โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แคซ็อง

ดัชนี แคซ็อง

แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.

41 ความสัมพันธ์: พระนางชินมย็องซุนซ็องพระนางว็อนซ็องพระนางซินซ็องพระนางแทมกพระเจ้าชุงซอนพระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อนพระเจ้ามุนว็อนแห่งโครยอพระเจ้าวอนจงแห่งโครยอพระเจ้าอันจงแห่งโครยอพระเจ้าอินจงแห่งโครยอพระเจ้าอูแห่งโครยอพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอพระเจ้าคยองซุนพระเจ้าคงมินพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าแทจงพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าแทโจแห่งโครยอพระเจ้าโคจงแห่งโครยอพระเจ้าเซโจแห่งโครยอการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)การระดมยิงย็อนพย็องการรถไฟแห่งรัฐเกาหลีการขนส่งระบบรางในประเทศเกาหลีเหนือการขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือราชวงศ์โครยอรายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศเกาหลีเหนือรายชื่อนครในประเทศเกาหลีเหนือรายชื่อเมืองพิเศษในประเทศเกาหลีสายพย็องบูสถานีรถไฟเปียงยางสงครามเกาหลีหมู่บ้านสันติภาพ (ประเทศเกาหลีเหนือ)จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจงทางหลวงเอเชียสาย 1ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนันคิม จ็อง-อิลแอร์โครยอโพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลกเขตการปกครองของประเทศเกาหลีเหนือเขตอุตสาหกรรมแคซ็อง

พระนางชินมย็องซุนซ็อง

มเด็จพระจักรพรรดินีชินมย็องซุนซ็อง ตระกูลยู แห่งชุงจู (Queen Shinmyongsunseong) พระมเหสีองค์ที่ 3 ใน พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ พระราชมารดาของพระราชาแห่งโครยอถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้าจองจงที่ 1 พระราชาลำดับที่ 3 และ พระเจ้าควางจง พระราชาลำดับที่ 4 เป็นพระอัยยิกาในพระเจ้าคย็องจง พระราชาลำดับที่ 5 และเป็นพระปัยยิกาในพระเจ้ามกจง พระราชาลำดับที่ 7 พระราชินีชินมย็องซุนซ็องประสูติในตระกูลยู แห่งชุงจูเมื่อ..

ใหม่!!: แคซ็องและพระนางชินมย็องซุนซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางว็อนซ็อง

สมเด็จจักรพรรดินีวอนซอง ตระกูล คิม (?-1028) เป็นพระมเหสีของ พระเจ้าฮย็อนจง และเป็นพระราชมารดาของพระราชาถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้าทอกจง และ พระเจ้าจองจงที่ 2 พระมเหสีวอนซอง ประสูติเมื่อใดไม่มีหลักฐานเป็นธิดาคนโตของ คิมอึนบู เจ้าเมืองเล็กๆแห่งหนึ่งซึ่งพระเจ้าฮย็อนจงมาพำนักหนีภัยสงครามกับต้าเหลียวต่อมาคิมอึนบูได้นำธิดาทั้ง 3 คนมาปรนิบัติและถวายตัวต่อพระเจ้าฮย็อนจงพระองค์จึงรับธิดาทั้ง 3 ของคิมอึนบูเป็นพระมเหสีเมื่อพระเจ้าฮย็อนจงเสด็จกลับถึงเมืองหลวงจึงโปรดให้ราชเลขาประกาศแต่งตั้งให้คิมอึนบูพระสัสสุระ (พ่อตา) เข้ามารับรับราชการเป็นรองมหาเสนาบดีต่อมาพระมเหสีวอนซองมีพระโอรสให้พระเจ้าฮย็อนจงถึง 2 พระองค์ พระมเหสีวอนซอง สิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1028 หมวดหมู่:ราชินีแห่งเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ หมวดหมู่:ตัวละครในชอนชู หัวใจเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: แคซ็องและพระนางว็อนซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางซินซ็อง

สมเด็จพระจักรพรรดินีซินซอง ตระกูลคิมแห่งคย็องจู (Queen Shinseong Gyeongju of Kim Clan) พระมเหสีองค์ที่ 5 ใน พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โครยอ เป็นพระมารดาของ องค์ชายวังอุก พระราชโอรสองค์ที่ 13 และเป็นพระอัยยิกาของ พระเจ้าฮย็อนจง พระราชาลำดับที่ 8 พระราชินีซินซองประสูติที่ คย็องจู ในตระกูลคิมแห่งคย็องจูอันเป็นตระกูลของอดีตพระราชาแห่ง ชิลลา ทำให้พระองค์มีพระอิสริยยศเป็นองค์หญิงแห่งชิลลาเมื่อชิลลาล่มสลายพระองค์ได้อภิเษกกับพระเจ้าแทโจและมีพระโอรสพระองค์เดียวคือ องค์ชายวังอุก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ หมวดหมู่:ราชินีแห่งเกาหลี.

ใหม่!!: แคซ็องและพระนางซินซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางแทมก

มเด็จพระจักรพรรดินีแทมก (Queen Daemok, ? — ?) พระมเหสีใน พระเจ้าควางจง พระราชาลำดับที่ 4 แห่ง ราชวงศ์โครยอ เป็นพระราชมารดาของ พระเจ้าคย็องจง พระราชาลำดับที่ 5 และเป็นพระอัยยิกา (ย่า) ของ พระเจ้ามกจง พระราชาลำดับที่ 7 พระราชินีแทมกเป็นพระราชธิดาองค์เดียวของ พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่งโครยอที่ประสูติแต่ พระราชินีซินจอง พระมเหสีองค์ที่ 4 โดยพระองค์มีพระเชษฐาร่วมพระมารดาพระองค์เดียวคือ องค์ชายวังอุก ซึ่งต่อมาในรัชสมัย พระเจ้าซองจง ผู้เป็นพระโอรสและเป็นพระนัดดาของพระนางได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศภายหลังจากสิ้นพระชนม์เป็น พระเจ้าแทจง ต่อมาพระนางได้เข้าพิธีอภิเษกกับ พระเจ้าควางจง ผู้เป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาและมีพระราชโอรสและพระราชธิดาให้กับพระเจ้าควางจงทั้งสิ้น 5 พระอง.

ใหม่!!: แคซ็องและพระนางแทมก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชุงซอน

ระเจ้าชุงซอนแห่งโครยอ (ค.ศ. 1275 - ค.ศ. 1325) เป็น พระราชา องค์ที่ 26 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1298 และ ค.ศ. 1308 - ค.ศ. 1313) พระเจ้าชุงซอนเปนพระโอรสของพระเจ้าชุงยอล (충렬왕, 忠烈王) และองค์หญิงเจกุก (제국대장공주, 齊國大長公主) พระมเหสีชาวมองโกล พระธิดาของพระจักรพรรดิหยวนซื่อจูกุบไลข่าน (Kublai Khan) เมื่อพระเจ้าชุงซอนได้รับการสถาปนาเป็นองค์ชายรัชทายาทใน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าชุงซอน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าช็องจง (ค.ศ. 1357 - ค.ศ. 1419) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1398 - ค.ศ. 1400) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์ผู้สถาปนาราชวงศ์โชซ็อน พระเจ้าช็องจงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุนว็อนแห่งโครยอ

