132 ตารางกิโลเมตร มีชายหาดยาว 1.55 กิโลเมตร จุดสูงสุดของเกาะคือยอดเขาสองลูกที่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 36 เมตร รูปร่างของเกาะนี้ได้รับการบันทึกครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนักเขียนแผนที่ของนโปเลียนนามว่า ชาร์ล-ฟร็องซัว โบต็อง-โบเพร ซึ่งแสดงเกาะนี้ไว้ในแผนที่เล่มแสดงชายฝั่งของภูมิภาคแดลเมเชีย (ปัจจุบันเก็บอยู่ในหอสมุดแห่งชาติและแห่งมหาวิทยาลัยในซาเกร็บ) ในเดือนกุมภาพัน..
เรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5
รือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5 (T5) เป็นเรือยิงตอร์ปิโดประจำการในราชนาวียูโกสลาเวียระหว่างปี..
ดู แดลเมเชียและเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5
หรือที่รู้จักกันในชื่อ DalmatiaDalmatian Coastฝั่งทะเลดาลเมเชีย