โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอื้อ สุนทรสนาน

ดัชนี เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

79 ความสัมพันธ์: ชวลี ช่วงวิทย์บุษยา รังสีฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)พ.ศ. 2453พ.ศ. 2524พ.ศ. 2552พระมหามงคลพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)พิทยา บุณยรัตพันธุ์กรุงเทพราตรีฝัน บ้า คาราโอเกะภูกระดึงมหาวิทยาลัยขอนแก่นมัณฑนา โมรากุลมาริษา อมาตยกุลรวงทอง ทองลั่นธมรอวันฉันรักเธอรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโกรายนามนักดนตรีสากลรายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทยรุ่งฤดี แพ่งผ่องใสวรนุช อารีย์วินัย จุลละบุษปะวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์วงดนตรีสุนทราภรณ์ศรวณี โพธิเทศศรีสุดา รัชตะวรรณสมศักดิ์ เทพานนท์สริ ยงยุทธสุรพล โทณะวณิกสุรัฐ พุกกะเวสสุคนธ์ พรพิรุณสุปาณี พุกสมบุญสุนทราภรณ์สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)อบ บุญติดอัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงินอุทยานแห่งชาติภูกระดึงอนงค์ อัชชวัฒนาจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)จังหวัดสมุทรสงครามทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8ทวีป วรดิลกที่สุดสุนทราภรณ์ขอให้เหมือนเดิมข้องจิตคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์...คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประสิทธิ์ พยอมยงค์นารถ ถาวรบุตรนางฟ้าจำแลง (เพลง)นางสาวไทยนเรศวรมหาราชแก้ว อัจฉริยะกุลใกล้ปีใหม่ในฝัน (เพลง)โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โฉมฉาย อรุณฉานไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้วไสล ไกรเลิศเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพลงลูกกรุงเพลงไทยสากลเพื่อน (คีรีบูน)เพ็ญศรี พุ่มชูศรีเยื่อไม้เลิศ อัศเวศน์เวส สุนทรจามรเสียงสวรรค์เมื่อวันวานเงิน เงิน เงินเฉิ่ม1 เมษายน21 มกราคม23 ตุลาคม ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

ชวลี ช่วงวิทย์

วลี ช่วงวิทย์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 - 11 เมษายน พ.ศ. 2534) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "สาริกาน้อยเสียงใส" และเป็นเจ้าของบทเพลงอมตะหลายเพลง เช่น ริมฝั่งน้ำ รักสลาย เริงฤทัย ไห้หา โพ้นขอบฟ้า ขอให้ได้ดังใจนึก และอื่นๆ อีกมากม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและชวลี ช่วงวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

บุษยา รังสี

ษยา รังสี (13 สิงหาคม พ.ศ. 2483 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) เป็นนักร้องรุ่นกลางของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์และวงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของเสียงเพลงน้ำตาดาว, กระซิบสวาท, ฝนหยาดสุดท้าย, ลาภูพิงค์, ฝากหมอน, ฝากรัก, เรือมนุษย์, ชีวิตวอลทซ์, ปาฏลีอธิษฐาน และเพลงสถาบันอีกมากม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและบุษยา รังสี · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)

ฟ้าทะลายโจร (Tears of the Black Tiger) เป็นผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามงคล

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๕ พระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพระมหามงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพระสุนทรโวหาร (ภู่) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)

ระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร) (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ (Peter Feit - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของประเทศไทย ผู้ริเริ่มการบันทึกเพลงไทยเดิมด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า เพลงไทยประสานเสียง (Thai Music Harmony) ของ กรมศิลปากร เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก ครูเอื้อ สุนทรสนาน และ ครูชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (นักเชลโล่,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) ครูประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐานวงดุริยางค์ทหารอากาศ และ วงดุริยางค์ตำรว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) · ดูเพิ่มเติม »

พิทยา บุณยรัตพันธุ์

ทยา บุณยรัตพันธุ์ นักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในอดีต เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดธนบุรี จบการศึกษาในระดับมัธยมบริบูรณ์ ที่โรงเรียนสตรีวัดระฆัง เริ่มร้องเพลงครั้งแรกกับวงดนตรีสุนทราภรณ์ เมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและพิทยา บุณยรัตพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพราตรี

"กรุงเทพราตรี" เป็นเพลงของวงดนตรีสุนทราภรณ์ที่แต่งเพื่อพรรณนาความงดงามของกรุงเทพมหานคร ผู้แต่งทำนองคือ เอื้อ สุนทรสนาน ผู้แต่งคำร้องคือ แก้ว อัจฉริยะกุล ขับร้องโดย เอื้อ สุนทรสนาน-ชวลีย์ ช่วงวิทย์ เพลงนี้เป็นเพลงที่ จอมพลถนอม กิตติขจร ชอบฟังเป็นพิเศษ และท่านได้ร้องเพลงนี้ก่อนทำรัฐประหารตัวเองด้ว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและกรุงเทพราตรี · ดูเพิ่มเติม »

ฝัน บ้า คาราโอเกะ

ฝัน บ้า คาราโอเกะ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและฝัน บ้า คาราโอเกะ · ดูเพิ่มเติม »

ภูกระดึง

ูกระดึง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและภูกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและมหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑนา โมรากุล

มัณฑนา โมรากุล ปัจจุบันมีชื่อจริงว่า มัณฑนา เกียรติวงศ์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2466 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปีพุทธศักราช 2552 อดีตนักร้องหญิงคนแรกของวงดนตรีกรมโฆษณาการและนักร้องรุ่นแรกของวงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและมัณฑนา โมรากุล · ดูเพิ่มเติม »

มาริษา อมาตยกุล

ตรี มาริษา อมาตยกุล นักร้องวงสุนทราภรณ์ เจ้าของน้ำเสียงกังวาลชัดเจนกับทรงผม "สวอน" ที่ผู้ชมจดจำคุ้นเคยตลอดมากว่า 50 ปี.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและมาริษา อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

รวงทอง ทองลั่นธม

รวงทอง ทองลั่นธม (บางแห่งเขียนเป็น รวงทอง ทองลั่นทม) (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 -) นักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ์ มีชื่อเสียงจากเพลง จำได้ไหม และ ขวัญใจเจ้าทุย รวมทั้งได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรวงทอง ทองลั่นธม · ดูเพิ่มเติม »

รอวันฉันรักเธอ

รอวัน...ฉันรักเธอ เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 2 ของ วงคีรีบูน ออกวางแผงครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยในอัลบั้มนี้ทางวงได้คุณปราจีน ทรงเผ่า อดีตสมาชิกวง ดิ อิมพอสซิเบิล มาเป็นโปรดิวเซอร์คู่กับอ๊อด รณชัย นักร้องนำของวง เพลงเปิดตัวของอัลบั้มได้แก่เพลง รอวันฉันรักเธอ ซึ่งอ๊อดได้แต่งเพลงนี้จากชีวิตจริงของมือกลองคนแรกของวงที่จะต้องไปศึกษาต่อที่สิงคโปร์ เมื่อเพลงนี้ถูกเปิดตามหน้าปัดวิทยุก็เป็นที่ชื่นชอบของแฟนเพลง และเพลงนี้กลายเป็นเพลงประจำตัวของ อ๊อด คีรีบูน ไปในที่สุด และเพลงโปรโมตเพลงต่อมาได้แก่เพลง ปลูกรัก ซึ่งเป็นเพลงเก่าของ วงสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังมีเพลงที่อ๊อดแต่งให้กับคนรักซึ่งต่อมาคือภรรยาคู่ชีวิตของเขาโดยเฉพาะได้แก่เพลง เพื่อสองเรา อัลบั้มนี้ประสบความสำเร็จมากที่สุดทั้งทางด้านยอดขายและเสียงตอบรับ เมื่อการทัวร์คอนเสิร์ตในอัลบั้มชุดนี้สิ้นสุดลงและกำลังจะเริ่มทำสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 อัลบั้ม เพื่อน โหน่ง ไกรฤทธิ์ มือเบสของวงได้ขอลาออกจากวงเพื่อไปช่วยดูแลธุรกิจของครอบครัว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรอวันฉันรักเธอ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก

ลสำคัญของประเทศไทยที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกย่อง.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักดนตรีสากล

รายนามนักดนตรีสากล.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรายนามนักดนตรีสากล · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย

รายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2477 จนถึงปัจจุบัน (ชื่อในสูจิบัตรการประกวด).

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส

รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส (พ.ศ. 2489-ปัจจุบัน) นักร้องเพลงไทยสากลรางวัลพระราชทานแผ่นเสียงทองคำ จากเพลง "บัวขาว" เมื่อปีพ.ศ. 2522 และเพลง "หลานย่าโม" ในปีพ.ศ. 2522 โดยมีเพลงสร้างชื่ออื่นๆ อาทิเช่น เอาความขมขื่นไปทิ้งแม่โขง หลานย่าโม โจโจ้ซัง เป็นต้น บทเพลงอื่น ที่ได้รับความนิยมได้แก.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและรุ่งฤดี แพ่งผ่องใส · ดูเพิ่มเติม »

วรนุช อารีย์

วรนุช อารีย์ จากรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน วรนุช อารีย์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์; 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560) นักร้องหญิงวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์และวงสุนทราภรณ์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์) เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ที่ธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุช และ นางเจริญ อารีย์ มีน้องชาย 1 คน คือ นายนริศ อารีย์ จบการศึกษาเบื้องต้นที่ โรงเรียนวัดจักรวรรดิราชาวาส สมรสเมื่อปี 2514 มีบุตรสาว 1 คน และ มีบุตรบุญธรรม 1 คน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและวรนุช อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย จุลละบุษปะ

วินัย จุลละบุษปะ (12 มิถุนายน พ.ศ. 2465 — 14 กันยายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตนักร้องนำวงดนตรีสุนทราภรณ์ และหัวหน้าวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และวงสังคีตสัมพัน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและวินัย จุลละบุษปะ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือวงดนตรีกรมโฆษณาการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยเอื้อ สุนทรสนาน, เวส สุนทรจามร และคณะนักดนตรีวงไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด ซึ่งต้องปิดกิจการลง โดยหลวงสุขุมนัยประดิษฐ ชักชวนให้สมาชิกวง ย้ายเข้าไปสังกัดกรมโฆษณาการ และมีหน้าที่บรรเลงเพลงส่งกระจายเสียง ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ และงานบันเทิงรื่นเริงและงานเต้นรำ ตามคำขอของหน่วยราชการต่างๆ โดยในช่วงนั้นยังคงบรรเลงเพลงสากลที่นำโน้ต และเนื้อเพลงมาจากวงไทยฟิล์ม และเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ในระยะแรก นักดนตรีกรมโฆษณาการ จึงเป็นชุดเดียวกับนักดนตรีจากวงไทยฟิล์ม ซึ่งล้วนแต่เป็นข้าราชการสังกัดกรมศิลปากร โดยมีเอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง และคณะซึ่งประกอบด้วย สังเวียน แก้วทิพย์, สมบูรณ์ ดวงสวัสดิ์, เวส สุนทรจามร, ภิญโญ สุนทรวาท, สริ ยงยุทธ, คีติ คีตากร, สภา กล่อมอาภา, สมบูรณ์ ศิริภาค, ทองอยู่ ปิยะสกุล และสมพงษ์ ทิพยกะลิน ส่วนจำปา เล้มสำราญ มาจากกองดุริยางค์ทหารบก ส่วนนักร้องของวงในยุคถัดมาได้แก่ รุจี อุทัยกร, มัณฑนา โมรากุล, ล้วน ควันธรรม, สุภาพ รัศมีทัต จนในปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีสุนทราภรณ์

ตราสัญลักประจำวงดนตรีสุนทราภรณ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยมีศิลปินยุคต้นๆ ดังนี้คือ เอื้อ สุนทรสนาน, มัณฑนา โมรากุล, เลิศ ประสมทรัพย์, สุภาพ รัศมิทัต, สุปาณี พุกสมบุญ, จันทนา โอบายวาทย์, จุรี โอศิริ, วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ชวลี ช่วงวิทย์, พูลศรี เจริญพงษ์, วรนุช อารีย์, ศรีสุดา รัชตะวรรณ, สมศักดิ์ เทพานนท์, รวงทอง ทองลั่นธม, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, อ้อย อัจฉรา, มาริษา อมาตยกุล, บุษยา รังสี เป็นต้น การรวมกลุ่มของนักดนตรีวงสุนทราภรณ์ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 โดยเอื้อ สุนทรสนานกับเพื่อนๆ ร่วมกันตั้งวงดนตรีไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อบริษัทเลิกกิจการในปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและวงดนตรีสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรวณี โพธิเทศ

รนิตย์ โพธิเทศ เป็นที่รู้จักในนาม ศรวณี โพธิเทศ (5 สิงหาคม พ.ศ. 2486) ชื่อเล่น นิตย์ เป็นนักร้องลูกกรุงหญิงชาวไทย โดยเป็นนักร้องลูกกรุงหญิงเพียงหนึ่งเดียวที่ได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำพระราชทาน 3 ปีซ้อน จากเพลง "น้ำตาหรือจะแก้ปัญหาใจ" (2519), "ตะแลงแกงแทงใจ" (2520) และ "พะวงรัก" (2521) ตามลำดับ และรางวัลอารีรัง (นักร้องยอดเยี่ยม) จากประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและศรวณี โพธิเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสุดา รัชตะวรรณ

รีสุดา รัชตะวรรณ หรือ ศรีสุดา จุลละบุษปะ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2548) อดีตนักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและศรีสุดา รัชตะวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพานนท์

มศักดิ์ เทพานนท์ (5 มีนาคม พ.ศ. 2467 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) นักดนตรี และนักประพันธ์คำร้องหลากหลายแนวให้กับ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสมศักดิ์ เทพานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสริ ยงยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

สุรัฐ พุกกะเวส

รัฐ พุกกะเวส หรือ สุรัสน์ พุกกะเวส (11 กันยายน พ.ศ. 2467 - (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536) เป็นนักประพันธ์คำร้องเพลงไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เพลงบุพเพสันนิวาส, อุษาสวาท, ปทุมไฉไล, และที่สำคัญคือ เพลงสดุดีมหาราชา สุรัฐ พุกกะเวส มีนามเดิมว่า "สุรัสน์" เกิดเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นบุตรคนโต ของนายประสงค์ และ นางสาลี่ พุกกะเวส เป็นหลานปู่ของ พระวิภาชน์วิทยาสิทธิ์ (สังข์ พุกกะเวส)ผู้ขอพระราชทานนามสกุล "พุกกะเวส" จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สุรัฐ พุกกะเวส มีน้อง ดังรายนาม ดังนี้.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุรัฐ พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

สุคนธ์ พรพิรุณ

นธ์ พรพิรุณ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 -) นักแต่งเพลง ที่เป็นที่รู้จักในนาม พรพิรุณ มีผลงานประพันธ์คำร้องให้เพลงสำคัญ เช่น เพลง “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม” เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ เมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุคนธ์ พรพิรุณ · ดูเพิ่มเติม »

สุปาณี พุกสมบุญ

ปาณี พุกสมบุญ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2467 -) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "เสียงมีดกรีดสังกะสี" ด้วยเสียงที่เล็กและแหลมมากจนเป็นเอกลักษณ์ และเป็นนักร้องต้นฉบับเพลงมองอะไร บ้านใกล้เรือนเคียง(บ้านเรือนเคียงกัน)ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุปาณี พุกสมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทราภรณ์

นทราภรณ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) · ดูเพิ่มเติม »

อบ บุญติด

อบ บุญติด อดีตดาราชายอาวุโส ชาวไทย ผู้มีประสบการณ์แสดงยาวนานตามที่มีหลักฐานปรากฏ ตั้งแต่ช่วงแรกของยุคหนังเงียบหรือ "หนังหลวงกล" ซึ่งต่อมาคือบริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง เริ่มชีวิตการแสดงจากเล่นจำอวด กับคณะนายทิ้ง มาฬมงคล ซึ่งต้องใช้ความสามารถในการสวดคฤหัสถ์ มีทั้งบทร้องและกลอนสด ก่อนเข้าสู่วงการละครเวที ภาพยนตร์ และโทรทัศน์จำนวนมากม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและอบ บุญติด · ดูเพิ่มเติม »

อัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน

ลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน เป็น อัลบั้มรวมเพลงเพลงลูกกรุงอมตะ จากละครเวที "เอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน" โดย บริษัท ทรูแฟนเทเชีย จำกัด ได้เรียบเรียงเพลงขึ้นมาใหม่ ซึ่งถ่ายทอดบทเพลงผ่านกลุ่มนักแสดงนำจากละครเวที นำโดยศิลปินจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 ได้แก่ บอย, พัดชา, อ๊อฟ, เปรี้ยว, ว่าน และ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3 ได้แก่ ตุ้ย, มิ้น, ซาร่า ออกวางจำหน่ายทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและอัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ตั้งอยู่ที่อำเภอภูกระดึงในจังหวัดเลย เป็นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของประเทศไทย เนื่องจากมีธรรมชาติที่สวยงาม ในแต่ละปีจึงมีคนมาเที่ยวเฉลี่ยหลายหมื่นคน โดยเฉพาะในช่วงวันหยุดยาวมักมีนักท่องเที่ยวขึ้นไปพักผ่อนบนภูกระดึงจำนวนมาก ภูกระดึงได้รับการจัดตั้งเป็นป่าสงวนแห่งชาติในปี พ.ศ. 2486 และเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502 โดยเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่สองถัดจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลศรีฐาน อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 348.12 ตารางกิโลเมตร (217,575 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมีที่ราบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) มีความสูงอยู่ระหว่าง 400-1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล จุดสูงสุดอยู่ที่บริเวณคอกเมย มีความสูง 1,316 เมตร.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและอุทยานแห่งชาติภูกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

อนงค์ อัชชวัฒนา

อนงค์ อัชชวัฒนา ได้รับตำแหน่งนางสาวไทย พ.ศ. 2496.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและอนงค์ อัชชวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)

มื่นมานิตย์นเรศ ชื่อเดิม เฉลิม เศวตนันทน์ นักแสดงในภาพยนตร์ของรัฐบาลไทย เลือดทหารไทย สร้างโดย ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง และเป็นบิดาของ อดีศักดิ์ เศวตนันทน์ (คู่ชีวิต สวลี ผกาพันธ์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2532) ผู้ประพันธ์เนื้อเพลงรำวงมาตรฐานประจำชาติ 4 เพลง งามแสงเดือน,ชาวไทย,รำซิมารำ และ คืนเดือนหงาย รวมทั้งเพลงปลุกใจ ตลอดจนเพลงจังหวะลีลาศของกรมโฆษณาการ.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหานักร้องเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุด ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งที่สองทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลักและอายุของผู้เข้าสมัครเปลี่ยนเป็น 15-25 เป็นซีซั่นที่สองจากเดิมที่ 18-28 ปี และสิ่งที่แตกต่าง คือ การคัดเลือกจากสถาบันการศึกษา 12 คนและออดิชั่นอีก 12 คนรวมเป็น 24 คน ที่จะได้เข้าร่วมรายการทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 แต่เนื่องจากผู้สมัครออดิชั่นทางสถาบันมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเป็นนักล่าฝันเพียง 9 คน ทำให้มีผู้มีสิทธิ์ที่จะเข้าบ้านจากออดิชั่นสดและคลิปรวม 15 คนรวมเป็น 24 คนเท่าเดิม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและทวีป วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดสุนทราภรณ์

ที่สุดสุนทราภรณ์ เป็นงานอัลบั้มพิเศษจาก ดนุพล แก้วกาญจน์ และ นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยเป็นการรวมผลงานเพลงที่ดีที่สุดของ สุนทราภรณ์ กลับมาร้องใหม่และทำดนตรีใหม่ในสไตล์ของ แจ้ ดนุพล โดยใช้เครื่องสาย เครื่องเป่า และกลองสด บรรเลงตลอดทุกเพลง โดยแจ้รับหน้าที่ขับร้องและควบคุมการบันทึกเสียงโดย เทวัญ ทรัพย์แสนยากร, ศรายุทธ สุปัญโญ, ศาสสัณฑ์ บุญญาศัย ร่วมกันเป็นโปรดิวเซอร์และเรียบเรียงเสียงประสาน สำหรับปกเทปชุดนี้เป็นภาพ แจ้ ดนุพล ในชุดนักดนตรีสมัยโบราณซึ่งต้องใส่วิกผมยาว โดยมีไวโอลินวางอยู่เคียงข้าง โดยฉากหลังเป็นหิ้งหนังสือ และภาพวาดครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้ก่อตั้งวงสุนทราภรณ์ ในปกเทปมีการบรรยายประวัติของไวโอลินตัวแรกของโลก ตามด้วยเครดิตอัลบั้ม และล่าสุดทาง นิธิทัศน์ เอโอเอ ได้นำอัลบั้มชุดนี้มารีมาสเตอร์อีกครั้งโดยฝีมือของวู้ดดี้ สราวุธ พรพิทักษ.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและที่สุดสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขอให้เหมือนเดิม

อให้เหมือนเดิม เป็นเพลงที่ได้รับความนิยมมากที่สุดของวงดนตรีสุนทราภรณ์ เป็นเพลงจังหวะวอลทซ์ แต่งทำนองโดย เอื้อ สุนทรสนาน แต่งคำร้องโดย พรพิรุณ เมื่อ พ.ศ. 2508 ขับร้องโดย เอื้อ สุนทรสนาน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและขอให้เหมือนเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ข้องจิต

ลงข้องจิต เป็นเพลงร้องคู่ ชาย-หญิง ประพันธ์คำร้องโดยชอุ่ม ปัญจพรรค์ ประพันธ์ทำนองโดย อ.ป.ส. บรรเลงโดยวงสุนทราภรณ์ ขับร้องโดยหม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์ และพูลศรี เจริญพงษ์(ขับร้องครั้งแรกโดยเอื้อ สุนทรสนาน และ พูลศรี เจริญพงษ์ คำร้อง: ชอุ่ม ปัญจพรรค์ ทำนอง: อ.ป.ส. (ม.ล. ขาบ กุญชรฯ).

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและข้องจิต · ดูเพิ่มเติม »

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว. 2553 Fisheries ชื่อคณะประมง (Faculty of Fisheries) ในภาคภาษาอังกฤษ นั้นแปลว่า การรวม (Faculty) ของสหวิชาประมงต่างๆ (Fishery).

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

right คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พยอมยงค์

ประสิทธิ์ พยอมยงค์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2469 - 2 เมษายน พ.ศ. 2553) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล - เรียบเรียงเสียงประสาน) และเจ้าของบทเพลงข้าวนอกนา บ้านเรา รักเธอเสมอ คนเดียวในดวงใจ ฆ่าฉันให้ตายดีกว่า เดือนเอ๋.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและประสิทธิ์ พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นารถ ถาวรบุตร

นารถ ถาวรบุตร (16 ตุลาคม พ.ศ. 2448 - 26 มกราคม พ.ศ. 2524) นักดนตรี และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะเพลงที่แต่งคู่กับครูแก้ว อัจฉริยกุล.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและนารถ ถาวรบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นางฟ้าจำแลง (เพลง)

ลงนางฟ้าจำแลง เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ที่แต่งคำร้องโดย แก้ว อัจฉริยะกุล ทำนองโดย เอื้อ สุนทรสนาน เป็นเพลงในจังหวะเป็นเพลงในจังหวะควิกวอลทซ์ เหมาะสำหรับใช้เต้นลีลาศ บรรเลงครั้งแรกในการประกวดนางสาวไทย ครั้งที่ 12 เมื่อ พ.ศ. 2496 นางสาวไทยประจำปีนั้น คือ คุณอนงค์ อนงค์ (อัชชวัฒนา) นาคะเกศ และเป็นที่นิยมนำมาใช้บรรเลงในการประกวดความงามเรื่อยม.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและนางฟ้าจำแลง (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

นเรศวรมหาราช

นเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องยิ่งใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2500 โดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล แห่งอัศวินภาพยนตร์ แนวสงครามอิงประวัติศาสตร์ การกอบกู้เอกราชของไทยจากพม่า นำแสดงโดย ชูชัย พระขรรค์ชัย,รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง,ถนอม อัครเศรณี,สุรชัย ลูกสุรินทร์,พจนีย์ โปร่งมณี ร่วมด้วย สถาพร มุดาประกร,สมถวิล มุกดาประกร,ทัต เอกทัต,วงจันทร์ ไพโรจน์,ชูศรี โรจนประดิษฐ์,ดอกดิน กัญญามาลย์,ล้อต๊อก,สมพงษ์ พงษ์มิตร,พูนสวัสดิ์ ธีมากร ฯลฯ ฉายเมื่อวันที่ 4 มกราคม..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว อัจฉริยะกุล

แก้ว อัจฉริยะกุล หรือ ครูแก้ว หรือ แก้วฟ้า (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 — 8 ตุลาคม พ.ศ. 2524) เป็นผู้จัดละครเวที เขียนบทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน์ เจ้าของคณะละครวิทยุ และเป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงอมตะจำนวนมากที่ยังถูกนำมาร้องจนถึงปัจจุบัน อาทิ รำวงวันลอยกระทง, รำวงเริงสงกรานต.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและแก้ว อัจฉริยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

ใกล้ปีใหม่

ลงใกล้ปีใหม่ และ เพลงอาลัยปีเก่า เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงในช่วงเทศกาลปีใหม่ โดยวงดนตรีลีลาศของกรมโฆษณาการ (สุนทราภรณ์) ประพันธ์ทำนองโดยเอื้อ สุนทรสนาน ในจังหวะบีกิน ประพันธ์คำร้องโดยพรพิรุณ เพลงใกล้ปีใหม่ ขับร้องโดยจิตราภรณ์ บุญญขันธ์ ส่วนเพลงอาลัยปีเก่า ขับร้องโดยพรศุลี วิชเวช ทั้งสองเพลงใช้ทำนองเดียวกัน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและใกล้ปีใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ในฝัน (เพลง)

ในฝัน เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "ถ่านไฟเก่า" ของบริษัทไทยฟิล์ม ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและในฝัน (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเขต 1 มีชื่อย่อว.อ. ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โฉมฉาย อรุณฉาน

ฉมฉาย อรุณฉาน มีชื่อจริงว่า นิตยา อรุณวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาที่ โรงเรียนสารสาส์นพิทยา จากนั้นได้เข้าศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2542 และศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชามานุษยดุริยางค์) โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2547 จบสาขา ดุริยางคศิลป์ ระดับ ปริญญาเอก (ปร.ด.) โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและโฉมฉาย อรุณฉาน · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว (ชื่อเล่น ปั่น) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ไสล ไกรเลิศ

ล ไกรเลิศ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักไวโอลิน และนักแต่งเพลง ครูไสล ไกรเลิศ เป็นชาวมหาชัย บ้านเดียวกับชาลี อินทรวิจิตร เป็นบุตรของนายบุญฤทธิ์ และนางทองย้อย ไกรเลิศ เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนกล่อมพิทยาคาร และโรงเรียนวัดพระเชตุพน เริ่มเรียนดนตรีกับพระเจนดุริยางค์ ที่โรงเรียนพรานหลวง กรมมหรสพ และได้บรรจุเป็นนักไวโอลินประจำวงเครื่องสายฝรั่งหลวง ร่วมวงเดียวกับเอื้อ สุนทรสนาน ไสล ไกรเลิศ ลาออกจากวงเครื่องสายฝรั่งหลวงในปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและไสล ไกรเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส. วันศุกร์ ออกอากาศ ปรากฏว่าหลายเพลงกลายเป็นเพลงยอดนิยมทั้งในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงไทยสากล

ลงไทยสากล เป็นเพลงที่ขับร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนำทำนองไทยเดิมใส่เนื้อร้องบรรเลงและขับร้อง โดยใช้มาตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จนเป็นเพลงไทยแนวใหม่ โดยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเพลงไทยสากล · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อน (คีรีบูน)

ื่อน เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ของ วงคีรีบูน ออกวางแผงครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยโปรดิวเซอร์ในอัลบั้มชุดนี้ยังคงเป็นคุณปราจีน ทรงเผ่าเช่นชุดที่แล้ว ร่วมกับอ๊อด รณชัย เพลงในอัลบั้มชุดนี้มีจำนวน 12 เพลง โดยได้นำบทเพลงจากศิลปินท่านอื่นๆ มาทำดนตรีใหม่ถึง 4 เพลง ส่วนที่เหลือเป็นฝีมือการแต่งของสมาชิกวงคีรีบูน มีเพลงดังได้แก่ โอ้รัก, สะพานรัก, อายุไม่สำคัญ, ไม่รู้สิ และ เพื่อน และถือเป็นอัลบั้มแรกของ ต๋อง คมสันต์ มือเบสคนใหม่ของวงที่เข้ามาแทน โหน่ง ไกรฤทธิ์ มือเบสคนแรกของวงที่ลาออกจากวงเพื่อไปดูแลธุรกิจของครอบครัว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเพื่อน (คีรีบูน) · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อไม้

ื่อไม้ เป็นชื่อวงดนตรีสัญชาติไทย ที่มีผลงานระหว่างปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเยื่อไม้ · ดูเพิ่มเติม »

เลิศ อัศเวศน์

ลิศ อัศเวศน์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2465 -) เกิดเมื่อวันที่ นักหนังสือพิมพ์ชาวไทย ผู้ร่วมก่อตั้ง หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย ปี 2488 ขณะอายุ 23 ปี เลิศ อัศเวศน์เริ่มต้นเป็นผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ประชามิตรรายวัน ซึ่งมีกุหลาบ สายประดิษฐ์เป็นบรรณาธิการ ต่อมาเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือพิมพ์อิสระธรรม เจริญ ไชยชนะ เป็นเจ้าของ ต่อมา เทพย์ สาริกบุตร ตัวแทนคณะรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ซื้อกิจการโรงพิมพ์อิสระธรรม ออกจำหน่ายหนังสือพิมพ์หลักไทย โดย เลิศ อัศเวศน์ดำรงตำแหน่งบรรณาธิการ ปี 2492 เขาได้รู้จักกับ กำพล วัชรพล อดีตจ่าโทแห่งราชนาวี และเป็นผู้โน้วน้าวจูงใจชักนำกำพล วัชรพล ให้เข้าสู่อาชีพนักหนังสือพิมพ์ โดยพิมพ์จำหน่าย "ข่าวภาพรายสัปดาห์" ฉบับแรก เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2493 ปัจจุบันยังเขียนให้กับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เลิศ อัศเวศน์ ได้รับการประกาศจากสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยโดยนายบัณฑิต รัชวัฒนะธานินทร์ นายกสมาคมฯ กล่าวรายงานนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานมอบโลห์เกียรติคุณเป็นผู้ประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพ์มาด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เป็นนักหนังสือพิมพ์ดีเด่นควรยกย่อง พิธีมีขึ้นในวันที่ 5 เมษายน 2536 นอกจากนี้ เขายังเป็นกรรมการบริหารมูลนิธิไทยรัฐอีกด้ว.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเลิศ อัศเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เวส สุนทรจามร

วส สุนทรจามร หรือ ครูเวส นักประพันธ์เพลงที่มีผลงานแต่งทำนองให้กับวงสุนทราภรณ์ ร่วมกับครูแก้ว อัจฉริยะกุล ครูสุรัฐ พุกกะเวส เป็นจำนวนมาก เป็นครูเพลงที่มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงในวงการหลายคน เช่น วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี และ ธนิต ผลประเสริฐ เป็นต้น.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเวส สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

เสียงสวรรค์เมื่อวันวาน

รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย (ชื่อเดิมคือรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน) เป็นรายการเพลงอมตะของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือบทเพลงในแนว "สุนทราภรณ์" ออกอากาศเป็นประจำทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00 น. - 24.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการผลิตรายการ ระหว่างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ในความควบคุมของ โฉมฉาย อรุณฉาน (นิตยา อรุณวงศ์) ซึ่งรายการนี้ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประเภทรายการเพลงดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2549 เมื่อเดือนมีนาคม 2550.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน · ดูเพิ่มเติม »

เงิน เงิน เงิน

งิน เงิน เงิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

เฉิ่ม

ฉิ่ม เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2548 ผลงานกำกับเรื่องที่สองของ คงเดช จาตุรันต์รัศมี นักเขียนบทผู้เคยมีผลงานจาก สยิว เดอะเล็ตเตอร์ จดหมายรัก และผู้เขียนบทปรับแก้ใน ต้มยำกุ้ง.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและเฉิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เอื้อ สุนทรสนานและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ครูเอื้อ สุนทรสนาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »