เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เหตุการณ์ 6 ตุลา

ดัชนี เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M.

สารบัญ

  1. 153 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยชัย ราชวัตรชาญวิทย์ เกษตรศิริบางกอกโพสต์บุญสนอง บุณโยทยานบุญส่ง ชเลธรชนะ รุ่งแสงฟ้าใส ใจชื่นบานพ.ศ. 2519พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคกิจสังคมพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิติศักดิ์ กิตฺติวุฑฺโฒ)พันศักดิ์ วิญญรัตน์พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทรพินิจ จารุสมบัติพีระศักดิ์ หินเมืองเก่าพงษ์เทพ กระโดนชำนาญกบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยการุณ ใสงามการเมืองฝ่ายขวาการเมืองไทยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533กุลศักดิ์ เรืองคงเกียรติภาพยนตร์ไทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยคอร์เนลมานิต ศรีวานิชภูมิมนัส เศียรสิงห์ยังบาวยิ้มกลางสายฝนรวี โดมพระจันทร์รัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รายชื่อของการสังหารหมู่ในประเทศไทยลูกเสือชาวบ้านวรชัย เหมะวัยอลวนวัฒน์ วรรลยางกูรวิมล เจียมเจริญ... ขยายดัชนี (103 มากกว่า) »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและชวน หลีกภัย

ชัย ราชวัตร

การ์ตูนล้อการเมือง ชุด ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตีพิมพ์ในไทยรัฐ ผลงานที่สร้างชื่อให้แก่ชัย ราชวัตร ชัย ราชวัตร เป็นนามปากกาของ นักวาดการ์ตูนชาวไทย มีผลงานเป็นที่รู้จักกันคือ ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน โดย เป็นการ์ตูนรายวันตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ มีบทบาทเป็นนักเขียนในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและชัย ราชวัตร

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและชาญวิทย์ เกษตรศิริ

บางกอกโพสต์

งกอกโพสต์ (Bangkok Post) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ของบางกอกโพสต์ บางกอกโพสต์ ตีพิมพ์และออกจำหน่ายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด ซึ่งบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ และถือว่าเป็นผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ฉบับนี้คือ นาวาตรีอเล็กซานเดอร์ วิลเลี่ยม แมคโดนัล นายทหารชาวอเมริกัน ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เพื่อปฏิบัติการร่วมกับขบวนการเสรีไทย ทั้งนี้ ก่อนที่จะรับราชการทหารนั้น นาวาตรีแมคโดนัล มีอาชีพเป็นนักหนังสือพิมพ์มาก่อน จากนั้น จึงขายกิจการแก่นักลงทุนชาวเยอรมัน ต่อมา ลอร์ดทอมสัน ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์ และหัวอื่นๆ อีกกว่า 150 ฉบับทั่วโลก ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทฯ เกือบทั้งหมด พร้อมเข้าบริหาร จนกระทั่งเดือนธันวาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและบางกอกโพสต์

บุญสนอง บุณโยทยาน

ญสนอง บุณโยทยาน อดีตหัวหน้าแผนกวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่วมก่อตั้งและเลขาธิการพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย บุญสนอง บุณโยทยาน หรือ ดร.บุญสนอง บุณโยทยาน ถูกลอบสังหารเสียชีวิตเมื่อเวลาประมาณ 1.30 น.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและบุญสนอง บุณโยทยาน

บุญส่ง ชเลธร

นายบุญส่ง ชเลธร ปัจจุบันเป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จบการศึกษาระดับปริญญาตรีการศึกษาเบื้องต้น จากวิทยาลัยครูสวนสุนันทา, ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายบุญส่ง มีชื่อเสียงมาจากการเป็นนักศึกษาที่ทำกิจกรรมทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและบุญส่ง ชเลธร

ชนะ รุ่งแสง

นะ รุ่งแสง อดีตนักการเมืองสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ (ส.ส.) และนักธุรกิจการธนาคารชาวไทย นายชนะเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเป็นทายาทตระกูลคหบดีชาวนาตำบลบางนา ซึ่งปัจจุบันคือ เขตบางนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ ถนนสุขุมวิท (สี่แยกบางนา), ถนนสุขุมวิท 103, ถนนสุขุมวิท 105, ถนนสรรพาวุธ, สองฝั่งคลองบางนา และบริเวณตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเข้าสู่แวดวงธุรกิจด้วยการเป็นผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ จากนั้นในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและชนะ รุ่งแสง

ฟ้าใส ใจชื่นบาน

ฟ้าใส ใจชื่นบาน เป็นภาพยนตร์รัก-ตลก ที่ออกฉายในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและฟ้าใส ใจชื่นบาน

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพ.ศ. 2519

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

รรคพลังประชาชน (อักษรย่อ: พปช. People Power Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ช่วงก่อนการเข้าร่วมของกลุ่มไทยรักไทย เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพรรคกิจสังคม

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิติศักดิ์ กิตฺติวุฑฺโฒ)

ระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิติศักดิ์ กิตฺติวุฑฺโฒ) หรือที่เป็นที่รู้จักดีในนาม กิตติวุฑโฒภิกขุ (นามเดิม: กิติศักดิ์ เจริญสถาพร) อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าอาวาสวัดจิตตภาวัน จังหวัดชลบุรี.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพระเทพกิตติปัญญาคุณ (กิติศักดิ์ กิตฺติวุฑฺโฒ)

พันศักดิ์ วิญญรัตน์

นายพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านโยบายเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พ.ต.ท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพันศักดิ์ วิญญรัตน์

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร (เกิด 23 ธันวาคม พ.ศ. 2501) หรือชื่อเมื่อเกิดว่า พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา และชื่อเล่นว่า แหวว เป็นข้าราชการชาวไทย เป็นอาจารย์วิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเป็นนักเคลื่อนไหวและนักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพินิจ จารุสมบัติ

พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า

นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ

งษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักร้อง, นักดนตรีและกวีในแนวเพื่อชีวิต เจ้าของฉายา กวีศรีชาวไร่ เป็นสมาชิกคนหนึ่งของวงดนตรีเพื่อชีวิตคาราวาน ยุคเริ่มต้น รวมทั้งได้หนีเข้าป่าไปพร้อมกับคาราวาน และนักศึกษาในยุค 6 ตุลา พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ

กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520

กบฏ 26 มีนาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและกบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยเป็นสงครามกองโจรที่กินเวลาตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2526 สู้รบกันระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และรัฐบาลไทยเป็นหลัก สงครามเสื่อมลงในปี 2523 หลังรัฐบาลประกาศนิรโทษกรรม และในปี 2526 พคท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการุณ ใสงาม

การเมืองฝ่ายขวา

ฝ่ายขวา หมายถึง กลุ่มอนุรักษนิยม เป็นกลุ่มที่มีแนวคิดว่าการปกครองโดยการกระจายอำนาจแบบเท่าเทียมจะไม่สามารถทำได้ เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าการปกครองเป็นเรื่องของชนชั้นนำ หรืออภิสิทธิ์ชนเท่านั้น และยังเป็นพวกต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ เป็นแนวคิดอำนาจนิยม ซึ่งแนวคิดนี้จะตรงข้ามกับฝ่ายซ้าย แนวคิดทางเศรษฐกิจของฝ่ายขวา คือ ไม่ต้องการให้มีการตั้งสหภาพแรงงาน เพราะคิดว่าเป็นภัยทำให้แรงงานมีอำนาจต่อรองกับบริษัท ซึ่งฝ่ายขวาไม่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว โดยฝ่ายซ้าย มองว่าในการตั้งสหภาพแรงงานนั้น เป็นการสร้างเศรษฐกิจที่ทุกคนมีส่วนร่วม คำว่าฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวาในทางการเมือง เริ่มใช้มาตั้งแต่ยุคการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่มีการแบ่งพื้นที่การนั่งประชุมในสภาสมัชชาแห่งชาติ โดยตัวแทนของกลุ่มชนชั้นกรรมกร ชาวนา ชาวไร่ จะนั่งอยู่ทางซ้ายของประธานสมัชชา และฝ่ายตัวแทนของขุนนาง ทหาร นักบวช จะนั่งทางขวามือของประธานฯ ทำให้เป็นธรรมเนียมเรียกฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา ตั้งแต่นั้นม.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการเมืองฝ่ายขวา

การเมืองไทย

การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการเมืองไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533

กุลศักดิ์ เรืองคงเกียรติ

ัชกรกุลศักดิ์ เรืองคงเกียรติ หรือ จิ้น กรรมาชน หัวหน้าวง “กรรมาชน” ซึ่งเป็นวงดนตรีเพื่อชีวิต ที่ก่อเกิดจากนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ในช่วง เหตุการณ์ 14 ตุลา จิ้น เกิดที่กรุงเทพ เรียนชั้นมัธยมศีกษาที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เริ่มเล่นดนตรีครั้งแรกในวงดุริยางค์ของโรงเรียน ต่อมาได้เข้าเรียนในระดับอุดมศึกษาที่คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2516 และได้เข้าร่วมในวงดนตรี “ลูกทุ่งวิดยา-มหิดล” จนกระทั่งในช่วงปิดเทอมเดือนมีนาคมปี 2517 ได้มีโอกาสไปออกค่ายในโครงการเผยแพร่ประชาธิปไตย ที่ อำเภอท่าตะโก นครสวรรค์ จึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะทำงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม หลังจากกลับมาจึงรวมวงในรูปแบบใหม่ โดยมี องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลสนับสนุน และได้เล่นเปิดวงครั้งแรกในงาน 14 ตุลาคม 2517 ที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยใช้ชื่อวงว่า “กรรมาชน” อันนำมาจากชื่อหนังสือที่แจกหน้าหอใหญ่ในงานนั่นเอง วงกรรมาชนมีการบันทึกเทปครั้งแรก ประมาณปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและกุลศักดิ์ เรืองคงเกียรติ

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและภาพยนตร์ไทย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยคอร์เนล

มหาวิทยาลัยคอร์เนล (Cornell University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในไอวีลีกตั้งอยู่ที่เมืองอิทาคา ในรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและมหาวิทยาลัยคอร์เนล

มานิต ศรีวานิชภูมิ

มานิต ศรีวานิชภูมิ (27 กันยายน พ.ศ. 2504 -) เป็นนักถ่ายภาพ นักเขียน ศิลปินอิสระแนวมโนทัศนศิลป์ (Conceptual Art) และนักเคลื่อนไหวทางสังคม มีผลงานที่เป็นที่รู้จัก คือ ชุดภาพถ่าย "Pink Man" ที่มีภาพชายร่างท้วม สวมสูทสีชมพูและรถเข็นซูเปอร์มาร์เกตแสดงโดย สมพงษ์ ทวี ศิลปิน performance art นักเขียน และกวี ถ่ายตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วโลก และภาพชุดพิงค์แมนที่เสียดสีการเมืองและสังคมไทย โดยมีทั้งภาพถ่ายในปัจจุบัน และภาพรีทัชจากภาพถ่ายความรุนแรงทางการเมืองไทยในเหตุการณ์ 6 ตุลา มานิตเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒhttp://www.siamesesmile2008.com/main/thai/artists_detail.php?id.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและมานิต ศรีวานิชภูมิ

มนัส เศียรสิงห์

มนัส เศียรสิงห์ หรือ แดง (15 ตุลาคม พ.ศ. 2497 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) ศิลปิน นักวาดภาพ เป็นนักกิจกรรมในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา และถูกกระสุนปืนเสียชีวิต บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในช่วงเหตุการณ์ 6 ตุลา มนัส เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของนายมณี เศียรสิงห์ และนางสงกรานต์ เกาะทอง สิงห์สนามหลวงสนทนา, เนชั่นสุดสัปดาห์, 2 มิถุนายน 2549 เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพที่ โรงเรียนกรุงเทพวิจิตรศิลป์ และเข้าร่วมชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยและเดินขบวน ช่วงก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและมนัส เศียรสิงห์

ยังบาว

ังบาว (Young Bao The Movie) เป็นภาพยนตร์ไทยที่เข้าฉายเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและยังบาว

ยิ้มกลางสายฝน

้มกลางสายฝน เป็นบทเพลงหนึ่งของคาราวาน ที่เขียนขึ้นเมื่อเข้าสู่ป่าหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา แต่งเนื้อร้อง โดย สุรชัย จันทิมาธร เป็นเพลงช้า ความหมายลึกซึ้ง โดยเปรียบเทียบห่ากระสุนปืนที่สาดใส่เหมือนสายฝน ยิ้มกลางสายฝน ได้ถูกนำกลับมาทำดนตรีใหม่และขับร้องใหม่อีกหลายครั้ง เช่น อรวี สัจจานนท์, พงษ์สิทธิ์ คำภีร.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและยิ้มกลางสายฝน

รวี โดมพระจันทร์

รวี โดมพระจันทร์ (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 28 ตุลาคม พ.ศ. 2532) คือนามปากกาของ "ยุทธพงศ์ ภูริสัมบรรณ" ซึ่งได้มีชื่อเสียงในช่วง 14 ตุลา และ 6 ตุลา จากการถ่ายทอดเรื่องราวความอยุติธรรมของสังคมและรัฐบาลเผด็จการ ผ่านทางบทกลอนที่ใช้ภาษาที่เรียบง่าย แต่เต็มไปด้วยความรู้สึกคับแค้นและกระตุ้นให้คนมีพลังลุกขึ้นสู้ไม่ยอมจำนนต่ออำนาจรั.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรวี โดมพระจันทร์

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

รัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี

กิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเขื่อนข้าง ตำบลหนองยาว อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี โดยมีชื่อเดิมว่า หรือ และต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อและนามสกุลใหม่ เป็น จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสระบุรีวิทยาคม เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส กรุงเทพฯ จากนั้นได้เข้าสู่ขบวนการนักศึกษา จากการขอสมัครเป็นเป็นผู้ปฏิบัติงานของศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย ซึ่งขณะนั้นอยู่ที่ตึกสันทนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นหนึ่งในคนเดือนตุลา ที่มีบทบาทสำคัญ โดยก่อนหน้านั้นเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนักเรียนในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัชต์ยุตม์ ศิรโยธินภักดี

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหม.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหาร 20 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อของการสังหารหมู่ในประเทศไทย

ข้อมูลต่อไปนี้เป็นรายชื่อเหตุการณ์ การสังหารหมู่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (ตัวเลขนี้อาจเป็นการประมาณ) หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ไทย หมวดหมู่:การสังหารหมู่ หมวดหมู่:รายชื่อของการสังหารหมู่แบ่งตามประเทศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและรายชื่อของการสังหารหมู่ในประเทศไทย

ลูกเสือชาวบ้าน

ลูกเสือชาวบ้าน เป็นกลุ่มของชาวบ้านที่มาทำประโยชน์ให้แก่สังคมผ่านการลูกเสือ โดยที่มีการทำงานหรือการเข้าค่ายต่าง ๆ คล้ายกับลูกเสือที่มีการเรียนการสอนตามโรงเรียน เริ่มต้นในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและลูกเสือชาวบ้าน

วรชัย เหมะ

นายวรชัย เหมะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวรชัย เหมะ

วัยอลวน

วัยอลวน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวัยอลวน

วัฒน์ วรรลยางกูร

วัฒน์ วรรลยางกูร วัฒน์ วรรลยางกูร (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2498) เป็นนักเขียนชาวไทย เกิดที่ตำบลตะลุง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี วัฒน์ปฏิเสธอำนาจของคณะรัฐประหาร..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวัฒน์ วรรลยางกูร

วิมล เจียมเจริญ

ทมยันตี (ทะ-มะ-ยัน-ตี) เป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2480—ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์นวนิยาย ผลงาน อาทิ คู่กรรม, ทวิภพ, ค่าของคน, อุบัติเหตุ, พ่อปลาไหล, ล่า, เวียงกุมกาม, นากพัทธ์, พิษสวาท, อนธการ, คำมั่นสัญญา, พี่เลี้ยง, จิตา และอื่นๆ ซึ่งมีการสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายยุคหลายสมัย วิมล ได้ชื่อว่ามีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับฝ่ายทหาร และมักสนับสนุนระบอบทหาร โดยเฉพาะในช่วง เหตุการณ์ 6 ตุล..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวิมล เจียมเจริญ

วิทยา แก้วภราดัย

นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวิทยา แก้วภราดัย

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวิทยากร เชียงกูล

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์

วิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์วิโรจน์ เป็นคนไทยเชื้อสายจีนแซ่ตั้ง จบการมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดราชาธิวาสจบการศึกษามหาวิทยาลัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เอกประวัติศาสตร์) ระหว่างที่ศึกษาอยู่นั้นเคยเข้าร่วมการเคลื่อนไหวกับขบวนการนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเหตุการณ์ 6 ตุลา เมื่อปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์

วีระ สมความคิด

วีระ สมความคิด (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500—) ประธานกลุ่มพิทักษ์สิทธิเสรีภาพของประชาชน และเลขาธิการเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน (คปต.).

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวีระ สมความคิด

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวีระกานต์ มุสิกพงศ์

วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์

วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ หรือ มด เกิดในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีนที่บางรัก เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า อางี้ เริ่มทำกิจกรรมเข้าร่วมการเรียกร้องประชาธิปไตย และเคลื่อนไหวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ยังเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม ช่วงก่อนเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลา วนิดาเป็นแรงหนุนและเป็นเบื้องหลังคนสำคัญ ในการเรียกร้องต่อสู้ของคนงานโรงงานฮาร่า ที่ใช้เวลาชุมนุมถึง 5 เดือน จนในที่สุดขบวนการต่อสู้นั้น พัฒนาจนถึงขั้นคนงานโรงงานฮาร่าสามารถยึดโรงงานแล้วผลิตสินค้าออกมาขายได้เอง ระหว่างเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ทำให้ต้องหลบไปอยู่ในเขตป่าแถวภาคใต้ประมาณ 4 ปี และไปอยู่ป่าภาคอีสานอีก 2-3 เดือน หลังจากนั้นจึงกลับมาเรียนต่อที่ธรรมศาสตร์อีกครั้งในปี 2524 เรียนอยู่ 3 ปี จึงสำเร็จการศึกษา วนิดาเริ่มเข้ามาทำงานด้านองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ด้วยการร่วมรณรงค์กับขบวนการสันติภาพต่อต้านอาวุธนิวเคลียร์ เข้าร่วมขบวนการเชื่อมสันติภาพไทยลาว เริ่มทำงานในภาคประชาชนอย่างจริงจัง ตั้งแต่ปี 2532-2533 กับโครงการฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ งานชิ้นแรกๆ ที่ทำคือ ทำงานเชิงวิชาการในการคัดค้านการสร้างเขื่อนแก่งกรุง เขื่อนแก่งเสือเต้น จนมาถึงเขื่อนปากมูล และมีบทบาทในการก่อตั้งสมัชชาคนจนร่วมกับองค์กรชาวบ้านทั่วประเทศ ล่าสุดเป็นที่ปรึกษาสมัชชาคนจน วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมตั้งแต่ปี 2547 ก่อนจะจากโลกนี้ไป เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์

ศิลา โคมฉาย

วินัย บุญช่วย นามปากกา ศิลา โคมฉาย วันเกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษาจบมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ก่อนจะมาเรียนต่อที่เรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเป็นช่วงเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ด้วยความเป็นหนอนหนังสือ ประกอบกับมีโอกาสได้คลุกคลีอยู่ในแวดวงของนักอ่านนักเขียน ทำให้เขาเริ่มมีงานเขียนตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมด้วยเรื่องสั้น ก่อนจะมีผลงานทั้ง นวนิยาย ความเรียง สารคดี รายงาน และบทความ เริ่มต้นเขียนหนังสือโดยใช้ชื่อสกุลจริง "วินัย บุญช่วย" แต่พอหลัง 6 ตุลา กลับมาจากป่า ก็เขียนเรื่องสั้นมาจำนวนหนึ่ง 6-7 เรื่อง เอาไปทิ้งไว้ที่มติชน เอาไปฝากเสถียร จันทิมาธร บรรณาธิการเครือมติชนในขณะนั้น แล้วเรื่องสั้นก็ได้ลงหนังสือ "เฟื่องนคร" ขณะนั้นไม่มีนามปากกา บรรณาธิการเสถียรก็ใส่ชื่อ "ศิลา โคมฉาย" นักเขียนที่เขาชอบมีหลายคน แต่ส่วนใหญ่ชอบงานทางเยอรมนีและฝรั่งเศส เขาไม่ค่อยชอบงานด้านฝั่งสหรัฐอเมริกาสักเท่าไหร่ นักเขียนที่ชอบก็มีอาลแบร์ กามูว์, หลู่ ซฺวิ่น, เลโอ ตอลสตอย, ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ส่วนนักเขียนไทยชอบอ่านงานของลาว คำหอม, ศรีบูรพา, นิคม รายยวา ศิลา โคมฉาย เคยอยู่ในวงการสื่อมวลชน ทำให้เขาเขียนหนังสือได้หลากหลาย ตั้งแต่งานวิจารณ์กีฬา วิจารณ์เพลง วิจารณ์หนัง ซึ่งก็จะใช้นามปากกาอื่น ๆ ไปตามสาระของคอลัมน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและศิลา โคมฉาย

ศุภชัย โพธิ์สุ

นายศุภชัย โพธิ์สุ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนม แกนนำกลุ่มเพื่อนเนวิน พรรคภูมิใจไท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและศุภชัย โพธิ์สุ

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

มศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวไทยที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัยโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสมัคร สุนทรเวช

สรรพสิริ วิรยศิริ

รรพสิริ วิรยศิริ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ปัจจุบันคือ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)) อดีตผู้อำนวยการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 (ปัจจุบันคือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) และอดีตผู้อำนวยการ สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสรรพสิริ วิรยศิริ

สล้าง บุนนาค

ล้าง บุนนาค พลตำรวจเอก สล้าง บุนนาค (5 มีนาคม พ.ศ. 2480 — 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) เกิดที่ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ เป็นบุตรของหลวงพินิตพาหนะเวทย์ (พิง) มารดาชื่อ ทองอยู่ (สกุลเดิม ลิมปิทีป) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รับราชการในกรมตำรวจ (สำนักงานตำรวจแห่งชาติในปัจจุบัน) ตำแหน่งที่สำคัญได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธร 12 ผู้บัญชาการศึกษา ผู้ช่วยอธิบดีตำรวจ และรองอธิบดีกรมตำรวจ ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ ตามลำดับ ปัจจุบันเป็นสมาชิกวุฒิสภา ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฏ และเหรียญจักรพรรดิมาลา พลตำรวจเอกสล้าง มีบุตรกับภรรยาชื่อ สุพรรณวดี (สกุลเดิม ชุมดวง) 3 คน ได้แก่ วันจักร.ต.ท.พลจักร แล.ต.ท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสล้าง บุนนาค

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสัญญา ธรรมศักดิ์

สิทธิ จิรโรจน์

ลเอก สิทธิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย พล.อ.สิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตำบลบางหว้า อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรชายของนายทองดีและนางสร้อย จิรโรจน์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัวและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนเทคนิคทหารบก (รุ่นเดียวกับ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี 4 สมัยและประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน) โดยเรียนดีเคยสอบได้ที่ 1 โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ 21 และวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 5 ชีวิตราชการทหารบกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสิทธิ จิรโรจน์

สุพัฒน์ สุธาธรรม

ตราจารย์พิเศษ สุพัฒน์ สุธาธรรม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และในรัฐบาลพล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุพัฒน์ สุธาธรรม

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุรชัย จันทิมาธร

สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์

รชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ มีชื่อเดิมว่า สุรชัย แซ่ด่าน เป็นนักเคลื่อนไหว และอดีตนักโทษการเมืองคดีคอมมิวนิสต์คนสุดท้ายของประเทศไทย เป็นอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มแดง.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์

สุรินทร์ มาศดิตถ์

นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นบิดาของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุรินทร์ มาศดิตถ์

สุวิทย์ วัดหนู

วิทย์ วัดหนู (20 ธันวาคม พ.ศ. 2495 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2550) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย สลัม และคนจนเมือง เคยเป็นเลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.), ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค เลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา มีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุวิทย์ วัดหนู

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุธรรม แสงประทุม

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (28 เมษายน พ.ศ. 2499 – 27 กันยายน พ.ศ. 2560) คือ นักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ อดีตรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

สุตสาย หัสดิน

ลตรี สุตสาย หัสดิน เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ อดีตหัวหน้าขบวนการกระทิงแดง ในช่วงเหตุการณ์ 6 ตุล.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสุตสาย หัสดิน

สีเผือก คนด่านเกวียน

ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสีเผือก คนด่านเกวียน

สงวน พงษ์มณี

งวน พงษ์มณี (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2487) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำพูน เขต 1 และประธานคณะกรรมาธิการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสงวน พงษ์มณี

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์

นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ นายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 18 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนายแพทย์ที่มีผลงานดีเด่นในการบุกเบิกและผลักดันโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า รัฐบาลที่รับเอานโยบายนี้ไปปฏิบัติจริงคือรัฐบาลพรรคไทยรักไทย ใช้ชื่อว่า "30 บาทรักษาทุกโรค" นายแพทย์สงวนเป็นเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คนแรกและดำรงตำแหน่ง 2 สมัยติดกัน จนกระทั่งเสียชีวิต และเป็นประธานชมรมแพทย์ชนบท รุ่นที่ 8 (พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสงวน นิตยารัมภ์พงศ์

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสงัด ชลออยู่

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและสนธิ ลิ้มทองกุล

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

อัมมาร สยามวาลา

ตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 -) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและอัมมาร สยามวาลา

อาคม มกรานนท์

อาคม มกรานนท์ (3 กันยายน พ.ศ. 2474 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง อดีตสมาชิกวุฒิสภา มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีโทรทัสน์สีกองทัพบกช่อง 7ในขณะนั้น เป็นผู้ประกาศข่าวทางโทรทัศน์ รุ่นแรก ๆ ของเมืองไทยและเป็นโฆษกประกาศการรัฐประหารในประเทศไทย ถึง 8 ครั้ง.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและอาคม มกรานนท์

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและอดิศร เพียงเกษ

จารุพงษ์ ทองสินธุ์

รุพงษ์ ทองสินธุ์ เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ผู้สูญหายไปในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 โศกนาฏกรรมครั้งนั้น ได้กลายเป็นตัวแทนของความโหดร้ายในเหตุการณ์ 6 ตุลา เพื่อเป็นการระลึกถึงจารุพงษ์ ชื่อของเขาถูกนำไปเป็นชื่อห้องประชุม "จารุพงษ์ ทองสินธุ์" ของ สภานักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งอยู่ที่ตึกกิจกรรม ท่าพระจันทร์) จารุพงษ์ ชื่อเล่นชื่อ เกี๊ยะ เกิดเมื่อ 7 กันยายน พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและจารุพงษ์ ทองสินธุ์

จาตุรนต์ ฉายแสง

ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและจาตุรนต์ ฉายแสง

จิระนันท์ พิตรปรีชา

ระนันท์ ประเสริฐกุล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อสกุลเดิมว่า จิระนันท์ พิตรปรีชา (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปัจจุบันเป็นนักเขียน และผู้จัดทำบทบรรยายภาพยนตร์ ได้รับรางวัลซีไรต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและจิระนันท์ พิตรปรีชา

ธรรมนูญ เทียนเงิน

นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและธรรมนูญ เทียนเงิน

ธิดา ถาวรเศรษฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ธิดา ถาวรเศรษฐ หรือ ธิดา โตจิราการ เป็นนักวิชาการชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทบาทรักษาการประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) สืบจากวีระ มุสิกพงศ์ ในช่วงปลายปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและธิดา ถาวรเศรษฐ

ธงชัย (แก้ความกำกวม)

งชัย โดยศัพท์มีความหมายว่า "ธงอันเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะ" อาจหมายถึง.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและธงชัย (แก้ความกำกวม)

ธงชัย วินิจจะกูล

ตราจารย์ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชาวไทย เกิดและโตที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย อดีตเป็นผู้นำนักศึกษาซึ่งถูกจับกุมในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ต่อมาย้ายไปสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและธงชัย วินิจจะกูล

ถั่งโถมโหมแรงไฟ

ั่งโถมโหมแรงไฟ เป็นบทเพลงปฏิวัติที่เขียนและขับร้องโดย วงดนตรีคาราวาน ซึ่งเขียนขึ้นเมื่อสมาชิกของวงทุกคนเดินทางเข้าป่า หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา เพื่อเข้าร่วมการต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เนื่องจากความกดดันทางการเมืองยุคนั้น คำร้องโดย สุรชัย จันทิมาธร ทำนองโดย สุรชัย จันทิมาธร และทองกราน ทาน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและถั่งโถมโหมแรงไฟ

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและถนอม กิตติขจร

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

ทองปาน

ทองปาน เป็นภาพยนตร์ไทยกึ่งสารคดี ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2519 เรื่องราวเกี่ยวกับชาวนาอีสานที่ได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้างเขื่อนผามอง เพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง โครงการนี้เป็นโครงการของสหรัฐอเมริกาโดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก เป็นเขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทำให้พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเลย หนองคาย หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ จมอยู่ใต้น้ำ ฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์ลอนดอน (London Film Festival) และได้รับรางวัลเกียรติยศ Outstanding Film of Southeast Asia เข้ามาฉายในประเทศไทยครั้งแรกช่วงปลายปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและทองปาน

ขบวนการกระทิงแดง

วนการกระทิงแดง (Red Gaurs Movement) เป็นขบวนการฝ่ายขวาที่มีบทบาททางการเมืองในประเทศไทยหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและขบวนการกระทิงแดง

ขบวนการนวพล

นวพล เป็นขบวนการที่จัดตั้งตามแผนปฏิบัติการของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2517 โดยมี ดร.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและขบวนการนวพล

ขุนทอง เจ้าจะกลับเมื่อฟ้าสาง

right ขุนทองเจ้าจะกลับเมื่อฟ้าสาง เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้น ของ อัศศิริ ธรรมโชติ โดยหนังสือเล่มดังกล่าวรวมเรื่องสั้นทั้งหมด 13 เรื่องของผู้เขียนคนเดียวกัน รวมเล่มตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและขุนทอง เจ้าจะกลับเมื่อฟ้าสาง

ณรงค์ กิตติขจร

ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและณรงค์ กิตติขจร

ดาวคะนอง (ภาพยนตร์)

วคะนอง (By the time it gets dark) เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดยอโนชา สุวิชากรพงศ์ นำแสดงโดยวิศรา วิจิตรวาทการ, อารักษ์ อมรศุภศิริ, อภิญญา สกุลเจริญสุข, เพ็ญพักตร์ ศิริกุล, รัศมี เผ่าเหลืองทอง และ อัจฉรา สุวรรณ์ เริ่มฉายรอบปฐมทัศน์โลกที่โลการ์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากนั้นออกฉายที่ประเทศเกาหลีใต้, อังกฤษ, แคนาดา และฮ่องกง ฯลฯ ส่วนในประเทศไทย อโนชาเลือกจะจัดฉายหนังรอบพิเศษสำหรับแขกรับเชิญเฉพาะกลุ่มในคืนวันที่ 6 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและดาวคะนอง (ภาพยนตร์)

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและดำรง ลัทธพิพัฒน์

คริสต์ทศวรรษ 1970

..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคริสต์ทศวรรษ 1970

ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

วามเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ เป็นงานชิ้นสุดท้ายของ จิตร ภูมิศักดิ์ งานค้นคว้านี้สันนิษฐานที่มาของคำต่างๆ โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะเชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูปภาษา ถือเป็นงานทางนิรุกติศาสตร์และภาษาศาสตร์สังคมที่มีความโดดเด่นอย่างมาก งานค้นคว้าที่ยังเขียนไม่เสร็จนี้ จิตรใช้เวลาเขียนอยู่ประมาณ 7 ปี ในขณะที่ถูกจองจำอยู่ในคุกลาดยาว ช่วง พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

คอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

ประเทศสยามเริ่มมีความกังวลเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 7 โดยแก้ไขกฎหมายลักษณะอาญาให้ "การสั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจเพื่อให้บังเกิดความเกลียดชังดูหมิ่นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชั้น" เป็นความผิด ปัญหาภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต์ค่อยรุนแรงขึ้นเป็นลำดับและหมดไปแล้วในปัจจุบัน หลังการยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ใน..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

คาราวาน (วงดนตรี)

ราวาน เป็นวงดนตรีในแนวเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย และ เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตวงแรกในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคาราวาน (วงดนตรี)

คำนูณ สิทธิสมาน

ำนูณ สิทธิสมาน คำนูณ สิทธิสมาน (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างที่เรียนมีบทบาทเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศนท.) ในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคำนูณ สิทธิสมาน

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 เข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 ของไทย (25 กันยายน พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

คนกับควาย

ปกด้านหลัง คาราวานเล่นดนตรีอยู่บนเวทีชั่วคราว บนท้ายรถบรรทุก คนกับควาย เป็นเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของวงคาราวาน ขับร้องโดย สุรชัย จันทิมาธร จากทำนองเพลง "Master of War" ของ บ็อบ ไดแลน แต่งคำร้องภาษาไทยโดย สมคิด สิงสง สุรชัย จันทิมาธร ได้ฟังเพลง Master of War และเพลงอื่นๆ ของบ็อบ ไดแลน เป็นครั้งแรกจากแผ่นเสียงที่บ้านของเสถียร จันทิมาธร และชื่นชอบทำนอง จนนำมาหัดเล่นอยู่เสมอ วันหนึ่งสมคิด สิงสง ที่พักอยู่ด้วยกันได้ยินเข้าจึงชักชวนให้แต่งคำร้องภาษาไทย โดยสมคิดเล่นไวโอลิน สุรชัยเล่นกีตาร์ ต่อมา วิสา คัญทัพ ได้ขอร่วมแต่งด้วย จนสำเร็จเป็นเพลงในที่สุด เพลงคนกับควาย ได้แสดงสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก โดยสุรชัย จันทิมาธร และวิสา คัญทัพ ในงานแต่งงานของวีระประวัติ วงศ์พัวพันธุ์ เพื่อนนักเขียนในกลุ่ม "พระจันทร์เสี้ยว" และเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้าง จากการแสดงในงานนิทรรศการเพลงเพื่อชีวิต ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสุรชัย และวีระศักดิ์ สุนทรศรี ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ในปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคนกับควาย

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและคนเดือนตุลา

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประพันธ์ คูณมี

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประภาส จารุเสถียร

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประวัติพรรคประชาธิปัตย์

ประหยัด ศ. นาคะนาท

ลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประหยั.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประหยัด ศ. นาคะนาท

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประเทศไทย

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2519

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2519 ในประเทศไท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประเทศไทยใน พ.ศ. 2519

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2543 ในประเทศไท.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและประเทศไทยใน พ.ศ. 2543

ปาล พนมยงค์

ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและปาล พนมยงค์

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและป๋วย อึ๊งภากรณ์

นาฏกรรมบนลานกว้าง

นาฏกรรมบนลานกว้าง เป็นวรรณกรรมได้รับรางวัลซีไรต์ พิมพ์ในปี 2526 เป็นวรรณกรรมประเภทร้อยกรอง โดดเด่นด้วยความหลากหลายของฉันทลักษณ์ และทำนองเสียงที่แตกต่างจากบทกวีร่วมสมัย เขียนเป็นกลอนแปด 11 บท และแทรกร่วมกับฉันทลักษณ์อื่นอีก 11 บท นอกจากนี้ยังประกอบด้วยโคลงสาร สารโศลก 6 เพลงขอทาน เพลงช้าเจ้าหงส์ เพลงโคราช กลอนลำอิสาน และพญา เป็นเรื่องร่วมสมัยที่ย้อนยุกต์ประวัติศาสตร์มาพรรณาบ้าง เนื้อหาของบทกวีคือการประณามชนชั้นสูงหรือผู้มีอำนาจในสังคม โดยโยงภาพความทุกข์ทรมานและความแค้นของคน ยากจน ผู้ด้อยโอกาสกับเหตุการณ์ 14 ตุลาคม และ เหตุการณ์ 6 ตุลาคม เข้ามาเปรียบเทียบเชิงอุปมา ผู้เขียนสามารถประสมประสานถ้อยคำ สำนวนทั้งเก่าและใหม่เข้าในโครงสร้างอันสมดุลแบบเก่า คำที่เลือกใช้มีเสียงและความหมายเหมาะกับปริบทอย่างมาก.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและนาฏกรรมบนลานกว้าง

แยกคอกวัว

แยกคอกวัว (อังกฤษ: Khok Wua Intersection) เป็นสี่แยกที่เป็นจุดตัดระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนตะนาว ตั้งอยู่ในแขวงบวรนิเวศ และแขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและแยกคอกวัว

แยกเกียกกาย

แยกเกียกกาย (Kiakkai Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1, ถนนทหาร และถนนสามเสน ในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร คำว่า "เกียกกาย" เป็นศัพท์โบราณที่ใช้เรียกกองทหารส่วนดูแลเสบียง หรือเทียบได้กับกองพลาธิการ ในยุคปัจจุบัน รอบ ๆ แยกเกียกกายเป็นแหล่งที่ตั้งของค่ายทหารต่าง ๆ ในส่วนของกองทัพบก เช่น กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารม้าที่ 4 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์, กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน, กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ สถานีวิทยุกระจายเสียง ศูนย์การทหารม้า (วิทยุยานเกราะ) เป็นต้น ซึ่งหลายแห่งได้เป็นหน่วยที่ได้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ความเปลี่ยนแปลงของประเทศชาติในหลายยุคสมัย เช่น การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและแยกเกียกกาย

แสง ธรรมดา

แสง ธรรมดา มีชื่อจริงว่า แสงธรรมดา กิติเสถียรพร เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงเพื่อชีวิต ชาวจังหวัดสงขลา มีชื่อเสียงจากการนำเพลงเพื่อชีวิตไปประยุกต์กับคำร้องและสำเนียงภาษาปักษ์ใต้ มีชื่อเสียงจากเพลง "นายหัวครก" (หัวครก เป็นภาษาใต้ แปลว่า มะม่วงหิมพานต์) จบการศึกษาแผนกวิชาสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคภาคใต้ (ปัจจุบันคือ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย) แสง ธรรมดา เคยร่วมต่อสู้ทางการเมืองในเหตุการณ์ 6 ตุลา เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ และการขับไล่ทักษิณ ชินวัตร จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของร้านอาหารและร้องดนตรีเพื่อชีวิต ชื่อร้าน "บ้านนายหัว" ที่จังหวัดสงขลา เป็นผู้ร่วมจัดตั้งเครือข่ายศิลปินพันธมิตรภาคใต้ ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและแสง ธรรมดา

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและแผนฟินแลนด์

ใจ อึ๊งภากรณ์

ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ (Giles Ji Ungpakorn; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักเคลื่อนไหวทางวิชาการและการเมืองสัญชาติไทย-อังกฤษ เดิมเคยเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร เพื่อหลบหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชาน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและใจ อึ๊งภากรณ์

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม

โจชัว หว่อง

ัว หว่อง (เกิดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1996) เป็นนักกิจกรรมเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคเยาวชน และเป็นเลขาธิการพรรคเดโมซิสโต ก่อนหน้านั้น โจชัว หว่อง เคยก่อตั้งและเป็นที่ปรึกษา กลุ่มกิจกรรมสคูลาริซึม ในประเทศฮ่องกง ในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและโจชัว หว่อง

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและโทรทัศน์ในประเทศไทย

ไพศาล พืชมงคล

ล พืชมงคล ไพศาล พืชมงคล (9 ตุลาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นกรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) อุปนายกและเลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ) นักกฎหมายชาวไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไพศาล พืชมงคล

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

ไรน่าน อรุณรังษี

รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไรน่าน อรุณรังษี

ไทยรัฐ

ทยรัฐ (Thai Rath) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย นำเสนอข่าวทั่วไป ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดในประเทศไทย จากการสำรวจเมื่อปี พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไทยรัฐ

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไทยเชื้อสายจีน

ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและไตรรงค์ สุวรรณคีรี

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

เชคสเปียร์ต้องตาย

ปียร์ต้องตาย (Shakespeare Must Die) เป็นภาพยนตร์นอกกระแส เขียนบทและกำกับโดยสมานรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ หรือ อิ๋ง เค ดัดแปลงจากบทละครโศกนาฏกรรมแม็คเบ็ธ ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดยมีการดัดแปลงเพื่อให้เป็นภาษาภาพยนตร์ และเข้ากับบริบทของวัฒนธรรมไทย เชคสเปียร์ต้องตายใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบละครซ้อนละคร ดำเนินเรื่องควบคู่กันไป มีเหตุการณ์สองส่วน คือละครเวที และโลกภายนอกในเหตุการณ์ร่วมสมัย มีตัวละครนำชื่อ "เมฆเด็ด" (Mekhdeth) เป็นขุนนางที่ล้มอำนาจกษัตริย์ และสถาปนาตัวเองเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ เมฆเด็ดลุ่มหลงในอำนาจ เกิดหวาดระแวงว่าจะถูกล้มล้าง จนต้องฆ่าใครต่อใครเพื่อจะได้อยู่ในอำนาจต่อไป เรื่องราวทั้งหมดเล่าผ่านมุมมองของตัวละครที่ชื่อว่า "บุญรอด" สมานรัชฎ์เรียกภาพยนตร์เรื่องนี้ว่าเป็น "หนังผีต้นทุนต่ำ" สร้างจากเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมภาพยนตร์ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ภายใต้โครงการไทยเข้มแข็ง มติชน, 3 เมษายน..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเชคสเปียร์ต้องตาย

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเพลงเพื่อชีวิต

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

ลงเถื่อนแห่งสถาบัน หรือที่นิยมเรียกว่า ฉันจึงมาหาความหมาย เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา "หัวก้าวหน้า" ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เกษียร เตชะพีระ

ตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ (เกิด 23 ธันวาคม 2500) เดิมชื่อ โต๊ะฮง แซ่แต้ บิดามารดา เป็นคนจีนแต้จิ๋ว เกิดและเติบโตย่านเยาวราชและเจริญกรุง เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเกษียร เตชะพีระ

เลิศ ชินวัตร

ลิศ ชินวัตร (พ.ศ. 2462-23 ตุลาคม พ.ศ. 2540) อดีตนักการเมืองชาวเชียงใหม่ เป็นบิดาของ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 23 และนายกรัฐมนตรีคนที่ 28.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเลิศ ชินวัตร

เศก ศักดิ์สิทธิ์

ก ศักดิ์สิทธิ์ มีชื่อจริงว่า ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลง แนวเพลงเพื่อชีวิต และลูกทุ่ง เป็นชาวจังหวัดหนองคาย เริ่มเล่นดนตรีตั้งแต..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเศก ศักดิ์สิทธิ์

เสถียร จันทิมาธร

นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเสถียร จันทิมาธร

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเหวง โตจิราการ

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเหตุการณ์ 14 ตุลา

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเอนก เหล่าธรรมทัศน์

เทพชัย หย่อง

ทพชัย หย่อง เทพชัย หย่อง ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ประธานสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ประธานกรรมการบริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรอดีตผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสคนแรก อดีตบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตพิธีกรร่วมรายการ สยามเช้านี้ อดีตผู้อำนวยการฝ่ายข่าวไอทีวี โดยเป็นผู้ประกาศข่าวสถานีโทรทัศน์ไอทีวี คู่แรกร่วมกับกิตติ สิงหาปั.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเทพชัย หย่อง

เดลินิวส์

ลินิวส์ (Daily News) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศ นำเสนอข่าวทั่วไป ก่อตั้งโดย นายแสง เหตระกูล ออกฉบับปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเดลินิวส์

เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)

อะเนชั่น (The Nation) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ซึ่งตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย โดยเป็นฉบับแรกที่มีชาวไทยเป็นเจ้าของ และเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกของเครือเนชั่น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)

เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

อะคิงเนเวอร์สไมลส์ (The King Never Smiles; "กษัตริย์ไม่เคยยิ้ม") เป็นหนังสือว่าด้วยพระราชประวัติอย่างไม่เป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและราชวงศ์จักรี เขียนโดย พอล แฮนด์ลีย์ (Paul Handley) นักเขียนชาวอเมริกัน จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเยล (Yale University Press) และออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน 2549 หนังสือนี้ทางการไทยจัดให้เป็น "หนังสือต้องห้าม" อย่างไม่เป็นทางการ ตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์ โดยมิได้มีการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการในกฎหมายว่าด้วยการจดแจ้งการพิมพ์ ต่อมามีหนังสือกองบัญชาการตำรวจนครบาล ที่ ตช 0016.146/289 ลงวันที่ 18 มกราคม 2551 ว่าหนังสือเล่มนี้เป็น "หนังสือต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร", ประชาไท, 29 มกราคม..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ

ฉลิมชัย มัจฉากล่ำ เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ หรือ พันตรี เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ หรือ "ผู้พันตึ๋ง" เป็นนักโทษประหารชีวิต จากคดีฆาตกรรมผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร เมื่อปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและเฉลิมชัย มัจฉากล่ำ

100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู

รงการ 100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู เป็นโครงการจัดตั้งโดย หอภาพยนตร์แห่งชาติ ซึ่งทั้งภาพยนตร์ไทย 100 เรื่องที่ดูแล้วเกิดปัญญา ดุ จดังบาลีภาษิต ปญญายตถํ วิปสสติ คือ การเห็นเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา ดูดีๆมีปัญญา ดูด้วยปัญญาพาให้เห็นแจ้ง โครงการนี้ จัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ของหอภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นไปเพื่อ ยังให้เกิดปัญญา หอภาพยนตร์แห่งชาติ จึงจัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ทุกค่ำวันศุกร์ ที่ห้องประชุม สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ท่าวาสุกรี และบ่าย 3 โมงวันเสาร์ที่ โรงหนังอลังการ หอภาพยนตร์แห่งชาติ ศาลายา ถนนพุทธมณฑลสาย 5 เรียกชื่อว่า "ภาพยนตร์ปุจฉา-วิสัชนา" ซึ่งเป็นรายการฉายหนังให้ดูแล้วฟังคิดถามตอบ โดยมีพิธีกรและวิทยากรผู้สันทัดกรณีมาร่วมถามร่วมตอบอย่างที่เรียกว่า ปุจฉา - วิสัชนา โดยจะจัดฉายเริ่มจากวันศุกร์แรกของ ปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู

14 ตุลา สงครามประชาชน

14 ตุลา สงครามประชาชน (The Moonhunter) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ14 ตุลา สงครามประชาชน

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ27 มิถุนายน

3 ทรราช

3 ทรราช หมายถึง 3 ผู้มีอำนาจในประเทศไทยช่วงก่อนเหตุการณ์วันมหาวิปโยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้แก่ จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ3 ทรราช

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ5 ตุลาคม

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ดู เหตุการณ์ 6 ตุลาและ6 ตุลาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ 6 ตุลา6 ตุลา 25196 ตุลาคม 25196ตุลากรณี 6 ตุลาคมการล้อมปราบนักศึกษาประชาชนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๖ ตุลาคม ๒๕๑๙เหตุการณ์ 6 ตุลามหาวิปโยคเหตุการณ์ 6 ตุลาคมเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519

วิทยา แก้วภราดัยวิทยากร เชียงกูลวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์วีระ สมความคิดวีระกานต์ มุสิกพงศ์วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ศิลา โคมฉายศุภชัย โพธิ์สุสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลสมัคร สุนทรเวชสรรพสิริ วิรยศิริสล้าง บุนนาคสัญญา ธรรมศักดิ์สิทธิ จิรโรจน์สุพัฒน์ สุธาธรรมสุรชัย จันทิมาธรสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์สุรินทร์ มาศดิตถ์สุวิทย์ วัดหนูสุธรรม แสงประทุมสุธาชัย ยิ้มประเสริฐสุตสาย หัสดินสีเผือก คนด่านเกวียนสงวน พงษ์มณีสงวน นิตยารัมภ์พงศ์สงัด ชลออยู่สนธิ ลิ้มทองกุลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชอัมมาร สยามวาลาอาคม มกรานนท์อดิศร เพียงเกษจารุพงษ์ ทองสินธุ์จาตุรนต์ ฉายแสงจิระนันท์ พิตรปรีชาธรรมนูญ เทียนเงินธิดา ถาวรเศรษฐธงชัย (แก้ความกำกวม)ธงชัย วินิจจะกูลถั่งโถมโหมแรงไฟถนอม กิตติขจรถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ทองปานขบวนการกระทิงแดงขบวนการนวพลขุนทอง เจ้าจะกลับเมื่อฟ้าสางณรงค์ กิตติขจรดาวคะนอง (ภาพยนตร์)ดำรง ลัทธพิพัฒน์คริสต์ทศวรรษ 1970ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยคาราวาน (วงดนตรี)คำนูณ สิทธิสมานคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38คนกับควายคนเดือนตุลาประพันธ์ คูณมีประภาส จารุเสถียรประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประหยัด ศ. นาคะนาทประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2519ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543ปาล พนมยงค์ป๋วย อึ๊งภากรณ์นาฏกรรมบนลานกว้างแยกคอกวัวแยกเกียกกายแสง ธรรมดาแผนฟินแลนด์ใจ อึ๊งภากรณ์โรงเรียนวัดสุทธิวรารามโจชัว หว่องโทรทัศน์ในประเทศไทยไพศาล พืชมงคลไกรศักดิ์ ชุณหะวัณไรน่าน อรุณรังษีไทยรัฐไทยเชื้อสายจีนไตรรงค์ สุวรรณคีรีเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเชคสเปียร์ต้องตายเพลงเพื่อชีวิตเพลงเถื่อนแห่งสถาบันเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษียร เตชะพีระเลิศ ชินวัตรเศก ศักดิ์สิทธิ์เสถียร จันทิมาธรเหวง โตจิราการเหตุการณ์ 14 ตุลาเอนก เหล่าธรรมทัศน์เทพชัย หย่องเดลินิวส์เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู14 ตุลา สงครามประชาชน27 มิถุนายน3 ทรราช5 ตุลาคม6 ตุลาคม