สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2509พระไตรปิฎกภาษาจีนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์วัชรปรัชญาปารมิตาสูตรสุชิน ทองหยวกสุชีพ ปุญญานุภาพคุยหลัทธินาคารชุนะเต้าเต๋อจิง17 มิถุนายน
พ.ศ. 2509
ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เสถียร โพธินันทะและพ.ศ. 2509
พระไตรปิฎกภาษาจีน
ระไตรปิฎกภาษาจีน (大藏經 Dàzàngjīng ต้าจั้งจิง) เป็นพระไตรปิฎกที่รวบรวมเอาคัมภีร์ทั้งของทั้งสามนิกายคือ ๑.ฝ่ายนิกายหินยานเรียกส่วนนี้ว่าอาคม.
ดู เสถียร โพธินันทะและพระไตรปิฎกภาษาจีน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.
ดู เสถียร โพธินันทะและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
วพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญองค์กรหนึ่งของประเทศไทย ยุวพุทธิกะ มีความหมายว่า "ผู้เยาว์ที่นับถือในคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า" ถือกำเนิดขึ้นจากแนวคิดที่จะนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาให้เข้าถึงเยาวชนและคนรุ่นใหม่ โดยได้มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมมากว่า 50 ปี.
ดู เสถียร โพธินันทะและยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร
ระสุภูติกราบทูลอาราธนาพระโคตมพุทธเจ้าแสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ภาพจากม้วนหนังสือวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรที่พบในถ้ำผาม่อเกา ประเทศจีน วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (Diamond Sutra) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ากับพระสุภูติซึ่งเป็นพระอรหันตสาวก ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลักศูนยตา ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง แม้ธรรมะและพระนิพพานก็มีสภาวะเป็นศูนยตาด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยในวัฏสงสารพึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะสังขตธรรมนั้นอุปมาดั่งภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุนาคารชุนแห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้ พระสูตรนี้มีแปลเป็นภาษาไทยโดย เสถียร โพธินันท.
ดู เสถียร โพธินันทะและวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร
สุชิน ทองหยวก
น ทองหยวก อดีตพระมหาสุชิน สุชิโน วัดกันมาตุยาราม เกิดที่จังหวัดนครปฐม เป็นศิษย์สำคัญคนหนึ่งของอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ และอาจารย์เสถียร โพธินันทะ ที่มีความสามารถในด้านภาษาสันสกฤต เป็นผู้ที่รับผิดชอบในการสอนภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต ให้พระนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 20 ปี เคยมีบทบาทในการร่วมจัดทำ พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย ร่วมกับคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย วัดโพธิ์แมนคุณาราม และเป็นผู้แปลงานชิ้นสำคัญในโลกทางปรัชญาของฝ่ายมหายานได้คือหนังสือชื่อ The Central Philosophy of Buddhism (ในชื่อภาษาไทยคือ ปรัชญามาธยมิก) ซึ่งเป็นหนังสือที่ใช้อ่านศึกษาพุทธปรัชญาโดยเฉพาะปรัชญาของท่าน นาคารชุน อย่างกว้างขวางเป็นภาษาไทยได้สำเร็.
ดู เสถียร โพธินันทะและสุชิน ทองหยวก
สุชีพ ปุญญานุภาพ
ีพ ปุญญานุภาพ (13 เมษายน พ.ศ. 2460 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) เป็นนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับทั้งจากพุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ไทยอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่สมบูรณ์ด้วยวิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างเยี่ยมยอด หาใครเทียมได้ยาก ในเวลาเดียวกัน ก็มีความประพฤติที่ดีงาม สุภาพอ่อนโยน ระหว่างที่ท่านเคยบวชเป็นพระอยู่ในชื่อว่า สุชีโว ภิกขุ ท่านมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เพราะประการแรก ท่านเชี่ยวชาญพระพุทธศาสนาเป็นเลิศ ประการที่สอง ท่านรอบรู้วิชาการสมัยใหม่อย่างเยี่ยม ประการที่สาม ท่านเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างชาวพุทธในต่างประเทศกับประเทศไทย แม้ว่าท่านจะมีภาระงานมากมาย แต่ท่านก็เป็นนักเขียน ที่ผลิตงานเขียน ทั้งในรูปหนังสือและตำราเผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนา รวมทั้งนวนิยายอิงธรรมะเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังเป็นผู้บุกเบิกทำพจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาอีกด้วย อาจารย์สุชีพได้ถึงแก่กรรมลง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม..
ดู เสถียร โพธินันทะและสุชีพ ปุญญานุภาพ
คุยหลัทธิ
หลัทธิ (Esotericism/Esoterism) หมายถึง แนวคิดหรือความรู้แบบหนึ่งที่ถูกสงวนไว้ให้รับรู้หรือเปิดเผยได้กับคนเฉพาะกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกหรือผู้สนใจเป็นพิเศษ ขบวนการทางศาสนาที่มีแนวคิดแบบคุยหลัทธิ เช่น ลัทธิการเล่นแร่แปรธาตุ โหราศาสตร์ ไญยนิยม วัชรยาน ไสยศาสตร์ ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม เจตนิยม เป็นต้น.
ดู เสถียร โพธินันทะและคุยหลัทธิ
นาคารชุนะ
ระนาคารชุนะ รูปปั้นของพระนาคารชุนะ ในวัดพุทธแบบทิเบตแห่งหนี่งในสหราชอาณาจักร นาคารชุนะ (नागार्जुन; Nāgārjuna; నాగార్జునా;; มีชีวิตในช่วงประมาณ พ.ศ.
ดู เสถียร โพธินันทะและนาคารชุนะ
เต้าเต๋อจิง
อักษรเต้า เต้าเต๋าจิง (ฮกเกี้ยน: Tō-tek-keng, เต๋าเต็กเก็ง; Dao De Jing หรือ Tao Te Ching) เป็นคัมภีร์ภาษาจีนที่ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แม้จะเชื่อกันว่าเล่าจื๊อเป็นผู้แต่ง แต่เนื้อหาบางส่วนมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช และเนื้อหาส่วนอื่นเขียนหรือเรียบเรียงขึ้นหลังคัมภีร์จวงจื่อ เต้าเต๋อจิงมีเนื้อหากล่าวถึงธรรมชาติและปรัชญา คำว่า "เต้า-เต๋อ-จิง" (Dao-De-Jing) เป็นปรัชญาในเรื่องโลกและชีวิต สามารถแยกเป็นเต้า 道 (ทาง) เต๋อ 德 (คุณธรรม; ความดี) และ จิง 经 (คัมภีร์; สูตร; วรรณคดีชั้นสูง) เมื่อนำทั้ง 3 คำมารวมกัน แปลว่า "คัมภีร์ที่ว่าด้วยคุณสมบัติของเต้า" "สูตรว่าด้วยเต้าและคุณธรรม" ระหว่าง "เต้า 道" กับ "เต๋อ 德" นั้น เต๋าปรากฏขึ้นมาก่อน และเต๋อก็ตามมา คัมภีร์เต้าเต๋อจิงถูกนำมาแปลลงสู่ภาษาต่าง ๆ มากมาย มีแพร่หลายอยู่ในส่วนต่างๆ ของโลก.
ดู เสถียร โพธินันทะและเต้าเต๋อจิง
17 มิถุนายน
วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.