พระเจ้ามุนว็อนแห่งโครยอ (King Munwon of Goryeo) มีพระนามเดิมว่า องค์ชายวังจ็อง เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ใน พระเจ้าแทโจ ที่ประสูติแต่ พระนางชินมย็องซุนซ็อง (Queen Shinmyongsunseong Chungju of Yu Clan) และเป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชมารดาเดียวกับ พระเจ้าจองจงที่ 1 พระราชาลำดับที่ 3 และ พระเจ้าควางจง พระราชาลำดับที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ หมวดหมู่:ตัวละครในข้ามมิติ ลิขิตสวรรค์.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้ามุนว็อนแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ 5 เมษายน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าวอนจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอันจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอันจงแห่งโครยอ (Anjong of Goryeo, ? — 7 กรกฎาคม ค.ศ. 996) มีพระนามเดิมว่า องค์ชายวังอุก เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 13 ในพระเจ้าแทโจ ที่ประสูติแต่พระราชินีซินซอง จากตระกูลคิมแห่งคยองจูซึ่งพระนางซินซองเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ชิลลาทำให้องค์ชายวังอุกมีเชื้อสายของราชวงศ์ชิลลา พระนามขององค์ชายวังอุกนั้นพ้องเสียงกับพระเชษฐาต่างพระมารดาพระองค์หนึ่งคือ องค์ชายวังอุก พระโอรสองค์ที่ 8 ในพระเจ้าแทโจที่ประสูติแต่ พระนางชินมย็องซุนซ็อง เพียงแต่เขียนไม่เหมือนกันทำให้องค์ชายวังอุกหรือองค์ชาย 13 มีอีกพระนามหนึ่งว่า แพ็คอา พระองค์ได้อภิเษกกับ สมเด็จพระราชินีฮอนจอง อดีตพระมเหสีใน พระเจ้าคย็องจง พระราชาลำดับที่ 5 และมีพระโอรสเพียงองค์เดียวคือ องค์ชายวังซุน องค์ชายวังอุกสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าอันจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอินจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1109-ค.ศ. 1146) จักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1122-ค.ศ. 1146) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเยจงและพระมเหสีซุนด็อก รัชสมัยของพระองค์เต็มไปด้วยกบฏของขุนนางที่แย่งชิงอำนาจกัน ตลอดรัชกาลของพระองค์ทรงตกอยู่ภายใต้อำนาจและอิทธิพลของ ลีจากยอม (이자겸, 李資謙) พระบิดาของพระมเหสีซุนด๊อกและพระอัยกีของพระเจ้าอินจง รวมทั้งสมาชิกของตระกูลลีแห่งอินชอน ลีจากยอมนั้นมีอำนาจมากเสียจนเป็นที่เกรงขามของสมาชิกพระราชวงศ์ ตระกูลลีเข้าครอบงำราชสำนักเข้ามาเป็นขุนนางต่างๆ ใน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าอินจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอูแห่งโครยอ

ระเจ้าอูแห่งโครยอ (ค.ศ. 1365 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 32 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1374 - 1388) พระเจ้าอู พระนามว่า วัง อู (왕우, 王禑) เป็นพระโอรสของพระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) และนางทาสพันยา (반야, 般若) อย่างไรก็ตามนางทาสพันยานั้นเดิมเป็นอนุภรรยาของพระภิกษุชินตน (신돈, 辛旽) พระภิกษุซึ่งได้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าคงมินในช่วง..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าอูแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 992 - ค.ศ. 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1009 - ค.ศ. 1031) พระนามเดิมว่า เจ้าชายวัง ซุน (왕순, 王詢) เป็นพระราชโอรสของพระนางฮอนจอง ตระกูลฮวางโบ แห่งเมืองฮวางจู (헌정왕후 황보씨, 獻貞王后) อดีตองค์ราชินีของพระเจ้าคยองจง กับพระราชสวามีใหม่ของพระนางคือเจ้าชายวัง อุก แห่งเมืองคยองจู (왕욱, 王郁) ภายหลังเจ้าชายวังซุนได้รับอิสริยยศเป็น องค์ชายแทยาง (대량원군, 大良院君) เล่าว่าครั้งทรงพระครรภ์พระนางฮอนจองมีนิมิตว่าพระองค์ได้ขึ้นไปบนยอดเขาสูง แล้วเห็นคลื่นสาดซัดไล่ลงมาจากเขา และคลื่นน้ำนั้นได้กลายเป็นทะเลสีเงินแทน จากบันทึกในยุคสามอาณาจักรเล่าว่า พระราชินีมุนมยอง พระมเหสีของพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลาก็ทรงนิมิตเช่นเดียวกัน พระนางได้ให้กำเนิดพระเจ้ามุนมูผู้รวบรวมสามอาณาจักร และพระเจ้าฮย็อนจงก็ทรงเป็นกษัตริย์ที่สามารถรวบรวมดินแดนทางเหนือของโครยอกลับคืนมาได้สำเร็จ พระเจ้าฮย็อนจงเมื่อครองราชย์แล้วก็แต่งตั้งพระราชบิดาเจ้าชายวัง อุก เป็น พระเจ้าอานจง (안종, 安宗) พระเจ้าฮย็อนจงนั้นทรงตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขุนนางกลุ่มซิลลาใน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคยองซุน

ระเจ้าคยองซุนแห่งซิลลา (ครองราชย์ ค.ศ. 927 - ค.ศ. 935) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิลลา หนึ่งใน สามก๊กแห่งเกาหลี ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 56 และทรงเป็นกษัตริย์พระองค์สุดท้าย แห่งอาณาจักรซิลลา พระเจ้าคยองซุนเป็นทายาทรุ่นที่ 6 ของพระเจ้ามุนซองพระองค์เป็นโอรสขององค์ชายฮโยจองกับองค์หญิงคเยอา ซึ่งองค์หญิงคเยอาเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าฮอนคัง พระองค์มีพระชายาคือพระมเหสีจอกบัง(죽방부인) พระราชโอรสองค์โตคือ องค์ชายมาอึย รัชทายาทแห่งอาณาจักรซิลลาและพระราชโอรสองค์รองคือ องค์ชายบอมคง พระเจ้าคยองซุนขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิลลาได้เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งจากพระเจ้าคยอน ฮวอนแห่งอาณาจักรฮูแพกเจ หลังจากที่กองทัพของฮูแพกเจเข้ายึดครองเมืองคยองจูและอาณาจักรซิลลาในปี ค.ศ. 927 นั้นอาณาจักรซิลลาจึงอยู่ในฐานะเมืองขึ้นของอาณาจักรฮูแพกเจ และในปี ค.ศ. 935 พระเจ้าคยอน ฮวอนแห่งอาณาจักรฮูแพกเจสิ้นพระชนม์ทำให้พระเจ้าแทโจแห่งโครยอนำทัพเข้ายึดครองอาณาจักรซิลลาต่อจากอาณาจักรฮูแพกเจ และตั้งเปลี่ยนชื่ออาณาจักรจากอาณาจักรแทบงเป็นอาณาจักรโครยอ และพระเจ้าคยองซุนได้สละราชบัลลังก์รวมเข้ากับอาณาจักรโครยอ โดยพระเจ้าคยองซุนได้อภิเษกกับองค์หญิงนักรังพระราชธิดาของพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ at Doosan Encyclopedia หลังจากพระองค์สละราชบัลลังก์ลงพระเจ้าแทโจแห่งโครยอได้รวมอาณาจักรซิลลา อาณาจักรอาณาจักรฮูแพกเจ และอาณาจักรโครยอเข้าเป็นอาณาจักรเดียว พระเจ้าคยองซุนทรงใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ที่พระราชวังเล็กๆนอกเมืองแคซอง ซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโครยอกับพระชายาทั้งสองพระองค์คือพระมเหสีจอกบังและองค์หญิงนักรังอย่างมีความสุข และในปี ค.ศ. 978 พระเจ้าคยองซุนเสด็จสวรรคตในพระราชวังของพระองค์อย่างสงบ และนำมาซึ่งความโศกเศร้าของเหล่าประชาชนโครยอเชื้อสายซิลลาเป็นอย่างมาก พระศพของพระองค์ได้ถูกฝังที่ จางทัน-มยอน เมืองยอนชอน จังหวัดคยองกิ ประเทศเกาหลีใต้ในปัจจุบัน ตามบันทึกซัมกุก ซากิ องค์ชายมาอึย พระราชโอรสของพระเจ้าคยองซุน องค์รัชทายาทองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรซิลลา คัดค้านการรวมอาณาจักรของพระเจ้าคยองซุน พระองค์จึงได้ออกบวชเป็นฤๅษีที่ภูเขาคอมคัง.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าคยองซุน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงมิน

ระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (ค.ศ. 1330 - ค.ศ. 1374) เป็นพระราชาองค์ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1351 - 1374) เป็นผู้ปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของมองโกลราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินเป็นพระโอรสของพระเจ้าชุงซุก (충숙왕, 忠肅王) และพระมเหสีคงวอนตระกูลฮง พระนามว่า วัง คี (왕기, 王祺) องค์ชายวังคีมีพระเชษฐาเป็นองค์ชายรัชทายาทอยู่แล้ว ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าชุงฮเย (충혜왕, 忠惠王) องค์ชายวังคีเสด็จไปเมืองปักกิ่งและอภิเษกกับองค์หญิงมองโกล (ภายหลังคือ องค์หญิงโนกุก (노국대장공주, 魯國大長公主) ในค.ศ. 1344 เมื่อพระเจ้าชุงฮเยสวรรคต พระโอรสทั้งสองของพระเจ้าชุงฮเยก็ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ ได้แก่พระเจ้าชุงมก (충목왕, 忠穆王) และพระเจ้าชุงจอง (충정왕, 忠定王) ในค.ศ. 1344 องค์ชายวังคีได้รับการแต่งตั้งเป็น องค์ชายคังนึง (강릉부원대군, 江陵府院大君) ต่อมากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ก็สวรรคตโดยไร้ซึ่งรัชทายาท องค์ชายคังนึงจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติในค.ศ. 1351 ราชสำนักเกาหลีในขณะนั้นถูกครอบงำโดยคีชอล (기철, 奇轍) พระเชษฐาของพระจักรพรรดินีฉี (奇皇后) พระจักรพรรดินีของพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (元惠宗) โตคุนเตมูร์ข่าน (Toghun Temür Khan) พระจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์หยวน คีชอลนั้นถือตนมีอำนาจเหนือพระเจ้าคงมิน พระเจ้าคงมินจึงสั่งประหารชีวิตคีชอลในค.ศ. 1356 และกวาดล้างขุนนางที่สนับสนุนมองโกลทั้งหลาย พระจักรพรรดินีฉี ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนในประเทศจีนขณะนั้นจึงพิโรธพระเจ้าคงมินอย่างมากและส่งทัพมาสังหารพระเจ้าคงมินแก้แค้น พระเจ้าคงมินตัดสินพระทัยที่จะต่อต้านมองโกลอย่างเปิดเผลและสามารถขับทัพมองโกลที่พระจักรพรรดิหยวนส่งมาได้ เป็นการปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของราชวงศ์หยวนมากว่าแปดสิบปี ในค.ศ. 1359 ทางมองโกลได้นำทัพเข้าปราบกบฏโพกผ้าแดง (紅巾之亂, Red Turban Rebellion) ที่เมืองเหลียวตง พวกกบฏพากันหลบหนีข้ามแม่น้ำยาลูเข้ามาในโครยอและเข้าปล้นสะดมบ้านเมืองจนพระเจ้าคงมินต้องทรงส่งทัพเข้าขับไล่ออกไป ในค.ศ. 1361 กบฏโพกผ้าแดงได้ส่งทัพเข้ามาบุกโครยอยึดได้เมืองแคซองเป็นการแก้แค้น พระเจ้าคงมินและราชสำนักเสด็จหนีไปยังเมืองอันดง แต่เมืองแคซองก็ถูกกู้กลับคืนมาได้ด้วยฝีมือของขุนพลชเวยอง (최영, 崔瑩) และลีซองกเย พระเจาคงมินยังส่งขุนพลไปยึดดินแดนสองมณฑลที่ราชวงศ์หยวนยึดไปกลับคืนมา โดยในค.ศ. 1356 ส่งลีซองกเยไปยึดมณฑลซังซอง (쌍성부, 雙城府) และในค.ศ. 1370 ยึดมณฑลทงยอง (동녕부, 東寧府) นโยบายต่อต้านมองโกลของพระเจ้าคงมินทำให้พระองค์ไม่เป็นที่พอใจของบรรดาขุนนางเก่าซึ่งล้วนได้รับการสนับสนุนจากราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินต้องต่อสู้เพื่อลดอำนาจของขุนนางเหล่านี้ ในค.ศ. 1365 องค์หญิงโนกุกสิ้นพระชนม์ขณะกำลังพระครรภ์ ทำให้พระเจ้าคงมินหมดอาลัยตายอยากกับพระชนม์ชีพ ทิ้งกิจการบ้านเมืองทั้งหมดไว้แก่พระภิกษุชื่อว่าชินตน (신돈, 辛旽) ซึ่งชินตนก็ได้ต่อสู้กับขุนนางที่เข้าข้างมองโกลแทนพระเจ้าคงมินจนกระทั่งถูกขับออกจากราชสำนักในค.ศ. 1371 ในค.ศ. 1368 จูหยวนจาง (朱元璋) ล้มราชวงศ์หยวนได้และตั้งราชวงศ์หมิง จูหยวนจางหรือพระจักรพรรดิหงหวู่ (洪武帝) ได้ส่งทูตมาเรียกบรรณาการ ซึ่งพระเจ้าคงมินก็ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี จนในที่สุด พระเจ้าคงมินก็ถูกฮงยุน (홍윤, 洪倫) และชเวมันแซง (최만생, 崔萬生) ลองปลงพระชนม์ในห้องบรรทม และยกพระโอรสวัง อู (왕우, 王禑) ซึ่งเกิดจากนางทาสพันยา (반야, 般若 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพระภิกษุชินตนด้วย) ขึ้นเป็นพระราชาองค์ต่อไป เป็นผลให้ราชสำนักโครยอมีนโยบายหันเข้าหามองโกลอีกครั้ง ในเวลาต่อมาพระจักรพรรดิหงหวู่ได้พระราชทานพระนามแก่พระเจ้าคงมินว่า พระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) ไฟล์:Cheonsandaeryeopdo.jpg.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าคงมิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ. 2110 พระเจ้าเมียงจง สิ้นพระชนม์โดยที่ไม่มีทายาท บรรดาขุนนางจึงสรรหาพระราชวงศ์ที่พระเยาว์มาขึ้นครองราชย์ องค์ชายฮาซงจึงถูกเลือกและขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซ็อนโจ และเลื่อนสถานะของพระบิดาและพระมารดาเป็นแทวอนกุนและแทกุนบูอิน.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทจง

ระเจ้าแทจง ((13 มิถุนายน ค.ศ.1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ.1400 - ค.ศ.1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าเซจงมหาร.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าแทจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าแทโจ (ค.ศ. 1335 - ค.ศ. 1408) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1398) พระนามเดิมว่า อี ซ็อง-กเย ทรงย้ายเมืองหลวงของเกาหลีไปยังเมืองฮันซ็องและตั้งลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) เป็นศาสนาประจำชาต.

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

ระราชสุสานหลวงของพระเจ้าแทโจใกล้เมืองแกซอง ประเทศเกาหลีเหนือ (현릉, 顯陵) พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ (ค.ศ. 877 - ค.ศ. 943) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลี มีเดิมพระนามว่า วังกอน ประสูติในตระกูลพ่อค้าในเมืองซองโดที่ร่ำรวยจากการค้ากับจีนและเข้ารับราชการเป็นผู้นำทหารในอาณาจักรฮูโกกูรยอ (โกกูรยอใหม่) ขององค์ชายคุงฮเย จนได้รับความไว้วางใจจากคุงเยจนได้รับแต่งตั้งเป็นอัครเสนาบดี ใน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ

ระเจ้าโคจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1192 - ค.ศ. 1259) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 23 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ.1213-1259) พระเจ้าโคจงประสูติในรัชกาลของพระเจ้ามยองจง เป็นพระโอรสขององค์ชายรัชทายาทและพระชายาตระกูลยู ใน..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าโคจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซโจแห่งโครยอ

ระเจ้าเซโจแห่งโครยอ (Sejo of Goryeo) มีพระนามเดิมว่า วังรยุง ประสูติที่เมือง แคซอง เมื่อใดไม่ปรากฎเป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โครยอ เมื่อ วังกอน ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าแทโจพระองค์ก็ได้สถาปนาพระราชบิดาคือวังรยุงซึ่งถึงแก่กรรมไปเมื่อเดือน พฤษภาคม..

ใหม่!!: แคซ็องและพระเจ้าเซโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)

การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น คือ เหตุการณ์สู้รบบนคาบสมุทรเกาหลีและยุทธการที่เกิดขึ้นตามมา ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: แคซ็องและการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) · ดูเพิ่มเติม »

การระดมยิงย็อนพย็อง

การระดมยิงย็อนพย็อง เป็นยุทธนาการเหล่าทหารปืนใหญ่ระหว่างทหารเกาหลีเหนือกับกองกำลังเกาหลีใต้ที่ประจำอยู่บนเกาะย็อนพย็อง เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แคซ็องและการระดมยิงย็อนพย็อง · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งรัฐเกาหลี

การรถไฟแห่งรัฐเกาหลี (เกาหลี:조선 민주주의 인민 공화국 철도성, Chosŏn Minjujuŭi Inmin Konghwaguk Ch'ŏldosŏng) เป็นชื่อของหน่วยงานคมนาคมหนึ่งในประเทศเกาหลีเหนือ มีศูนย์กลางที่เปียงยาง ผู้ว่าการรถไฟเกาหลีเหนือคนปัจจุบันชื่อ พัค ยอง ซอก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1998.

ใหม่!!: แคซ็องและการรถไฟแห่งรัฐเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศเกาหลีเหนือ

300px การขนส่งระบบรางในประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยการรถไฟเกาหลีเหนือ (조선 민주주의 인민 공화국 철도성, Chosŏn Minjujuŭi Inmin Konghwaguk Ch'ŏldosŏng)ซึ่งเป็นบริษัทรถไฟแห่งเดียวในประเทศเกาหลีเหนือ มีโครงข่ายรางมากกว่า 6,000 กิโลเมตรHayato, Kokubu, 将軍様の鉄道 (Shōgun-sama no Tetsudō), ISBN 978-4-10-303731-6.

ใหม่!!: แคซ็องและการขนส่งระบบรางในประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือ

การคมนาคมต่างๆ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี.

ใหม่!!: แคซ็องและการขนส่งในประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: แคซ็องและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศเกาหลีเหนือ

นี้เป็นรายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: แคซ็องและรายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนครในประเทศเกาหลีเหนือ

1 – เปียงยาง 2 – ฮัมฮึง 3 – ช็องจิน 4 – นัมโพ 5 – ว็อนซัน ต่อไปนี้คือ รายชื่อนครในประเทศเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: แคซ็องและรายชื่อนครในประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองพิเศษในประเทศเกาหลี

รายชื่อเมืองพิเศษในประเทศเกาหลี.

ใหม่!!: แคซ็องและรายชื่อเมืองพิเศษในประเทศเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สายพย็องบู

็องบู (평부선) เป็นเส้นทางรถไฟสายหนึ่งในประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งรัฐเกาหลี วิ่งจากกรุงเปียงยางไปยังเมืองแคซ็องKokubu, Hayato, 将軍様の鉄道 (Shōgun-sama no Tetsudō), ISBN 978-4-10-303731-6 เส้นทางนี้เป็นส่วนต่อขยายจากสายพย็องอึย ซึ่งจะเชื่อมต่อจากกรุงเปียงยางไปจนถึงเมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ แต่ปัจจุบันการเดินรถก็สิ้นสุดที่เมืองแคซ็อง ในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ขบวนรถไฟสินค้าจากเกาหลีใต้ได้ผ่านเข้าไปในเกาหลีเหนือเพื่อนำสินค้าไปส่งเขตอุตสาหกรรมแคซ็อง และขบวนรถไฟก็เดินทางกลับมาอย่างปลอดภัย มีระยะทาง ให้บริการทุกสัปดาห์ แต่ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2008 รัฐบาลเกาหลีเหนือได้ปิดทางรถไฟข้ามชายแดนลง หลังจากที่ถูกกล่าวหาในด้านคัดค้านการเมือง ทำให้ไม่มีรถไฟข้ามไปยังฝั่งเกาหลีเหนืออีก.

ใหม่!!: แคซ็องและสายพย็องบู · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเปียงยาง

สถานีรถไฟเปียงยาง เป็นสถานีรถไฟประจำเมืองเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ เป็นจุดเริ่มต้นของเส้นทางเปียงบู (เปียงยาง - ชินุยจู) และเปียงกุย (เปียงยาง - โซล - ปูซาน อย่างไรก็ตาม เส้นทางนี้ก็สิ้นสุดเส้นทางการเดินรถที่แกซองเท่านั้น) หมวดหมู่:การคมนาคมในเปียงยาง ป.

ใหม่!!: แคซ็องและสถานีรถไฟเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: แคซ็องและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านสันติภาพ (ประเทศเกาหลีเหนือ)

ีจ็อง-ด็ง คีจ็องด็อง หรือ คีจ็อง-ท็ง เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในพย็องวัง-ลี, แคซ็อง-ซี, ประเทศเกาหลีเหนือ ตั้งอยู่ระหว่างทางตอนเหนือของเขตปลอดทหารเกาหลี (DMZ) ในเกาหลีเหนือจะรู้จักชื่อหมู่บ้านี้ว่า "หมู่บ้านสันติภาพ", November 12, 2006 ในบางครั้งหมู่บ้านแห่งนี้ได้ถูกขนานนามว่า "หมู่บ้านแห่งการโฆษณาชวนเชื่อ" โดยสื่อภายนอกปรเทศเกาหลีเหนือ เช่น ประเทศเกาหลีใต้ และสื่อตะวันตก คีจ็อง-ด็ง เป็นหนึ่งในสองหมู่บ้านที่ได้รับอนุญาติให้ตั้งอยู่ในเขตปลอดทหารเกาหลีที่ห่างกัน 4 กิโลเมตร (2.5 ไมล์) หลักจากที่สิ้นสุดสงครามเกาหลี ยังมีหมู่บ้านของประเทศเกาหลีใต้ที่ชื่อว่า แดซ็อง-ด็ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียง.

ใหม่!!: แคซ็องและหมู่บ้านสันติภาพ (ประเทศเกาหลีเหนือ) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง (เย่ว์ลี่หลงซีว์) (ค.ศ. 971 - 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: แคซ็องและจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 1

ทางหลวงเอเชียสาย 1 (AH1) เป็นถนนที่ยาวที่สุดในเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทางทั้งสิ้น 12,845 ไมล์ (20,557 กิโลเมตร) จากโตเกียว ญี่ปุ่น ผ่านเกาหลี, จีน, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (แผ่นดินใหญ่), อินเดีย, ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน และอิหร่าน สิ้นสุดที่ตุรกี และบัลแกเรีย โดยมีเส้นทางต่อไปทางทิศตะวันตกต่อจากอิสตันบูล ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของทางหลวงยุโรป E80.

ใหม่!!: แคซ็องและทางหลวงเอเชียสาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน

ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการในเขตกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ ตั้งอยู่ในเขตซูนัน ห่างจากใจกลางนครประมาณ 24 กิโลเมตร เป็นฐานการบินหลักของสายการบินประจำชาติ แอร์โครยอ.

ใหม่!!: แคซ็องและท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน · ดูเพิ่มเติม »

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ. 2011) อดีตผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) เขาเป็นเลขาธิการพรรคกรรมกรเกาหลี ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลตั้งแต..

ใหม่!!: แคซ็องและคิม จ็อง-อิล · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โครยอ

แอร์โครยอ (context, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: แคซ็องและแอร์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

โพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก

รโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก เป็นการ์ตูนแอนิเมชันคอมพิวเตอร์ เป็นผลงานของ ไอโคนิกเอนเตอร์เทนเมนท์, เอสเคบอร์ดแบนด์, โอคอนและอีบีเอส และยังถือเป็นผลผลิตแห่งความร่วมมือจาก Samchŏlli บริษัทผลิตแอนิเมชัน ที่ตั้งอยู่ในแคซ็อง เกาหลีเหนือด้วย โดยเริ่มสร้างแอนิเมชันเรื่องนี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แคซ็องและโพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศเกาหลีเหนือ

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศเกาหลีเหนือและที่ตั้งของกรุงเปียงยาง การแบ่งเขตการปกครองของเกาหลีเหนือ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 จังหวัด (provinces) 3 เขตพิเศษ (special regions) และ 2 เมืองที่ได้รับการปกครองโดยตรง (directly-governed cities) ได้แก.

ใหม่!!: แคซ็องและเขตการปกครองของประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เขตอุตสาหกรรมแคซ็อง

ตอุตสาหกรรมแคซ็อง เป็นเขตอุตสาหกรรมปกครองพิเศษของประเทศเกาหลีเหนือ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: แคซ็องและเขตอุตสาหกรรมแคซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แกซองแคซองเมืองซองโด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »