โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เหมายัน

ดัชนี เหมายัน

แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกในส่วนครึ่งซีกโลกใต้ในวันเหมายัน เหมายัน (เห-มา-ยัน) หรือ ทักษิณายัน (winter solstice) เป็นการที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ จุดสุดทางใต้ในราววันที่ 22 ธันวาคม เป็นจุดในฤดูหนาวในซีกโลกเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้จะเกิดขึ้นราวเดือนมิถุนายน มีกลางคืนนานกว่ากลางวัน, ตรงข้ามกับครีษมายัน (summer solstice).

42 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557กระจุกดาวลูกไก่กุมภาพันธ์ภาวะ (ปฏิทินจีน)ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนมกราคมรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยสรพงศ์ ชาตรีสุริยวิถีอายันคริสต์มาสครีษมายันตรุษจีนตรุษเกาหลีซีกโลกเหนือปฏิทินจูเลียนปฏิทินจีนปฏิทินคงที่สากลโลก (ดาวเคราะห์)เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือเส้นขนานที่ 15 องศาเหนือเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือเส้นขนานที่ 30 องศาใต้เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือเส้นขนานที่ 31 องศาเหนือเส้นขนานที่ 35 องศาใต้เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือเส้นขนานที่ 45 องศาใต้เส้นขนานที่ 50 องศาใต้เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือเส้นขนานที่ 55 องศาใต้เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือเทศกาลตังโจ่ย2012 วันสิ้นโลก22 ธันวาคม

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เหมายันและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: เหมายันและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: เหมายันและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ใหม่!!: เหมายันและกุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะ (ปฏิทินจีน)

วะ หรือ สารทสารท แปลว่าฤดูใบไม้ร่วง และงานฉลองในฤดูใบไม้ร่วง จึงผิดความหมาย และอาจสับสนกับวันสารทจีน ซึ่งตรงกับวันที่ 15 เดือน ตามปฏิทินจีน วันดังกล่าวเป็นวันอุทิศส่วนกุศลให้ผู้วายชนม์ของชาวจีน อย่างไรก็ตามนักโหราศาสตร์จีนนิยมใช้คำ สารท (จีนต้วเต็ม: 節氣; จีนตัวย่อ: 节气; พินอิน: jiéqì; คำอ่าน: เจี๋ยชี่ อังกฤษ: Solar term) หมายถึงระยะที่สำคัญอันสังเกตจากสิ่งแวดล้อมได้รอบตัว ซึ่งชาวจีนได้บัญญัติขึ้นไว้ 24 ภาวะด้วยกันในหนึ่งรอบปี นอกจากนี้ยังกำหนดให้มีการฉลองไหว้บรรพบุรุษตามสมควร ภาวะในปฏิทินจีน มีใช้ในประเทศจีน รวมถึงเกาหลี เวียดนาม และญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้รับวัฒนธรรมจีนอีกด้วย ในภาวะตามปฏิทินจีนทั้งหมด จะมีสี่ภาวะซึ่งตรงกับปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ได้แก่ 春分 (ชุนเฟิน) 夏至 (เซี่ยจื้อ) 秋分 (ชิวเฟิน) และ 冬至 (ตงจื้อ หรือวันไหว้ขนมบัวลอย) ซึ่งตรงหรือใกล้เคียงกับวันสำคัญทางดาราศาสตร์ประจำปี ได้แก่ วสันตวิษุวัต อุตรายัน ศารทวิษุวัต และทักษิณายัน ตามลำดับ แต่ละวันมีคำอธิบายโดยย่อดังนี้.

ใหม่!!: เหมายันและภาวะ (ปฏิทินจีน) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน

ูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน ในการแบ่งเขตภูมิอากาศ ภูมิอากาศลักษณะนี้ค่อนข้างพบได้น้อยบนโลก และได้รับการจัดแบ่งแทนด้วยตัวอักษร "Am" ในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนมีอุณหภูมิเฉลี่ยมากกว่า 18 °C ในทุก ๆ เดือน และมีฤดูฝนและฤดูแล้งเหมือนภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เดือนที่แห้งแล้งที่สุดในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนนั้นมีปริมาณหยาดน้ำฟ้าน้อยกว่า 60 มิลลิเมตร ภูมิอากาศแบบนี้นั้นดูเหมือนจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแต่ละช่วงของปีน้อยกว่าภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ภูมิอากาศลักษณะนี้มีฤดูที่แล้งที่สุดอยู้ในช่วงวันเหมายันหรือหลังจากนั้น.

ใหม่!!: เหมายันและภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: เหมายันและมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: เหมายันและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: เหมายันและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สุริยวิถี

ริยวิถี (Ecliptic) คือ ระนาบทางเรขาคณิตที่เป็นระนาบวงโคจรของโลก ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะมีระนาบวงโคจรใกล้เคียงกับระนาบนี้ เมื่อมองจากโลก สุริยวิถีเป็นวงกลมใหญ่บนทรงกลมฟ้าที่แทนเส้นทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ตลอดทั้งปีท่ามกลางดาวฤกษ์ที่เป็นฉากหลัง ระนาบนี้ทำมุมเอียงกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าเป็นมุมประมาณ 23.5° ซึ่งเป็นผลจากความเอียงของแกนหมุนของโลก ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์เอียงกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุมประมาณ 5° เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ไปตามสุริยวิถีเป็นมุม 360 องศา ในระยะเวลาประมาณ 365.25 วัน หรือ 1 ปี ดวงอาทิตย์จึงเคลื่อนที่ไปด้วยอัตราประมาณ 1° ต่อวัน โดยมีทิศทางจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ตรงข้ามกับการหมุนของทรงกลมฟ้า สุริยวิถีกับเส้นศูนย์สูตรฟ้าตัดกันที่จุด 2 จุด ซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน คือ จุดวสันตวิษุวัตและจุดศารทวิษุวัต เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมาถึง 2 ตำแหน่งนี้ กลางวันกับกลางคืนจะยาวนานเท่ากันสำหรับผู้สังเกตบนผิวโลก (อย่างน้อยก็ในทางทฤษฎี เพราะมีปัจจัยอื่นที่ส่งผลต่อความยาวนานของกลางวัน-กลางคืน เช่น บรรยากาศโลก) จุดที่สุริยวิถีอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรฟ้ามากที่สุดขึ้นไปทางเหนือ เรียกว่า จุดครีษมายัน และลงไปทางใต้เรียกว่า จุดเหมายัน หากดวงจันทร์ผ่านแนวสุริยวิถีขณะจันทร์เพ็ญหรือจันทร์ดับ จะมีโอกาสเกิดอุปราคาขึ้นได้.

ใหม่!!: เหมายันและสุริยวิถี · ดูเพิ่มเติม »

อายัน

อายัน (solstice) ในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ยังมีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "อายัน" เกิดขึ้นปีละ 2 ครั้งเช่นกัน อายันเกิดขึ้นทุกปีระหว่างวันที่ 20 หรือ 21 มิถุนายนเรียกว่า ครีษมายัน และในวันที่ 22 หรือ 23 ธันวาคมเรียกว่า เหมายัน หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า ตะวันอ้อมข้าว นอกจากนี้โลกยังมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากันตลอดปี ช่วงที่ใกล้ที่สุดเกิดขึ้นในต้นเดือนมกราคม (147 ล้านกิโลเมตร) ส่วนช่วงที่ไกลที่สุดเกิดขึ้นในต้นเดือนกรกฎาคม (152 ล้านกิโลเมตร) เฉพาะแกนหมุนของโลกที่เอียง เมื่อโคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงมีผลสลับขั้วโลกเหนือ กับ ขั้วโลกใต้ เข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น ส่วนการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่มีระยะใกล้บ้าง ไกลบ้าง นั้น เป็นอัตราส่วนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับระยะห่างจากดวงอาทิตย์ จึงไม่ได้มีผล ต่อการเกิดฤดูกาลแต่อย่างใ.

ใหม่!!: เหมายันและอายัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: เหมายันและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

ครีษมายัน

แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกในส่วนครึ่งซีกโลกเหนือในวันครีษมายัน ครีษมายัน หรือ อุตตรายัน (summer solstice) เป็นการที่ดวงอาทิตย์ โคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ จุดสุดทางเหนือในราววันที่ 20 มิถุนายน หรือ 21 มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันนานกว่ากลางคืน, ตรงข้ามกับ เหมายัน (winter solstice) (สันสกฤต: คฺรีษฺม + อายนฺ).

ใหม่!!: เหมายันและครีษมายัน · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษจีน

pinoy301770 ตรุษจีน เป็นวันหยุดตามประเพณีของจีนที่สำคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" เพราะฤดูใบไม้ผลิตามปฏิทินจีนเริ่มต้นด้วยวันลีชุน ซึ่งเป็นวันแรกในทางสุริยคติของปีปฏิทินจีน วันดังกล่าวยังเป็นวันสิ้นสุดฤดูหนาว ซึ่งคล้ายกันกับงานเทศกาลของตะวันตก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 (正月) ในปฏิทินจีนโบราณและสิ้นสุดลงในวันที่ 15 ด้วยเทศกาลโคมไฟ คืนก่อนตรุษจีนเป็นวันซึ่งครอบครัวจีนมารวมญาติเพื่อรับประทานอาหารเย็นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเรียกว่า ฉูซี่ (除夕) หรือ "การผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน" เนื่องจากปฏิทินจีนเป็นแบบสุริยจันทรคติ ตรุษจีนจึงมักเรียกว่า "วันขึ้นปีใหม่จันทรคติ" ตรุษจีนเป็นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สุดและสำคัญที่สุดในปฏิทินจีน จุดกำเนิดของตรุษจีนนั้นมีประวัติหลายศตวรรษและมีความสำคัญเพราะตำนานและประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิมฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึ่งมีประชากรจีนอาศัยอยู่มาก อย่างเช่น จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย รวมทั้งในชุมชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูกมองว่าเป็นวันหยุดสำคัญสำหรับชาวจีนและได้มีอิทธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่จันทรคติของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งรวมทั้งเกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และเวียดนาม ในประเทศจีน ธรรมเนียมและประเพณีท้องถิ่นเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองตรุษจีนนั้นหลากหลายมาก ประชาชนจะเทเงินของตนเพื่อซื้อของขวัญ ของประดับตกแต่ง วัสดุ อาหารและเครื่องนุ่งห่ม นอกจากนี้ยังมีประเพณีว่า ทุกครอบครัวจะทำความสะอาดบ้านอย่างละเอียดลออ เพื่อปัดกวาดโชคร้ายด้วยหวังว่าจะเปิดทางให้โชคดีเข้ามา มีการประดับหน้าต่างและประตูด้วยกระดาษตัดสีแดงและคู่กับธีม "โชคดี", "ความสุข", "ความมั่งคั่ง" และ "ชีวิตยืนยาว" ที่ได้รับความนิยม ในคืนก่อนตรุษจีน อาหารค่ำเป็นการกินเลี้ยงกับครอบครัว อาหารนั้นจะมีเช่น หมู เป็ด ไก่และอาหารอย่างดี (delicacies) รสหวาน ครอบครัวจะปิดท้ายค่ำคืนด้วยประทัด เช้าวันรุ่งขึ้น เด็กจะทักทายบิดามารดาของตนโดยอวยพรพวกท่านให้มีสุขภาพดีและสวัสดีปีใหม่ และได้รับเงินอั่งเปา ประเพณีตรุษจีนนั้นเพื่อการสมานฉันท์ ลืมความบาดหมางและปรารถนาสันติและความสุขแก่ทุกคนอย่างจริงใจ แม้ปฏิทินจีนแต่โบราณไม่ใช้ปีตัวเลขต่อเนื่องกัน นอกประเทศจีน ปีจีนจึงมักนับเลขนับแต่รัชสมัยจักรพรรดิเหลือง แต่เนื่องจากมีการกำหนดให้อย่างน้อยสามปีเป็นเลข 1 ที่นักวิชาการใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน จึงทำให้ปี..

ใหม่!!: เหมายันและตรุษจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษเกาหลี

ตรุษเกาหลี (Korean New Year) หรือ ซอลลาล (설날) เป็นวันแรกของปฏิทินจันทรคติ ซึ่งเป็นวันหยุดที่สำคัญที่สุดของชาวเกาหลีที่มีมาแต่เดิม อันประกอบด้วยระยะเวลาการเฉลิมฉลองที่เริ่มต้นในวันขึ้นปีใหม่ ชาวเกาหลียังทำการฉลองวันปีใหม่ตามปฏิทินสุริยคติในวันที่ 1 มกราคมของทุกปีตามปฏิทินเกรกอเรียน ในขณะที่วันขึ้นปีใหม่ของชาวเกาหลีจะเป็นวันหยุดปีใหม่ของชาวเกาหลีตามช่วงสามวัน และถือเป็นวันหยุดที่สำคัญกว่าวันขึ้นปีใหม่แบบสุริยคติ นิยามของคำว่า "ซอลลาล" โดยทั่วไปหมายถึง อึม-นยอก ซอลลาล (음력 설날, lunar new year) ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ คูจอง (ฮันกึล: 구정; ฮันจา: 舊正) โดยทั่วไปบางส่วน "ซอลลาล" ยังหมายถึง ยาง-นยอก ซอลลาล (양력 설날, solar new year) ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ ชินจอง (ฮันกึล: 신정; ฮันจา: 新正) วันขึ้นปีใหม่ของเกาหลีโดยทั่วไปยึดเอาคืนที่สองของวันจันทร์ดับหลังจากช่วงเหมายัน เว้นเสียแต่ว่าจะมีน้อยมากในช่วงเดือนสิบเอ็ดหรือเดือนสิบสองซึ่งได้นำไปนับในช่วงปีใหม่ ในกรณีเช่นนี้วันขึ้นปีใหม่จะตรงกับคืนจันทร์ดับที่สามหลังจากช่วงอายัน (ครั้งต่อไปที่จะเกิดกรณีเช่นนี้อีกคือ ค.ศ. 2033) วันขึ้นปีใหม่ของชาวเกาหลีโดยทั่วไปเป็นวันเดียวกันกับวันตรุษจีน, วันขึ้นปีใหม่ของมองโกเลีย, วันขึ้นปีใหม่ของทิเบต และตรุษญวน โดยทั่วไปมักใช้ชื่อตะวันตกเพื่ออธิบายถึงเทศกาลนี้แบบครอบคลุม แม้ว่าจะไม่ถูกต้องตามหลักของวิทยาศาสตร์ว่าเป็นปีใหม่แบบจันทรคติอยู่ก็ตาม.

ใหม่!!: เหมายันและตรุษเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ซีกโลกเหนือ

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือซีกโลกใต้ เส้นที่ลากผ่านกึ่งกลางภาพคือเส้นศูนย์สูตร ซีกโลกเหนือ (northern hemisphere) คือบริเวณของโลกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ตรงข้ามกับซีกโลกใต้ ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ของละติจูดของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว N ฤดูหนาวของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่เหมายัน (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึงวสันตวิษุวัต (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วนฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่ครีษมายัน (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึงศารทวิษุวัต (ราววันที่ 23 กันยายน) ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 % ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย เนื่องจากแรงโคริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบสุร.

ใหม่!!: เหมายันและซีกโลกเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

ใหม่!!: เหมายันและปฏิทินจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจีน

ปฏิธินจีนปี ค.ศ.2017 ปฏิทินจีน หมายถึง ปฏิทินสุริยคติหรือปฏิทินจันทรคติซึ่งชาวจีนหรือชาวต่างประเทศเชื้อสายจีนใช้ในทางราชการและการกำหนดวันสำคัญต่าง ๆ ในการติดต่อราชการ-ธุรกิจ ชาวจีนใช้ปฏิทินสุริยคติสากลเช่นเดียวกับชาวตะวันตกและอีกหลายประเทศทั่วโลก แต่การกำหนดประเพณีสำคัญจะอาศัยปฏิทินจันทรคติเป็นหลักเสมอ ปฏิทินสุริยคติจีน กำหนดให้เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ดับที่ใกล้กับวันเหมายัน หรือวันที่ซีกโลกเหนือมีกลางวันสั้นที่สุด ส่วนปฏิทินจันทรคติจีน กำหนดให้เริ่มขึ้นปีนักษัตรใหม่ในวันลี่ชุน แต่เริ่มปีใหม่ในวันตรุษจีน ซึ่งเป็นวันจันทร์ดับต้นฤดูใบไม้ผลิ มักอยู่ในเดือนกุมภาพันธ์หรือปลายเดือนมกราคมของทุกปี.

ใหม่!!: เหมายันและปฏิทินจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินคงที่สากล

ปฏิทินคงที่สากล (International Fixed Calendar) หรือชื่ออื่นว่า แผนคอตส์เวิร์ธ แผนอีสต์แมน ปฏิทินสิบสามเดือน หรือ ปฏิทินเดือนเท่า (Cotsworth plan; Eastman plan; 13 Month calendar; Equal Month calendar) คือข้อเสนอการปฏิรูปปฏิทินแบบสุริยคติ ออกแบบโดยโมเสส บี.

ใหม่!!: เหมายันและปฏิทินคงที่สากล · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: เหมายันและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ

้นขนานที่ 10 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 10 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง 43 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 11 ชั่วโมง 33 นาที ในระหว่างเหมายัน ส่วนของเขตแดนระหว่างประเทศกินีและประเทศเซียร์ราลีโอนถูกกำหนดด้วยเส้นขนานนี้ ช่องแคบสิบองศาในมหาสมุทรอินเดียตั้งชื่อตามเส้นขนานนี้.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 10 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ

้นขนานที่ 15 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 15 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา เอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก อเมริกากลาง แคริเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก ในเหตุการณ์ความขัดแย้งชาด–ลิเบียระหว่างปี..

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 15 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ

้นขนานที่ 25 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก, ทวีปอเมริกาเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นชายแดนจุดเหนือสุดของมาลีซึ่งแบ่งกับมอริเตเนีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 42 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาใต้

้นขนานที่ 30 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 83.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 36.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 30 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ

้นขนานที่ 30 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 30 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก โดยมีระยะทางเป็นหนึ่งในสามระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกเหนือ เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก โดยเส้นนี้เป็นเส้นแบ่งเขตโดยประมาณทางด้านใต้ของละติจูดม้าในซีกโลกเหนือ หมายถึง พื้นที่แผ่นดินส่วนมากที่เส้นขนานที่ 30 องศาเหนือสัมผัส เป็นพื้นที่แห้งแล้งหรือมีภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง หากมีลมพัดจากแหล่งน้ำพื้นที่นั้นก็มีโอกาสเป็นพื้นที่กึ่งเขตร้อน ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 5 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน ที่ละติจูดนี้.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 30 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 31 องศาเหนือ

้นขนานที่ 31 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 31 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก โดยมีระยะทางเป็นหนึ่งในสามระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกเหนือ เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 8 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 31 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาใต้

้นขนานที่ 35 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 35 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ

้นขนานที่ 35 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ในสหรัฐอเมริกา เส้นขนานนี้กำหนดเป็นเส้นแบ่งเขตทางใต้ของรัฐเทนเนสซี, และเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐจอร์เจีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ

้นขนานที่ 40 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 1 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 20 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 40 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ

้นขนานที่ 41 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 40 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 8 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 13 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 41 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 45 องศาใต้

้นขนานที่ 45 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 45 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นขนานนี้เป็นจุดกึ่งกลางทางทฤษฎีระหว่างเส้นศูนย์สูตรและขั้วโลกใต้ จุดกึ่งกลางที่แท้จริงอยู่ที่ 16.2 กิโลเมตร (10.1 ไมล์) ทางใต้ของเส้นขนานเนื่องจากโลกไม่ได้เป็นทรงกลมที่สมบูรณ์ แต่ป่องที่บริเวณเส้นศูนย์สูตรและแบนที่บริเวณขั้วโลก แตกต่างจากคู่เส้นขนานทางซีกโลกเหนือซึ่งเกือบทั้งหมดของเส้นขนานนี้ (ร้อยละ 97) ผ่านพื้นที่ที่เป็นมหาสมุทร เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเชีย (ผ่านนิวซีแลนด์แต่พึ่งพ้นจากรัฐแทสเมเนีย) มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 15 ชั่วโมง 37 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 46 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 45 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาใต้

้นขนานที่ 50 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน ซึ่งดวงอาทิตย์ทำมุมกับขอบฟ้า 63.83 องศาในวันที่ 21 ธันวาคม และ 16.17 องศาในวันที่ 21 มิถุนายน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 50 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ

้นขนานที่ 50 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 50 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 8 ชั่วโมง 4 นาที ในระหว่างเหมายัน โดยดวงอาทิตย์จะมีมุมเงยสูงสุดในครีษมายันที่ 63.5 องศา และเหมายันที่ 16.5 องศา ที่ละติจูดนี้ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลโดยเฉลี่ยระหว่าง..

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 50 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาใต้

้นขนานที่ 55 องศาใต้ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านใต้ของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก และทวีปอเมริกาใต้ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 55 องศาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ

้นขนานที่ 55 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 55 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 17 ชั่วโมง 22 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 7 ชั่วโมง 10 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 55 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

้นขนานที่ 65 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 22 ชั่วโมง 2 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 3 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ

ในเกาะวิกตอเรีย, แคนาดา เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือมีความหมายเป็นเส้นแบ่งเขตส่วนหนึ่ง ระหว่างนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (สีเขียว) กับ นูนาวุต (สีขาว) เส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 70 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลกในมหาสมุทรอาร์กติก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ และยังลากผ่านบางส่วนของทะเลใต้ของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 0 นาที ในระหว่างครีษมายัน และเห็นแต่แสงสนทยาทั่วไปในช่วงเหมายัน.

ใหม่!!: เหมายันและเส้นขนานที่ 70 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลตังโจ่ย

งหยวน เทศกาลตังโจ่ย หรือ เทศกาลฤดูหนาว (จีนกลาง: ตงจื้อ, Dōngzhì Festival, Winter Solstice Festival) ตังโจ่ย หรือ ตังจี๋ หรือ ตงเจี่ย (ตามสำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ตั่งเจะ (ตามสำเนียงฮกเกี้ยน) มีความหมายถึง วันเหมายัน คือ วันที่พระอาทิตย์จะส่องแสงสั้นที่สุด หรือ วันที่เป็นจุดสูงสุดในฤดูหนาว (The Extreme of Winter) (โดยประมาณจะตรงกับวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี แต่ปีที่มีอธิกมาส จะตรงกับวันที่ 21 ธันวาคม) ในยุคโบราณชาวจีนจะเรียกวัน ๆ นี้ว่า เฉี่ยงจี่ (สุดยาว) เป็นหลักการโคจรของพระอาทิตย์ ในแต่ละปี ภายหลังฤดูสารทชิวฮุง (เทศกาลกินเจ) ในเดือนตุลาคมแล้ว พระอาทิตย์เริ่มเคลื่อนลงสู่ทางทิศใต้ ถึงเส้นแวงที่ 23 องศา 26 ลิปดา 59 พิลิปดา ดังนั้น ทางขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ดินฟ้าภูมิอากาศย่อมมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ในซีกโลกเหนือแสงแดดในเวลากลางวันนั้นสั้น แต่เวลากลางคืนกลับยาว แต่ที่ทางซีกโลกใต้นั้นกลับตรงกันข้าม วันตังโจ่ยกลับเป็นวันที่พระอาทิตย์โคจรอยู่ทางซีกโลกใต้นานที่สุด ดังนั้น วันนี้ จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า น่ำจี่ (สุดใต้) และเมื่อผ่านพ้นวันนี้ไปแล้ว พระอาทิตย์ก็จะเริ่มโคจรตามปกติสู่ทางด้านทิศเหนือ วันเวลายามกลางวันก็จะเริ่มต้นยาวขึ้นตามลำดับ วันตังโจ่ย จึงถือเป็นวันตายตัวของวันที่ 22 หรือวันที่ 21 ธันวาคม ตามปฏิทินทางสุริยคติสากล แต่สำหรับในปฏิทินจีน ได้ใช้หลักตามจันทรคติ ดังนั้น เมื่อถือตามหลักของปฏิทินจีน วันตังโจ่ย จึงไม่มีการตายตัวทุก ๆ ปี แต่จะตรงกับเดือน 11 ตามปฏิทินจีน (เดือนธันวาคม) ซึ่งเรียกว่า เกี๋ยวง๊วย ในยุคโบราณ ชาวจีนให้ความสำคัญกับเทศกาลตังโจ่ยไม่แพ้วันตรุษจีน เพราะถือเสมือนเทศกาลสิ้นปี ผู้คนจะปิดร้านรวงและบ้านเรือน ทำบุญตามวัดหรือไหว้เจ้า เอกลักษณ์ที่สำคัญในเทศกาลนี้ คือ ผู้คนจะปั้นและกินขนมที่มีลักษณะคล้ายขนมบัวลอยของไทย (ออกเสียงสำเนียงแต้จิ๋วว่า อี๊) ซึ่งทำจากแป้งและต้มกับน้ำเชื่อม เพื่อเพิ่มความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย ในภูมิภาคแต่ละที่ของจีนจะกินขนมชนิดนี้และมีชื่อเรียกแตกต่างออกไป เช่น ทางเหนือจะกินเกี๊ยวน้ำ ทางใต้จะกินขนมชนิดนี้ที่มีลูกใหญ่และเรียกว่า "ถ่างหยวน" (Tangyuan, 湯圓) โดยมีความเชื่อว่า เมื่อรับประทานแล้วคนในครอบครัวจะรักผูกพันกันยิ่งขึ้น เพราะเมื่อถึงเทศกาลนี้แล้ว ญาติพี่น้องที่จากไปอยู่แต่ละที่ จะหวนคืนกลับบ้านมาอยู่พร้อมหน้ากันอีกครั้ง อีกทั้งยังเชื่อว่าเป็นมงคลเพราะอายุเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปี ดังนั้นเทศกาลนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทศกาลไหว้ขนมบัวลอย ซึ่งประเพณีการรับประทานขนมบัวลอยนี้ก็ยังคงปฏิบัติมาจนถึงคงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เหมายันและเทศกาลตังโจ่ย · ดูเพิ่มเติม »

2012 วันสิ้นโลก

2012 วันสิ้นโลก (2012) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวหายนะและวันสิ้นโลก อำนวยการสร้างโดยโรแลนด์ เอ็มเมอริค นำแสดงโดย จอห์น คูแซก อมานดา พีท แดนนี่ กลอเวอร์ ทันดี นิวตัน โอลิเวอร์ แพลท ชิเวเทล อีจีโอฟอร์ วู้ดดี้ ฮาร์เรลสัน ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกเผยแพร่โดยค่ายหนังโคลัมเบียพิกเจอส์ โดยที่การถ่ายทำภาพยนตร์เริ่มต้นในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: เหมายันและ2012 วันสิ้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เหมายันและ22 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ทักษิณายันตะวันอ้อมข้าว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »