สารบัญ
18 ความสัมพันธ์: กองทัพอากาศไทยยาส 39ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูนล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2อาร์-77ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศไอริส-ทีเอฟ-117 ไนท์ฮอว์กเอฟ-14 ทอมแคทเอฟ-15 อีเกิลเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิลเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอนเอฟ-22 แร็พเตอร์เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทเอไอเอ็ม-132 แอสแรมเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์
กองทัพอากาศไทย
กองทัพอากาศไทย (อักษรย่อ: ทอ., '''Royal Thai Air Force''': '''RTAF'''.) เกิดขึ้นภายหลังจากการจัดตั้งกองทัพอากาศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นกองทัพอากาศหน่วยแรกของโลกเพียง 4 ปีเท่านั้น ถือได้ว่าเป็นกองทัพอากาศที่ก่อตั้งเป็นลำดับแรกๆ ของเอเชีย และมีวีรกรรมครั้งสำคัญเกิดขึ้นมากมายในช่วงกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศส ปัจจุบันมีกองบัญชาการอยู่ที่เขตสายไหม เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และภายในปี พ.ศ.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและกองทัพอากาศไทย
ยาส 39
39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและยาส 39
ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน
right ยูโรไฟท์เตอร์ ไต้ฝุ่น (The EURO FIGHTER 2000 (Typhoon)) ในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 1983 กองทัพอากาศ ฝรั่งเศส,เยอรมันตะวันตก ในขณะนั้น(ก่อนรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออก), อิตาลี, สเปน, และอังกฤษ ได้ประกาศโครงการ ร่วมกัน ที่จะพัฒนาเครื่องบินรบ สำหรับศตวรรษหน้า และให้ชื่อว่า FEFA (เครื่องบินรบ ในอนาคต ของยุโรป).
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน
ล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2
อฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 (F-35 Lightning II) เป็นเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ 5 หนึ่งที่นั่ง หนึ่งเครื่องยนต์ โดยเป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทแบบล่องหน ซึ่งสามารถให้การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด การทิ้งระเบิดทางยุทธวิธี และการป้องกันทางอากาศ เอฟ-35 มีทั้งหมด 3 รุ่น คือ แบบขึ้น-ลงปกติ แบบขึ้น-ลงแนวในดิ่ง และแบบที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เอฟ-35 เป็นผู้สืบทอดจากเอ็กซ์-35 เป็นผลิตผลจากโครงการเครื่องบินขับไล่โจมตีร่วมหรือเจเอสเอฟ (Joint Strike Fighter, JSF) การพัฒนาของมันนั้นได้รับทุนหลักจากสหรัฐอเมริกา โดยมีสหราชอาณาจักรและประเทศอื่นๆ ให้ทุนเพิ่มเติม, GlobalSecurity.org มันถูกออกแบบและสร้างโดยทีมอุตสาหกรรมการบินที่นำโดยล็อกฮีด มาร์ติน โดยมีนอร์ทธรอป กรัมแมนและบีเออี ซิสเต็มส์เป็นหุ้นส่วนหลัก เครื่องบินสาธิตบินในปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและล็อกฮีด มาร์ติน เอฟ-35 ไลท์นิง 2
อาร์-77
อาร์-77 (R-77 RVV-AE) นาโต้เรียกว่า เอเอ-12 แอดเดอร์ (AA-12 Adder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศระยะปานกลาง สัญชาติรัสเซีย นำวิถีด้วยเรดาร์ กล่าวกันว่าสร้างขึ้นมาเพื่อตอบโต้กับ เอไอเอ็ม-120 แอมแรม ของสหรัฐอเมริกา จึงได้รับฉายาว่า แอมแรมสกี้.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและอาร์-77
ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ
อฟ-22 ของกองทัพอากาศสหรัฐขณะยิงเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศยุคใหม่ ไอริส-ที ของกองทัพอากาศเยอรมัน เอไอเอ็ม-132 แอสแรม ติดตั้งกับ ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ
ไอริส-ที
อริส-ที (ย่อ: IRIS-T อังกฤษ: Infra Red Imaging System Tail) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ ที่เยอรมนีเป็นผู้นำในการพัฒนาร่วมกับหลายประเทศ เพื่อแทนที่ AIM-9 Sidewinder ซึ่งเป็นที่ใช้งานส่วนใหญ่ในประเทศสมาชิก นาโต้.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและไอริส-ที
เอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก
อฟ-117 ไนท์ฮอว์ก (F-117 Nighthawk) เป็นอากาศยานโจมตีภาคพื้นดินล่องหนที่อดีตเคยถูกใช้งานโดยกองทัพอากาศสหรัฐ มันได้ทำการบินครั้งแรกในปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-117 ไนท์ฮอว์ก
เอฟ-14 ทอมแคท
อฟ-14 ทอมแคท (F-14 Tomcat) เป็นเครื่องบินขับไล่ปีกพับสองที่นั่งสองเครื่องยนต์มีความเร็วเหนือเสียง เอฟ-14 เป็นเครื่องบินขับไล่ครองความได้เปรียบทางอากาศเครื่องบินสกัดกั้น และเครื่องบินลาดตระเวนทางยุทธวิธีของกองทัพเรือสหรัฐตั้งแต่ปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-14 ทอมแคท
เอฟ-15 อีเกิล
อฟ-15 อีเกิล (F-15 Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ทางยุทธวิธีทุกสภาพอากาศที่ถูกออกแบบมาเพื่อทำหน้าที่ครองความได้เปรียบทางอากาศ มันถูกพัฒนาให้กับกองทัพอากาศสหรัฐและได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-15 อีเกิล
เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล
อฟ-15อี สไตรค์อีเกิล (F-15E Strike Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่ทุกสภาพอากาศสัญชาติอเมริกันที่ถูกออกแบบมาเพื่อการเข้าไปในพื้นที่ของศัตรูที่อยู่ในระยะไกล มันเป็นการดัดแปลงมาจากเอฟ-15 อีเกิลซึ่งเป็นเครื่องบินขับไล่เหนือชั้น เอฟ-15อีได้พิสูจน์ความมีค่าของมันในปฏิบัติการดีเซิร์ทสตอร์มโดยทำการโจมตีเป้าหมายสำคัญ ต่อสู้ทางอากาศ และให้การสนับสนุนกับทหารราบในสงครามอ่าว เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิลแตกต่างจากเอฟ-15 ทั่วไปตรงที่มันมีลายพรางที่เข้มกว่าและถังเชื้อเพลิงที่ติดอยู่ด้านข้างของเครื่องยนต.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล
เอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน
อฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน (F-16 Fighting Falcon) เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่เดิมที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทGeneral Dynamicsเพื่อกองทัพอากาศสหรัฐ มันถูกออกแบบให้เป็นเครื่องบินขับไล่ตอนกลางวันน้ำหนักเบา มันได้กลายมาเป็นเครื่องบินขับไล่ที่ประสบความสำเร็จ ความสามารถรอบตัวของมันเป็นเหตุผลหนักที่มันทำการตลาดได้เยี่ยมโดยมันถูกเลือกโดยกองทัพอากาศของ 25 ประเทศLockheed Martin press release (8 June 2008).
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-16 ไฟทิงฟอลคอน
เอฟ-22 แร็พเตอร์
อฟ-22 แร็ปเตอร์ (F-22 Raptor) เครื่องบินเอฟ-22 เป็นเครื่องบินเจ๊ตขับไล่ที่มีแผนจะนำมาใช้ปฏิบัติการครองอากาศทดแทนเครื่องบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ-22 แร็พเตอร์
เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท
อฟ-18 ฮอร์เน็ท (F-18 Hornet) ของแมคดอนเนลล์ ดักลาส (ปัจจุบันคือโบอิง) เป็นเครื่องบินโจมตีหลากบทบาทหลากสภาพอากาศที่สามารถใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินและถูกออกแบบมาเพื่อการโจมตีทั้งภาคพื้นดินและภาคอากาศ มันถูกออกแบบในทศวรรษที่ 1970 ให้กับกองทัพเรือและกองนาวิกโยธินสหรัฐฯ ฮอร์เน็ทยังถูกใช้โดยกองทัพอากาศในหลายประเทศ มันถูกเลือกให้ใช้ทำการแสดงโดยบลูแองเจิลของกองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท
เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
อฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท (F/A-18E/F Super Hornet) เป็นเครื่องบินขับไล่โจมตีชนิดที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบิน เอฟ/เอ-18อีนั้นเป็นแบบที่นั่งเดียวและเอฟ/เอ-18เอฟนั้นเป็นแบบสองที่นั่งที่มีขนาดใหญ่และก้าวหน้ากว่าเอฟ/เอ-18ซี/ดี ฮอร์เน็ท ซูเปอร์ฮอร์เน็ทมีอาวุธเป็นปืนใหญ่อากาศขนาด 20 ม.ม.และสามารถใช้อาวุธอากาศสู่อากาศและอากาศสู่พื้นได้หลากหลาย สามารถติดตั้งถังเชื้อเพลิงสำรองได้ถึงห้าถัง และยังสามารถทำหน้าที่เป็นเครื่องบินเติมเชื้อเพลิงทางอากาศได้ด้วยการเติมระบบเติมเชื้อเพลิงเข้าไป ด้วยการที่ถูกออกแบบและผลิตโดยแมคดอนเนลล์ ดักลาสซูเปอร์ฮอร์เน็ทได้ทำการบินครั้งแรกเมื่อปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท
เอไอเอ็ม-132 แอสแรม
อไอเอ็ม-132 แอสแรม (AIM-132 ASRAAM) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ที่พัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่า AIM-9L (USAF) หรือ AIM-9M (US NAVY) ซึ่งถือเป็นรุ่นที่ 4 (The Fourth Generation) สภาวะของสงครามสมัยใหม่ มีกฎเกณฑ์การสู้รบที่เข้มข้นขึ้น ต้องทำลายข้าศึกให้ได้เร็วที่สุด จึงมีการนำเอาเทคโนโลยี Imaging IR มาใช้ นับเป็นขีปนาวุธ All Aspect ความเร็วสูง แม่นยำ ยิงได้ไกล พัฒนา R-SEP (Max Seperation) เพื่อ จุดมุ่งหมาย "SHOOT FIRST KILL EARLY" ต่อต้านการลวงด้วยอินฟราเรด (IRCCM) สะท้อนสัญญาณต่ำ อังกฤษพัฒนาเพื่อใช้กับเครื่อง TONADO, F-3, HARRIER, GR-7 หาเป้าด้วยภาพ จึงไม่อาจต่อต้านด้วย Chaff หรือ Flare ได้ จึงเป็นการเพิ่มความอยู่รอดให้กับเครื่องบินขับไล่ ผลการทดสอบล่าสุด ปรากฏว่า ENVELOP เกือบเท่า AMRAAM.
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอไอเอ็ม-132 แอสแรม
เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์
อไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ (AIM-54 Phoenix) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยเรดาร์พิสัยใกล้ที่สามารถบรรทุกได้มากถึงหกลูก มันเคยถูกใช้ในกองทัพเรือสหรัฐฯ และในปัจจุบันใช้โดยเครื่องบินขับไล่เอฟ-14 ทอมแคทของกองทัพอากาศอิหร่านซึ่งเป็นอากาศยานลำเดียวที่สามารถบรรทุกได้ เอไอเอ็ม-54 เดิมทีถูกพัฒนาในช่วงต้นปี..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์
เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์
อไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ (AIM-7 Sparrow) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางที่ใช้โดยกองทัพอากาศ กองทัพเรือ และกองนาวิกโยธินของสหรัฐฯ เช่นเดียวกับกองทัพอากาศของพันธมิตรอื่นๆ สแปร์โรว์และแบบต่างๆ ของมันเป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่มีมาตั้งแต่ปล..
ดู เอไอเอ็ม-120 แอมแรมและเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ AIM-120AIM-120 AMRAAMAMRAAMเอไอเอ็ม-120