โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เหรียญจักรพรรดิมาลา

ดัชนี เหรียญจักรพรรดิมาลา

หรียญจักรพรรดิมาลา ใช้อักษรย่อว่า ร...

184 ความสัมพันธ์: บัญญัติ สุชีวะชัยวัฒน์ สถาอานันท์บัณฑิต จุลาสัยบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ชาญวิทย์ เกษตรศิริบุญสม มาร์ตินบุญเสริม วิทยชำนาญกุลบุษยา มาทแล็งพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์พูนพิศ อมาตยกุลพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาพงศ์โพยม วาศภูติพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์พนิตา กำภู ณ อยุธยากฤษณา ไกรสินธุ์กฤษณ์ กาญจนกุญชรกว้าง รอบคอบกษมา วรวรรณ ณ อยุธยากาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์กำจร มนุญปิจุกิตติ วะสีนนท์กิตติ สีหนนทน์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัยภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยาภาวิช ทองโรจน์ภิรมย์ กมลรัตนกุลมธุรส รุจิรวัฒน์มนัสนิตย์ วณิกกุลมนตรี มงคลสมัย...มนตรี ยอดปัญญายง ภู่วรวรรณยงยุทธ วิชัยดิษฐรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยวรรณ ชันซื่อวรวิทย์ บารูวิชัย ริ้วตระกูลวิรัช ลิ้มวิชัยวิษณุ เครืองามวิทยา ปิณฑะแพทย์วีรชัย พลาศรัยวีระพล ตั้งสุวรรณสบโชค สุขารมณ์สกลจิตต์ พนมวัน ณ อยุธยาสมชัย วุฑฒิปรีชาสมบัติ นพรักสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมภพ ภิรมย์สมภพ จันทรประภาสมศักดิ์ รุจิรวัฒน์สมคิด เลิศไพฑูรย์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสายสุรี จุติกุลสินธู ศรสงครามสุชาดา กีระนันทน์สุพจน์ หารหนองบัวสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิตสุรชาติ บำรุงสุขสุรพล นิติไกรพจน์สุริชัย หวันแก้วสุริยา รัตนกุลสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุนีย์ สินธุเดชะสุนทร หงส์ลดารมภ์สุเมธ ตันติเวชกุลสถิรพันธุ์ เกยานนท์สดใส พันธุมโกมลสนั่น สุมิตรหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุลหม่อมหลวงชูชาติ กำภูหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรีหม่อมหลวงฤทธิเทพ เทวกุลหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัชหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์หยุด แสงอุทัยหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)อภัย จันทวิมลอภินันท์ ปวนะฤทธิ์อมรวิชช์ นาครทรรพอมรา พงศาพิชญ์อรรถ วิสูตรโยธาภิบาลอรุณ สรเทศน์อักขราทร จุฬารัตนอังกาบ บุณยัษฐิติอำพล เสนาณรงค์อนันต์ ทรัพย์วารีจรวยพร ธรณินทร์จรัญ มะลูลีมจรัส สุวรรณเวลาจารุพงศ์ เรืองสุวรรณจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาธัชชัย สุมิตรธีระ สูตะบุตรธีระวัฒน์ เหมะจุฑาธงชัย ชิวปรีชาธงทอง จันทรางศุทวี แรงขำทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ทศพร วงศ์รัตน์ทิพาวดี เมฆสวรรค์ขวัญแก้ว วัชโรทัยดิเรก อิงคนินันท์คณิต ณ นครประพนธ์ วิไลรัตน์ประภาศน์ อวยชัยประมวล วีรุตมเสนประดิษฐ์ ปัญจวีณินประคอง พลหาญปริญญา จินดาประเสริฐปริศนา พงษ์ทัดศิริกุลปรีดี เกษมทรัพย์ปานเทพ รัตนากรปิยพันธุ์ นิมมานเหมินท์ปิยะสกล สกลสัตยาทรนริศ ชัยสูตรนรนิติ เศรษฐบุตรนันทริกา ชันซื่อนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยานิเวศน์ นันทจิตนงเยาว์ ชัยเสรีแก้วขวัญ วัชโรทัยแถบ นีละนิธิไชยันต์ ไชยพรไสยวิชญ์ วรวินิตเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรมเกษม วัฒนชัยเกษม สุวรรณกุลเกื้อ วงศ์บุญสินเกตุ กรุดพันธ์เหรียญศารทูลมาลาเหรียญจักรพรรดิมาลาเหรียญจักรมาลาเอื้อ สุนทรสนานเผ่าทอง ทองเจือเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5เจ้าแก้วนวรัฐเทอด เทศประทีปเทียนฉาย กีระนันทน์เตช บุนนาคเติมศักดิ์ กฤษณามระเฉก ธนะสิริเฉลียว ยาจันทร์เฉลียว อยู่สีมารักษ์ ขยายดัชนี (134 มากกว่า) »

บัญญัติ สุชีวะ

ตราจารย์พิเศษ บัญญัติ สุชีวะ (23 เมษายน พ.ศ. 2467 – 4 สิงหาคม พ.ศ. 2540) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบัญญัติ สุชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและชัยวัฒน์ สถาอานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบัณฑิต จุลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์

ตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและชาญวิทย์ เกษตรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บุญสม มาร์ติน

ตราจารย์ นายแพทย์ บุญสม มาร์ติน (19 กันยายน พ.ศ. 2465 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551) แพทย์ชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาของการพลศึกษาแผนใหม่ของไทย”.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบุญสม มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

บุญเสริม วิทยชำนาญกุล

ตราจารย์ ดร. บุญเสริม วิทยชำนาญกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเสริม วิทยชำนาญกุล เกิดวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขากายวิภาคศาสตร์ และ ชีววิทยาระบบสืบพันธุ์ เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในประเทศไทย โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาวิธีตรวจเชื้อและศึกษาหาวิธีป้องกันโรคไวรัสในกุ้งกุลาดำ จนได้รับรางวัล "กุ้งทองคำเกียรติยศ" จากชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี เป็นนักวิจัยในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมผลิตกุ้งกุลาดำ ที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2546 และรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบุญเสริม วิทยชำนาญกุล · ดูเพิ่มเติม »

บุษยา มาทแล็ง

ษยา มาทแล็ง (เกิด 15 ธันวาคม 2502) กรรมการสภาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559กรรมการในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ อดีตเอกอัครราชทูตหลายประเทศและอดีตผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและบุษยา มาทแล็ง · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ)

มหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2460) นามเดิม กมล สาลักษณ สมุหพระอาลักษณ์ เลขานุการรัฐมนตรีสภา ปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิการ ปลัดทูลฉลองกระทรวงมุรธาธร ผู้ช่วยราชเลขาธิการ ราชเลขานุการ องคมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)

ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2476-2477) จากนั้นไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)

ระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) (23 มกราคม พ.ศ. 2403 -) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวน คนที่ 2 อดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงวอชิงตัน และอดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงอังกฤษ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ. 2460 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2468) และผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ ผู้แต่งหนังสือเรียนสมัยรัชกาลที่ 5 รวมทั้งหนังสือชุดธรรมจริยาเล่ม 1 และ 2.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)

ระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) ม.ว.ม. ป..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 27 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 12 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก" พระองค์ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทำหน้าที่ดูแลพระเจ้าน้องที่ยังทรงพระเยาว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ได้รับพระราชทานเกียรติให้เป็นผู้สั่งพระกนิษฐาให้เป็นสาว เนื่องจากตามธรรมเนียมการเป็นสาวของสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงดำรงตำแหน่งอุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง (สภากาชาดไทย) ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในอีกหลายพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 พระองค์แรกและเป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ "กรมขุนสุพรรณภาควดี" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2403 เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น) พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร ทรงเป็นต้นราชสกุลจันทรทัต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2398 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 2411 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล รับหน้าที่เป็นนายด่าน ทำการก่อสร้างหอพระคันธารราฐ ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งก่อสร้างค้างมาตั้งแต่รัชกาลก่อน ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสังเกตเห็นว่าพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์นี้ มีพระอัธยาศัยนิยมศึกษาตัวบทกฎหมายและอรรถคดี จึงโปรดฯ ให้ไปศึกษากฎหมายและการพิจารณาความกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ซึ่งทรงบัญชาการศาลรับสั่ง อยู่ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2417 โปรดให้ตั้งองคมนตรีสภา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นองคมนตรีในครั้งนั้นด้วย และแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรี พิจารณาความรับสั่งบางเรื่อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ตั้งศาลฎีกา ขึ้นในปี พ.ศ. 2419 พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล ทรงเป็นอธิบดีศาลฎีกา พระองค์แรก และทรงได้รับการสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็นกรมหมื่นพิชิตปรีชากร และเป็นอธิบดีศาลแพ่งกลาง และศาลแพ่งเกษม อีก 2 ศาล ในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2427 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพิชิตปรีชากร เป็นข้าหลวงขึ้นไปรักษาเมืองเชียงใหม่พระองค์ได้ทรงจัดการศาลต่างประเทศ และจัดการระเบียบการปกครองภาคเหนือใหม่ ต่อมาเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2428 ทรงได้รับสถาปนาพระเกียรติยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ในปี พ.ศ. 2434 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงเป็นข้าหลวงใหญ่ เสด็จขึ้นไปว่าราชการอยู่ที่มณฑลอีสาน จังหวัดอุบลราชธานี ทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองทางภาคอีสาน ซึ่งในขณะนั้นเป็นเพียงหัวเมืองชั้นนอก ประมาณ 20 หัวเมืองขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร ยังมิได้รวมเป็นมณฑล ในการเสด็จออกตรวจราชการตามท้องที่ต่าง ๆ ทำให้พระองค์ทรงมีความรู้เกี่ยวกับชายแดนลาว และเขมร เป็นอย่างดี เมื่อเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงพิชิตปรีชากร เป็นผู้พิพากษาฝ่ายไทยร่วมกันพิจารณาคดีความร่วมกับฝรั่งเศส ในกรณีพระยอดเมืองขวาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ที่สอง สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัตน์วิศิษฎ์ ซึ่งถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง เพื่อเสด็จไปราชการ ณ ประเทศยุโรป และได้เป็นรัฐมนตรีในสภารัฐมนตรีอีกด้วย http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/013/102.PDF พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงมีความรู้ด้านการแพทย์ ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่คิดประดิษฐ์ปรุงยาไทยผสมกับยาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีพระอัจฉริยภาพในด้านการพระนิพนธ์บทร้อยแก้วและร้อยกรองมากมายหลายเรื่อง เช่น ท้ายกาสีหา นางปทุมสังกา พระองค์ยังได้ร่วมกับพระเจ้าพี่ยาเธอ และพระเจ้าน้องยาเธอจัดตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นในปี พ.ศ. 2423 เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงศึกษาภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองจนกระทั่งอ่านสามารถ fiction และ novel ภาษาอังกฤษได้คล่อง ทรงนิพนธ์เรื่องสนุกนึก ซึ่งเป็นเรื่องสั้นเรื่องแรก ที่เรียกว่าเป็นบันเทิงคดี ตามแบบอย่างนิยายฝรั่งถือเป็นนิยายเรื่องแรกของไทย ในปี พ.ศ. 2439 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ได้ถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม เพราะทรงพระประชวร และสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2452 พระชันษาได้ 53 ปี ทรงเป็นต้นราชสกุลคัคณาง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2399 พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระเจ้าน้องยาเธอที่มีบทบาทในงานวรรณกรรมในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นเจ้าของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ดรุโณวาท ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกที่เผยแพร่แก่ประชาชน และดำเนินการโดยคนไทย เริ่มออกฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2417 ชื่อหนังสือมีความหมายว่า "โอวาทหรือคำสอนของคนหนุ่ม" มีทั้งสารคดีและบันเทิงคดี มีสาระทันสมัย แสดงความสามารถและสติปัญญาของคนหนุ่มรุ่นใหม่ในยุคนั้น พระองค์เจ้าเกษมสันตโสภาคย์ รับราชการในโรงพิมพ์และการเสื้อหมวก เป็นพนักงานจารึกอักษรในแผ่นศิลาประดับวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2467 สิริพระชันษาได้ 67 ปี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช

มหาอำมาตย์เอก พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เป็นเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 63 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบเชื้อสายมาจากพญาหลวงติ๋นมหาวงศ์ และได้รับพระราชทานนามสกุล ณ น่าน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช · ดูเพิ่มเติม »

พันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์

นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ อดีตอธิบดีกรมธนารักษ์ รองปลัดกระทรวงการคลัง และผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เกิดวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

พูนพิศ อมาตยกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล (4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา และเป็นที่ปรึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล พูนพิศ อมาตยกุล หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวัง และเป็นมหาดเล็กของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพูนพิศ อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์โพยม วาศภูติ

นายพงศ์โพยม วาศภูติ ประธานกรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน 2559 อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 เขารับตำแหน่ง ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นในตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพงศ์โพยม วาศภูติ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์

ตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมรสกับเจ้าสุภัทรา (สกุลเดิม ณ ลำพูน) อังกสิทธิ์ นัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ เป็นอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พนิตา กำภู ณ อยุธยา

นิตา กำภู ณ อยุธยา (สกุลเดิม อุตตะโมต) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ และอดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และได้รับพระกรุณาธิคุณแต่งตั้งเป็นผู้แทนพระองค์ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ไปปฏิบัติภารกิจของมูลนิธิมิราเคิล ออฟ ไลฟ์ อยู่เสมอ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและพนิตา กำภู ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณ์ กาญจนกุญชร

กฤษณ์ กาญจนกุญชร (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2491) กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ อดีตราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกฤษณ์ กาญจนกุญชร · ดูเพิ่มเติม »

กว้าง รอบคอบ

กว้าง รอบคอบ อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3 และอดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกว้าง รอบคอบ · ดูเพิ่มเติม »

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557, กรรมการกฤษฎีกา กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2550.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

กำจร มนุญปิจุ

ตราจารย์เกียรติคุณ นาวาตรี กำจร มนุญปิจุ ร.น.ราชบัณฑิต เกิดวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ที่ตำบลบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ ขุนกัลยาณวิทย์ (เกิด มนุญปิจุ) อดีตศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี และนางกิม มนุญปิจุ สมรสกับนางวิภาวรรณ มนุญปิจุ มีบุตรชาย 1 คน คือ นายณัฐเสกข์ (กวิช) มนุญป.น.ต.กำจร มนุญปิจุ เป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอินทรีย์เคมี เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรีย นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกำจร มนุญปิจุ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ วะสีนนท์

กิตติ วะสีนนท์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557 อดีตอธิบดีกรมอาเซียน อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศ และอดีตโฆษกกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกิตติ วะสีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย

รองศาสตราจารย์ กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 10 เป็นศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ รุ่นที่ 11 เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 11 และเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่นคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย หรือ ร.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย เมื่อหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ด้านชีวิตครอบครัว ร.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย สมรสกับ นางจารุวรรณ์ ไตรรัตนศิริชัย มีบุตร 2 คน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและกิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย · ดูเพิ่มเติม »

ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา

ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา (ชื่อจีน:เล้าไซ้เคง) เริ่มรับราชการที่แผนกกุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและภาวิช ทองโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและภิรมย์ กมลรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

มธุรส รุจิรวัฒน์

ตราจารย์ คุณหญิง มธุรส รุจิรวัฒน์ รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ฝ่ายวิจัย และอาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นธิดาคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและมธุรส รุจิรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและมนัสนิตย์ วณิกกุล · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี มงคลสมัย

ตราจารย์ นายแพทย์มนตรี มงคลสมัย (นามเดิม: เม่งติ่ด มงคลสมัย) (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2498) อดีตศาสตราจารย์และหัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์คนแรกของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักเรียนทุนมูลนิธิร๊อกกี้เฟลเลอร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและมนตรี มงคลสมัย · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ยอดปัญญา

มนตรี ยอดปัญญา (8 สิงหาคม พ.ศ. 2493 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) ประธานศาลฎีกาคนที่ 40.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและมนตรี ยอดปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ยง ภู่วรวรรณ

ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและยง ภู่วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและยงยุทธ วิชัยดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (14 กันยายน พ.ศ. 2489) เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อมให้เปลี่ยนมาเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญราชอิสริยาภรณ์มีรายชื่อและลำดับเกียรติ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและรายชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรรณ ชันซื่อ

ร้อยตำรวจตรี วรรณ ชันซื่อ (16 สิงหาคม พ.ศ. 2466 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558) อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวรรณ ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

วรวิทย์ บารู

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ บารู (1 มกราคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวรวิทย์ บารู · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ริ้วตระกูล

ตาจารย์ วิชัย ริ้วตระกูล (12 ตุลาคม 2485 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวิชัย ริ้วตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช ลิ้มวิชัย

นายวิรัช ลิ้มวิชัย (13 ตุลาคม พ.ศ. 2490 -) อดีตประธานศาลฎีกาและประธานศาลรัฐธรรมนูญ (ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาอาวุโส) นายวิรัชสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเนติบัณฑิตไทย (สอบได้อันดับที่ 3 ของรุ่นที่ 24) เมื่อปี พ.ศ. 2516 เริ่มรับราชการสอบได้เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาประจำกระทรวง และผู้พิพากษาศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช และศาลจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2526 จึงได้ขึ้นเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำกระทรวง ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลภาษีอากรกลาง และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอาญาธนบุรี โดยได้เป็นรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาธนบุรี ปี 2537 รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ปี 2539 จากนั้น ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในศาลสูง ได้เป็นประธานศาลอุทธรณ์ ภาค 8 ปี 2546 และประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีกา ในปี พ.ศ. 2548 นายวิรัชดำรงตำแหน่งรองประธานศาลฎีกา และได้รับความไว้วางใจจากนายปัญญา ถนอมรอด ประธานศาลฎีกา แต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีร้องเรียนว่ามีข้าราชการพยายามเสนอสินบนตุลาการรัฐธรรมนูญ ในการพิพากษาคดียุบพรรคการเมือง นายวิรัชดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวิรัช ลิ้มวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา ปิณฑะแพทย์

นายกองเอกวิทยา ปิณฑะแพทย์ อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา และ อดีต ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี เกิดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2489 ที่ จังหวัดนครราชสีมา บุตร นาวาอากาศตรี มนัส (สนาม) และ นางทองย้อย ปิณฑะแพทย์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) สมรสกับ ร.ดร.สุภัททา ปิณฑะแพทย์ มีบุตร 3 คน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวิทยา ปิณฑะแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

วีรชัย พลาศรัย

ร.วีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตวิสามัญ ผู้มีอำนาจเต็มประจำสหรัฐอเมริกา อดีตเอกอัครราชทูต คณะผู้แทนถาวรไทย ประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (เจ้าหน้าที่การทูต ๑๐) สำนักงานปลัดกระทรวง มีชื่อเสียงในฐานะเป็นหัวหน้าคณะทนายกฎหมายระหว่างประเทศในคดีปราสาทพระวิหาร เขาได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “The Order of the Orange - Nassau” ชั้นตรา “Knight Grand Cross” ซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระราชาธิบดี วิลเลม - อเล็กซานเดอร์ แห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวีรชัย พลาศรัย · ดูเพิ่มเติม »

วีระพล ตั้งสุวรรณ

วีระพล ตั้งสุวรรณ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นประธานศาลฎีกา คนที่ 43 เริ่มดำรงตำแหน่งนี้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และเป็นประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม แทนที่ดิเรก อิงคนินันท์ ที่เกษียณไป.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและวีระพล ตั้งสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สบโชค สุขารมณ์

รมณ์ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2491 -) ประธานศาลฎีกาคนที่ 39.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสบโชค สุขารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกลจิตต์ พนมวัน ณ อยุธยา

นายสกลจิตต์ พนมวัน ณ อยุธยา อดีตอธิบดีกรมโยธาธิการ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสกลจิตต์ พนมวัน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมชัย วุฑฒิปรีชา

มชัย วุฑฒิปรีชา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (ครม.47, 49) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมชัย วุฑฒิปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ นพรัก

รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ นพรัก (8 มีนาคม พ.ศ. 2484) อดีตประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย 2 วาระ (พ.ศ. 2552 - 2554), อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 วาระ (พ.ศ. 2547 -2555) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และคณบดีวิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยาคนแรก (พ.ศ. 2556).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมบัติ นพรัก · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ ภิรมย์

ตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ (26 กรกฎาคม 2459 -3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลผู้อนุรักษ์มรดกด้านสถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี 2529 และราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ อดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม เป็นผู้มีผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม และผลงานวิชาการงานเขียนมากมาย ผลงานชิ้นสำคัญ ได้แก่ “กุฎาคาร” “พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยรัตนโกสินทร์” และ “บ้านไทยภาคกลาง” โดยมักจะใช้คำนำหน้าหนังสือหรือบทความว่า “ปกิณกคดีหมายเลข 13” ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมภพ ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ จันทรประภา

มภพ จันทรประภา เป็นข้าราชบริพารในพระองค์ เป็นผู้ประพันธ์ประพันธ์กลอนสุภาพ ๔ บท จากพระราชดำรัสที่พระราชทานแก่สมาชิกสภานิติบัญญัติที่เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมภพ จันทรประภา · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

ตราจารย์ สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์ เกิดวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2485 นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญในสาขาเคมีอินทรีย์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมศักดิ์ รุจิรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด เลิศไพฑูรย์

ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมคิด เลิศไพฑูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สายสุรี จุติกุล

รองศาสตราจารย์ สายสุรี จุติกุล ที่ปรึกษาด้านสตรี เด็ก เยาวชน การศึกษาและพัฒนาสังคมสำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสายสุรี จุติกุล · ดูเพิ่มเติม »

สินธู ศรสงคราม

นธู ศรสงคราม อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์น และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเป็นรองประธาน หจก.รัจนาการ เป็นพระชามาดา (ลูกเขย) ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสินธู ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุชาดา กีระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุพจน์ หารหนองบัว

.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุพจน์ หารหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

สุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต

ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต หรือชื่อเดิม สุภรเพ็ญ หลวงเทพ (สกุลเดิม ณ พัทลุง) รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และผู้รับผิดชอบโรงฝึกศิลปาชีพฯ สวนจิตรลดา ท่านผู้หญิงสุภรภ์เพ็ญสมรสกับพันเอก ศิรช์ณรงค์ หลวงเทพนิมิต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุภรภ์เพ็ญ หลวงเทพนิมิต · ดูเพิ่มเติม »

สุรชาติ บำรุงสุข

ตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านยุทธศาสตร์ การรบ และสงคราม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุรชาติ บำรุงสุข · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริชัย หวันแก้ว

ตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศ และปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน Asian Rural Sociological Association (ARSA) ที่ปรึกษาโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิต เคยเป็นหนึ่งในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ดำรงตำแหน่งเลขานุการของกอ.ในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้ และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้าน การพัฒนา คนชายขอบ และโลกาภิวัตน์ อาจารย์สุริชัยเป็นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสังคมวิทยา และการมีส่วนร่วม เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม (CUSRI)ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นบุคลากรขององค์กรประชาธิปไตย คนสำคัญของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2549 อาจารย์สุริชัย เคยได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งได้ลาออกก่อนครบกำหนด เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 โดยให้เหตุผลว่า สภานิติบัญญัติฯในช่วงเปลี่ยนผ่านนี้กำลังหมดความชอบธรรมลงแล้วจึงไม่สมควรผ่านร่างกฎหมายต่างๆ อย่างเร่งรีบเกินสมควรดังที่เป็นอยู่ อาจารย์สุริชัย ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาวิชาสังคมวิทยา ภาควิชาสังคม วิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2552 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่ 6 มกราคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุริชัย หวันแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา รัตนกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับ เกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยปารีส(ซอร์บอน) ในระยะต่อมาหลังจากจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยปารีสแล้ว อาจารย์ท่านได้สอนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วย้ายมามหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งรวมถึงเป็นผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ ซึ่งต่อมาพัฒนาโครงการนี้มาเป็นสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท พร้อมทั้งดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการคนแรก 2 วาระติดกัน ระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุริยา รัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุนีย์ สินธุเดชะ

รองศาสตราจารย์ สุนีย์ สินธุเดชะ นายกสภามหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต อดีตอาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า "อาจารย์แม่" หรือที่นักเรียนในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม และอนุบาลเรียกว่า "คุณยาย" และอดีตรองหัวหน้าพรรคถิ่นไท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุนีย์ สินธุเดชะ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร หงส์ลดารมภ์

นทร หงส์ลดารมภ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 16 กันยายน พ.ศ. 2548) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุนทร หงส์ลดารมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ ตันติเวชกุล

ร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา สุเมธ ตันติเวชกุล หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2482 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนาย อารีย์ ตันติเวชกุล อดีต ส.ส.จังหวัดนครราชสีมา 5 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ท่านผู้หญิง ประสานสุข ตันติเวชกุล ต้นเครื่องพระกระยาหารไทยในพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สมรสกับคุณหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสุเมธ ตันติเวชกุล · ดูเพิ่มเติม »

สถิรพันธุ์ เกยานนท์

ลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือของไทยคนแรกที่เกิดภายใต้พระบรมโพธิสมภารในรัชกาลที่ 9 และอดีตรองหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) คนที่ 2 เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2490 มีชื่อเล่นว่า "อุ๊" เป็นบุตรของ พล.ร.อ. สถาปน์ และ ม.ร.ว. กระวิก เกยานนท์ การศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ที่โรงเรียนอำนวยศิลป์ (พ.ศ. 2496 - 2502) ชั้นมัธยมศึกษา ม.4 - ม.6 โรงเรียนเทพศิรินทร์ โดยมีเพื่อนร่วมรุ่น เช่น กนก เหวียนระวี, ปริญญา บุรณศิริ, ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสถิรพันธุ์ เกยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สดใส พันธุมโกมล

รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล (สกุลเดิม วานิชวัฒนา) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่กรุงเทพมหานคร อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล ปี 1959 ที่สหรัฐอเมริกาด้วย และคว้าตำแหน่งนางงามมิตรภาพ หรือ Miss Amity มาครองได้สำเร็จ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาศิลปะการละคร ผู้ร่วมก่อตั้งชมรมดนตรีสากล สจม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสดใส พันธุมโกมล · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น สุมิตร

นายสนั่น สุมิตร อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)ท่านแรก และผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาท่านที่สอง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและสนั่น สุมิตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์

ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ

ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) เป็นอดีตรองประธานศาลฎีกา และหนึ่งในสมาชิกคณะองคมนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระบิดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล

หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล (หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล) (12 เมษายน 2479 -) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลและหม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ กิติยากร สมรสกับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา สกุลเดิม ศิริวงศ์ บุตรีของ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงชูชาติ กำภู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี

หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี (24 กันยายน พ.ศ. 2475 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) อดีตเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว และกรุงวอชิงตัน และอดีตราชเลขาธิการ ซึ่งได้ล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหาร และถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 ด้วยวัย 65 ปี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงฤทธิเทพ เทวกุล

หม่อมหลวงฤทธิเทพ เทวกุล หม่อมหลวงฤทธิเทพ เทวกุล อดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงฤทธิเทพ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์

หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 83 ปี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ (พ.ศ. 2452 - พ.ศ. 2538) สูตินรีแพทย์ชาวไทย, อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิง วงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช

อำมาตย์เอก หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมอุ่ม ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2432 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ทรงเข้ารับราชการเป็นเลขานุการมณฑลอิสาณ พ.ศ. 2443 เป็นปลัดจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2454 รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2456 เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พ.ศ. 2467 ผู้ว่าราชการจังหวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2470 อำมาตย์เอก ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2471 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ประชวรโรคเส้นโลหิตในสมองแตก ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2472 สิริชันษาได้ 51 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโคลง,ฉันท์,กาพย์,ร่าย: พระนิพนธ์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์, 2478 และบิดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หยุด แสงอุทัย

ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหยุด แสงอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)

หลวงลิขิตปรีชา (พ.ศ. 23?? - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง) และราชเลขานุการในพระองค์ และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 ถือศักดินา 1,500 (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาชื่อนายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล) ถือศักดินา 2000 สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)

ลตรี หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2439 ตำบลวังไม้ขอน อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย อดีตอธิบดีกรมการแพทย์ (คนแรก) เป็นผู้ให้กำเนิดของสมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2523 รวมสิริอายุ 84ปี อดีตอธิบดีกรมการแพทย์คนแรก หนึ่งในนายแพทย์ผู้ร่วมชันสูตรพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีการจัดงานเพื่อรำลึกถึงท่านในโอกาสครบ 120 ปีชาตกาล พันโทนายแพทย์หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฎ์ ้เมื่อ 29 กันยายน 2559 ที่ผ่านมาด้ว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและหลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์) · ดูเพิ่มเติม »

อภัย จันทวิมล

อภัย จันทวิมล เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 ที่อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมคณะลูกเสือแห่งชาติ ในคณะกรรมการลูกเสือโลก ขององค์การลูกเสือโลก ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอภัย จันทวิมล · ดูเพิ่มเติม »

อภินันท์ ปวนะฤทธิ์

อภินันท์ ปวนะฤทธิ์ (6 กุมภาพันธ์ 2489 -) อดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จบการศึกษารัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอภินันท์ ปวนะฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อมรวิชช์ นาครทรรพ

ร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอมรวิชช์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

อมรา พงศาพิชญ์

ตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 -) อดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้แทนกลุ่มและจัดทำบัญชีรายชื่อ สมัชชาแห่งชาติ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย คณะกรรมการสรรหาสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และคณะกรรมการวิชาการ/คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการในหลายมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ เป็นนักวิชาการไทยที่มีผลงานวิชาการมากมายทั้งไทยและต่างประเทศในด้านรัฐศาสตร์ สังคมวิทยา และมานุษยวิท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอมรา พงศาพิชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถ วิสูตรโยธาภิบาล

นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 และอดีตอธิบดีกรมที่ดิน คนที่ 19 กระทรวงมหาดไทย รวมถึงอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นผู้คิดวิธีออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3ก.) โดยใช้รูปถ่ายทางอากาศเป็นระวาง และยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกาถึง 5 ครั้ง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

อรุณ สรเทศน์

ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอรุณ สรเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อักขราทร จุฬารัตน

ตราจารย์พิเศษ อักขราทร จุฬารัตน เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2483 สมรสกับนางสมจิต จุฬารัตน เมื่อ พ.ศ. 2511 เคยดำรงตำแหน่งระดับสูงในการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมทั้งดำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดคนแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอักขราทร จุฬารัตน · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบ บุณยัษฐิติ

ท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ เป็นผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดา และเป็นอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรล.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอังกาบ บุณยัษฐิติ · ดูเพิ่มเติม »

อำพล เสนาณรงค์

อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอำพล เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ทรัพย์วารี

อนันต์ ทรัพย์วารี ผู้อำนวยการโรงเรียนเทพศิรินทร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและอนันต์ ทรัพย์วารี · ดูเพิ่มเติม »

จรวยพร ธรณินทร์

ร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) เกิดเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ดร.ผดุง ธรณินทร์ มีบุตร 2 คน ได้แก่ แพทย์หญิงภาวิณี ฤกษ์นิมิตร และนายพิชชา ธรณินทร์ ดร.จรวยพร ธรณินทร์ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากการรณรงค์การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโดยเฉพาะการออกกำลังแบบแอโรบิกดานซ์ การเป็นผู้อำนวยการจัดการชุมนุมลูกเสือโลกครั้งที่ 20 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ หาดยาว จังหวัดชลบุรี เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและจรวยพร ธรณินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ มะลูลีม

ตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการด้านตะวันออกกลางศึกษา อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กรรมการในคณะกรรมมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการลอบวางระเบิด และก่อความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและจรัญ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและจรัส สุวรรณเวลา · ดูเพิ่มเติม »

จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

รองศาสตราจารย์ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตเลขาธิการพระราชวัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อดีตเลขาธิการและกรรมการมูลนิธิโครงการหลวง นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธัชชัย สุมิตร

รองศาสตราจารย์ ธัชชัย สุมิตร อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและธัชชัย สุมิตร · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย ชิวปรีชา

งชัย ชิวปรีชา ผู้อำนวยการโรงเรียนกำเนิดวิทย์ เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ในสถานะองค์การมหาชน เข้ารับตำแหน่งตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและธงชัย ชิวปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 (ส.ส.ร.) ประเภทผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน, อดีตที่ปรึกษาประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, อดีตเลขาธิการสภาการศึกษา, อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองโฆษกกระทรวงยุติธรรม, อดีตรองอธิบดีกรมคุมประพฤติ, อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (CPLO) นอกจากนี้แล้ว ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ยังมีความเชี่ยวชาญในด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธีเป็นอย่างมาก จนได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องราวประวัติศาสตร์ทางราชสำนัก และพระราชพิธี เป็นจำนวนมาก ตลอดจนยังได้หนังสือกฎหมายต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย และยังได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่ายทอดสดในการพระราชพิธีต่างๆ ที่สำคัญมาแล้วหลายวาระ และล่าสุดในปีพ.ศ. 2559 ได้รับเชิญให้มาร่วมบรรยายถ่าดทอดสดในการพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและธงทอง จันทรางศุ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี แรงขำ

ตราจารย์ ทวี แรงขำ เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและทวี แรงขำ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ เสนาณรงค์

ทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 -) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาเอกชน อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตอธิบดีกรมศิลปากร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและทวีศักดิ์ เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพร วงศ์รัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2524 และต่อมาในปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและทศพร วงศ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิพาวดี เมฆสวรรค์

ณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ (1 มกราคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม, อดีตปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญร่วมกับกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาและผลักดันให้เกิดกองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ (กบข.) การให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคของบทบาทชายหญิง ทั้งในสถานที่ทำงานและภายนอก รวมทั้งเป็นผู้ที่มีความโดดเด่นยิ่งด้านการต่างประเทศ สามารถระดมความช่วยเหลือจากองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ มาสู่สำนักงาน ก..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและทิพาวดี เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญแก้ว วัชโรทัย

นายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) และนายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) ขวัญแก้ว วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 28 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตรองเลขาธิการพระราชวัง เป็นคู่แฝดกับแก้วขวัญ วัชโรทัย อดีตเลขาธิการพระราชวัง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและขวัญแก้ว วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก อิงคนินันท์

รก อิงคนินันท์ (31 ตุลาคม พ.ศ. 2493 -) ประธานศาลฎีกาคนที่ 42 เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและดิเรก อิงคนินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

คณิต ณ นคร

ตราจารย์พิเศษ คณิต ณ นคร อดีตประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ หรือ คอป.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและคณิต ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ วิไลรัตน์

ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและประพนธ์ วิไลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประภาศน์ อวยชัย

ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและประภาศน์ อวยชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล วีรุตมเสน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประมวล วีรุตมเสน ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ประมวล วีรุตมเสน เป็นนายแพทย์ชาวไทย จากภาคสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สร้างผลงานเด็กหลอดแก้วรายแรกของประเทศไทย ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและประมวล วีรุตมเสน · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน

ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ และเป็นแพทย์ประจำพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้รับไว้วางพระราชหฤทัยมากที่สุดคนหนึ่ง โดยทรงโปรดเกล้าฯ เป็นผู้ถวายงานในการเข็นพระเก้าอี้เลื่อน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและประดิษฐ์ ปัญจวีณิน · ดูเพิ่มเติม »

ประคอง พลหาญ

'''ประคอง พลหาญ''' นายประคอง พลหาญ (7 พฤศจิกายน 2478 -) นายกสมาคมนักเรียนเก่ารัสเซีย อดีตรองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมhttp://www.thairath.co.th/content/190426 และนายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย คนไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมอสโก มหาวิทยาลัยอันดับ 1 ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศรัสเซียhttps://www.topuniversities.com/universities/lomonosov-moscow-state-university#wurs และเป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกให้เกิดอุตสาหกรรมการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมขึ้นในประเทศไท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและประคอง พลหาญ · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา จินดาประเสริฐ

ตราจารย์ ปริญญา จินดาประเสริฐ เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น คนที่ 8 โดยภายหลังจากพันวาระการดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นแล้วนั้น ได้รับเลือกให้เป็นประธานกรรมการรถไฟ ในระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปริญญา จินดาประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล

นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จไทยรั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปรีดี เกษมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ รัตนากร

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ปานเทพ รัตนากร คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประธานกรรมการองค์การสวนสัตว์ นายสัตวแพทย์ชื่อดังจากมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้สามารถรักษาสัตว์ได้ทุกชนิด ทั้งนก ลิง สัตว์เลื้อยคลาน เรื่อยไปจนถึงช้าง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปานเทพ รัตนากร · ดูเพิ่มเติม »

ปิยพันธุ์ นิมมานเหมินท์

นายปิยพันธุ์ นิมมานเหมินท์ อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา (ชุดปี 2554) และอดีตอธิบดีกรมบัญชีกลาง เกิดเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2492 เป็นบุตรของนายพิสุทธิ์ นิมมานเหมินท์ กับหม่อมราชวงศ์พันธุ์ชมพูนุท นิมมานเหมินท์ (สกุลเดิม ทองแถม).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปิยพันธุ์ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะสกล สกลสัตยาทร

ตราจารย์คลินิก เกียรติคุณ นายแพทย์ ปิยะสกล สกลสัตยาทร (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์และอุบัติเหตุ นายกสภาสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล โดยเข้ารับตำแหน่งในปีแรกที่มหาวิทยาลัยมหิดลออกนอกระบบเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (9 ธันวาคม 2550 - 8 ธันวาคม 2554) มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนในการนำมหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งสู่การติดอันดับ 1 ใน 100 ของมหาวิทยาลัยโลก เป็นคณบดีคนที่ 15 ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ต่อเนื่อง 2 สมัย (พ.ศ. 2543 - 2550) ได้ถวายงานเป็นแพทย์อาสาตามเสด็จพระราชดำเนินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและปิยะสกล สกลสัตยาทร · ดูเพิ่มเติม »

นริศ ชัยสูตร

รองศาสตราจารย์ นริศ ชัยสูตร (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2541-2547) อดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ปัจจุบัน อธิบดีกรมธนารักษ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนริศ ชัยสูตร · ดูเพิ่มเติม »

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนรนิติ เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นันทริกา ชันซื่อ

รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซื่อ รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.นันทริกา ชันซื่อ (ชื่อเล่น: หนิ่ง; นามสกุลเดิม: โพธิปักษ์)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติจากการแต่งตั้งโดยคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ประจำคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นบุตรสาวของ ร.น.ดร.รท.ประสิทธิ์ โพธิปักษ์ อดีตคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ ทันตแพทย์หญิง มนูญ (กปิตถัย) โพธิปักษ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีระดับเกียรตินิยมจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อจบแล้วได้เข้าไปทำงานเป็นเลขานุการส่วนตัวของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) จากการที่ได้ใกล้ชิดกับนักธุรกิจ จึงได้ทำให้ไปศึกษาปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึ่งทางกลุ่มบริษัทซีพีมีแนวความคิดที่จะทำธุรกิจด้านสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์บก จึงได้ทำให้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกด้านสัตว์น้ำโดยเฉพาะที่ The College of William & Mary รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ร..ญ.ดร.นันทริกา เชี่ยวชาญเรื่องโรคสัตว์น้ำ และมีงานวิจัยต่าง ๆ มากมาย อาทิ ค่ามาตรฐานเลือดปลาไทย, การแยกเพศในปลามังกร (Scleropages formosus), ค่ามาตรฐานเลือดตะพาบม่านลาย (Chitra chitra) เป็นต้น และมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในแวดวงของกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์เลี้ยงหรือปลาสวยงาม เป็นคอลัมนิสต์ที่มีผลงานประจำตอบปัญหาหรือเขียนบทความลงในนิตยสารสัตว์เลี้ยงและปลาสวยงามหลายเล่ม ในชื่อของ "หมอหนิ่ง" นอกจากนี้แล้ว ยังได้ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำหลายโครงการ เช่น การจัดตั้งชมรมอนุรักษ์เต่าร่วมกับทางกลุ่มบริษัทซีพี รณรงค์และให้ความรู้เรื่องการปล่อยเต่าคืนสู่ธรรมชาติอย่างถูกต้องตามหลักสายพันธุ์, การเก็บตัวอย่างพิษของปลากระเบนราหูเจ้าพระยา (Himantura chaophraya) เพื่อการศึกษา เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากงานด้านศึกษาวิจัยและสัตวแพทย์สัตว์น้ำแล้ว ยังมีกิจกรรมที่ชื่นชอบคือกีฬายิงปืน โดยเฉพาะการยิงปืนรณยุทธ เป็นตัวแทนทีมชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขันยิงปืนในระดับนานาชาติมาแล้วในหลายประเทศ ชีวิตครอบครัวสมรสกับ น.เอกวรรณ ชันซื่อ บุตรชายคนโตของ นายวรรณ ชันซื่อ อดีตประธานรัฐสภา มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน เป็นหญิง 3 ชาย 1.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนันทริกา ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น “บรมครูแห่งวิชากระบี่กระบอง” เคยดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

นิเวศน์ นันทจิต

ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ นิเวศน์ นันทจิต อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และประธานมูลนิธิโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (สวนดอก) และได้รับคัดเลือกเป็นนักศึกษาเก่าดีเด่นสาขาบริหารองค์กรการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัย ร.น.นิเวศน์ นันทจิตได้มีการผลักดันให้เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) โดยความร่วมมือกับทางไอบีเอ็มตั้งแต่ปี 2553 ในปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนิเวศน์ นันทจิต · ดูเพิ่มเติม »

นงเยาว์ ชัยเสรี

ตราจารย์ คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและนงเยาว์ ชัยเสรี · ดูเพิ่มเติม »

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและแก้วขวัญ วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและแถบ นีละนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยันต์ ไชยพร

ตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2502 -) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักกันในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์จุฬาฯ ผู้ฉีกบัตรเลือกตั้งต่อหน้าสื่อมวลชนในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2549 ในแนวทางอารยะขัดขืน นอกจากนี้ไชยันต์ยังเป็นนักวิชาการที่เขียนบทความเผยแพร่ตามสื่อต่างๆ อีกมากมาย ไชยันต์มีความเชี่ยวชาญด้านทฤษฎีและปรัชญาการเมือง โดยทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเกี่ยวกับแนวคิดทางการเมืองในงานของเพลโต เคยดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าภาควิชาการปกครอง นิสิตชอบเรียกว่า "โสกราตีสคนสุดท้าย" จากรูปแบบการสอนหนังสือ ที่เน้นการถามคำถามและสนทนามากกว่าบรรยายอย่างเดียว ในการประท้วงขับไล่นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ไชยันต์อยู่ในกลุ่มนักวิชาการกลุ่มแรก ๆ ที่ออกมาเคลื่อนไหว ในการเลือกตั้งวันที่ 2 เม.ย. พ.ศ. 2549 ไชยันต์ได้ฉีกบัตรเลือกตั้งของตนทิ้งโดยเป็นการเคลื่อนไหวในแนวทางอารยะขัดขืน ให้เหตุผลว่าการยุบสภาและการเลือกตั้งในครั้งนั้นไม่มีความชอบธรรม เขายอมรับว่ากระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งและพร้อมสู้คดีในทางกฎหมายต่อไป อย่างไรก็ตามไชยันต์ยืนยันสิทธิของตนตามรัฐธรรมนูญมาตรา 65 ว่าบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เชิญตัวไปสอบสวน และ หลังจากนั้นได้มีผู้ร่วมฉีกบัตรเลือกตั้งโดยกล่าวว่ามีอุดมการณ์เดียวกับไชยันต์ด้วย ล่าสุดศูนย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ยืนยันว่าจะช่วยเหลือไชยันต์ในทางกฎหมายแล้ว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและไชยันต์ ไชยพร · ดูเพิ่มเติม »

ไสยวิชญ์ วรวินิต

รศ.ดร. ไสยวิชญ์ วรวินิต รองศาสตราจารย์ ไสยวิชญ์ วรวินิต (8 พฤศจิกายน 2490) อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เกิดที่จังหวัดระยอง เจ้าของรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและไสยวิชญ์ วรวินิต · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเกษม วัฒนชัย · ดูเพิ่มเติม »

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเกษม สุวรรณกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกื้อ วงศ์บุญสิน

ตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญ, อดีตนายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อำนวยการสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเกื้อ วงศ์บุญสิน · ดูเพิ่มเติม »

เกตุ กรุดพันธ์

ตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2496 ที่จังหวัดนนทบุรี บิดาชื่อ นายศักดิ์ กรุดพันธ์ มารดาชื่อ นางอุบล กรุดพันธ์ สมรสกับ นางธนกร กรุดพันธ์ (นามสกุลเดิมเกษมกิจวัฒนา) มีธิดา 1 คน คือ นางสาวศุภรา กรุดพันธ์ ศาสตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ เป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีวิเคราะห์คนแรกของประเทศไทย ปัจจุบันทำงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้ประสานงานห้องปฏิบัติการสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในการพัฒนาเพื่อการลดขนาดในการวิเคราะห์โดยการไหล (กลุ่มวิจัย Flow-based Analysis Research Group)ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ สนใจในวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาวิธีและเครื่องมือ ในการการวิเคราะห์ทางเคมีโดยเฉพาะเทคนิคที่อาศัยหลักการไหล ซึ่งจะมุ่งเป้าที่จะเป็นแบบราคาถูก งานวิจัยจะสัมพันธ์กับปัญหาของท้องถิ่นแต่มีผลกระทบในระดับนานาชาติอีกด้วย ไม่นานมานี้ได้ริเริ่มและผลักดันในการพัฒนาการวิเคราะห์ที่อาศัยหลักการไหลเพื่อการคัดกรองในการตรวจวินิจฉัยโรคบางชนิด (เช่น มะเร็ง, โรคตับ, โรคข้อ และกระดูก และโรคธาลัสซีเมีย เป็นต้น) การพัฒนาดังกล่าวจะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลในพื้นที่ธุรกันดานในประเทศไทย และได้ริเริ่มผลักดันเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเคมีแบบสะอาดโดยการใช้รีเอเจนต์ที่ได้จากธรรมชาติ การพัฒนาการวิจัยจะมีผลเชื่อมโยงกับการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่อีกด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ได้บุกเบิกงานทาง flow injection analysis ที่เกี่ยวข้องกับกัมมันตรภาพรังสี การเตรียมตัวอย่างแบบในท่อที่ใช้ระบบการไหลผนวกเข้ากับเทคนิคทาง โครมาโทกราฟี การลดขนาดของการวิเคราะห์ทางเคมี เช่น “การดำเนินการวิเคราะห์บนชิพ (lab-on-Chip)” และ “การดำเนินการทดลองที่วาล์ว (Lab-at-Valve)” ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการวิเคราะห์ทั้งระบบในระดับไมโคร (micro total analysis system).

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเกตุ กรุดพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญศารทูลมาลา

หรียญศารทูลมาลา (The Salatul Mala Medal) เป็นเหรียญเงินชนิดเดียว สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ข้าราชการซึ่งเป็นเสือป่า ปัจจุบันพ้นสมัยการพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญศารทูลมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรพรรดิมาลา

หรียญจักรพรรดิมาลา ใช้อักษรย่อว่า ร...

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรมาลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญจักรมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่าทอง ทองเจือ

ผ่าทอง ทองเจือ หรือที่รู้จักในนาม อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ท่านเป็นบุตรของ นายพานทอง ทองเจือ กับ นางไพบูลย์บุญ ทองเจือ สกุลเดิม: เนติกุล อาจารย์เผ่าทองจึงมีศักดิ์เป็นหลานปู่ พระยาไพชยนต์เทพ (ทองเจือ ทองเจือ) ท่านเป็นต้นสกุล "ทองเจือ" และ ท้าวอนงค์รักษา (พร้อง ทองเจือ) อาจารย์เผ่าทองเป็นนักประวัติศาสตร์ไทย นักโบราณคดี พิธีกรและวิทยากรผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ไทย ท่านมีชื่อเล่นว่า "แพน" เป็นน้องชายคนละแม่กับ ภิญโญ ทองเจือ อดีตนักแสดงละครโทรทัศน์ และ ปรางค์ทิพย์ ทวีพาณิชย์ เผ่าทองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ระดับอุดมศึกษาจากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ด้วยความชอบในเรื่องโบราณคดีมาแต่เด็ก ๆ ขณะที่ศึกษาอยู่นั้นถืออาจารย์เผ่าทองเป็นบุคคลคณะแรก ๆ ที่ได้เข้าไปขุดค้นในแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง ที่จังหวัดอุดรธานีด้วย ในทางวิชาการเคยเป็นอาจารย์ในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาจารย์ในคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จนกระทั่งอาจารย์เผ่าทองได้เป็นคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นอาจารย์พิเศษตามสถาบันต่าง ๆ เช่น โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนจิตรลดา เป็นต้น ก่อนอาจารย์เผ่าทองจะเกษียณตัวเองออกมาก่อนอายุครบ 60 ปี ในแวดวงบันเทิงเคยเป็นนายแบบ พิธีกรและวิทยากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของไทยหลายรายการ อาทิ คุณพระช่วย ทางช่อง 9,มิติลี้ลับ ทางช่อง 7 อาจารย์เผ่าทองเคยเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่อง ศิลามณี ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2551 อาจารย์เผ่าทองได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ฉันผู้ชายนะยะ ในปี พ.ศ. 2530 อาจารย์เผ่าทองได้เป็นผู้ติดต่อประสานงานและเป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เรื่อง Anna and the King ที่ได้เข้าไปถ่ายทำในประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2542 และ รอยไหม ในปี พ.ศ. 2554 กับช่อง 3 ด้วย ชีวิตส่วนตัว เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องผ้าไทยและเป็นเจ้าของ ห้องเสื้อเผ่าทอง ทองเจือ หรือ Paothong's PRIVATE COLLECTION ที่จังหวัดเชียงใหม่ รวมไปถึงห้างสรรพสินค้าชั้นนำ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงความเป็นมาของกรุงเทพมหานคร ที่ถนนราชดำเนิน ปัจจุบันอาจารย์เผ่าทองท่านมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ เป็นโรคมะเร็งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ ลูคิเมีย โดยท่านเป็นมาตั้งแต่อายุ 37 ปี ที่เกือบจะเอาชีวิตไม่รอดจากโรคที่เป็น.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเผ่าทอง ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ. 2410 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459) อดีตเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์; 20/21 สิงหาคม พ.ศ. 2386 - 19 เมษายน พ.ศ. 2456) อดีตปลัดทูลฉลอง และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)

้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) อดีตรัฐมนตรีและองคมนตรี ได้รับพระราชทานนามสกุล "สุจริตกุล".

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)

นายพลโท เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (นามเดิม: โต บุนนาค; พ.ศ. 2394 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2452) เป็นบุตรของเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอ่วม สุรวงษ์ไวยวัฒน์ จบการศึกษาวิชาทหารปืนใหญ่จากประเทศอังกฤษ เริ่มรับราชการเมื่อ..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)

มหาเสวกโท เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) (29 กรกฎาคม พ.ศ. 2404 -27 สิงหาคม พ.ศ. 2465) เป็นเจ้าเมืองพระตะบองต่อจากบิดา และเป็นสมุหเทศาภิบาล สำเร็จราชการมณฑลบูรพา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นต้นตระกูล "อภัยวงศ์" ท่านเป็นพระอัยกา (ปู่) ในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 และเป็น พระมาตามไหยกา (ทวด) ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรีคนที่ 4 ในเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม โอสถานนท์) ท่านมีพี่น้องร่วมมารดา ดังนี้.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เทอด เทศประทีป

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และอดีตคณบดีคนแรกของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเทอด เทศประทีป · ดูเพิ่มเติม »

เทียนฉาย กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเทียนฉาย กีระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เตช บุนนาค

ตช บุนนาค กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสหรัฐอเมริกา ในสมัยของประธานาธิบดีบิล คลินตัน ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 หลังการลาออกของนายนพดล ปัทมะ เนื่องจากขณะนั้นนายเตช เป็นข้าราชการพลเรือนในพระองค์ รับราชการอยู่ที่สำนักราชเลขาธิการ นายสมัคร สุนทรเวชจึงได้ไปขอพระราชทานนายเตชจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้มาดำรงตำแหน่งแทน ในต้นเดือนกันยายน..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเตช บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เติมศักดิ์ กฤษณามระ

ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเติมศักดิ์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

เฉก ธนะสิริ

นายแพทย์ เฉก ธนะสิริ (เกิด กันยายน พ.ศ. 2468 -) แพทย์ชาวไทย อดีตรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นักบริหาร 10) เป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิม และชมรมอยู่ 100 ปี-ชีวีเป็นสุข ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเฉก ธนะสิริ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว ยาจันทร์

ร.เฉลียว ยาจันทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบางบัวทอง.

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเฉลียว ยาจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว อยู่สีมารักษ์

ฉลียว อยู่สีมารักษ์ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นายเฉลียว อยู่สีมารักษ์ จบการศึกษาปริญญาตรี คุรุศาสตรบัณฑิต (คบ.) วิทยาลัยครูนครราชสีมา, ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยบูรพา (มศว.บางแสน), ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (นม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๒๕๔๗ นายเฉลียว อยู่สีมารักษ์ ได้ดำรงตำแหน่งทางราชการต่าง ๆ อาทิ ผู้อำนวยการกองตรวจสอบและทะเบียนประวัติ สำนักงาน ก..

ใหม่!!: เหรียญจักรพรรดิมาลาและเฉลียว อยู่สีมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »