โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เศษส่วน

ดัชนี เศษส่วน

้กถูกตัดออกไปหนึ่งในสี่ส่วน เหลือเพียงสามในสี่ส่วน ในทางคณิตศาสตร์ เศษส่วน คือความสัมพันธ์ตามสัดส่วนระหว่างชิ้นส่วนของวัตถุหนึ่งเมื่อเทียบกับวัตถุทั้งหมด เศษส่วนประกอบด้วยตัวเศษ (numerator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนของวัตถุที่มี และตัวส่วน (denominator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนทั้งหมดของวัตถุนั้น ตัวอย่างเช่น อ่านว่า เศษสามส่วนสี่ หรือ สามในสี่ หมายความว่า วัตถุสามชิ้นส่วนจากวัตถุทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่าๆ กัน นอกจากนั้น การแบ่งวัตถุสิ่งหนึ่งออกเป็นศูนย์ส่วนเท่า ๆ กันนั้นเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น 0 จึงไม่สามารถเป็นตัวส่วนของเศษส่วนได้ (ดูเพิ่มที่ การหารด้วยศูนย์) เศษส่วนเป็นตัวอย่างชนิดหนึ่งของอัตราส่วน ซึ่งเศษส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนย่อยต่อชิ้นส่วนทั้งหมด ในขณะที่อัตราส่วนพิจารณาจากปริมาณของสองวัตถุที่แตกต่างกัน (ดังนั้น อาจไม่เท่ากับ 3: 4) และเศษส่วนนั้นอาจเรียกได้ว่าเป็นผลหาร (quotient) ของจำนวน ซึ่งปริมาณที่แท้จริงสามารถคำนวณได้จากการหารตัวเศษด้วยตัวส่วน ตัวอย่างเช่น คือการหารสามด้วยสี่ ได้ปริมาณเท่ากับ 0.7599999999999999999999999999999999999 ในทศนิยม หรือ 1000000000000000000000000000000000% ในอัตราร้อยละ การเขียนเศษส่วน ให้เขียนแยกออกจากกันด้วยเครื่องหมายทับหรือ ซอลิดัส (solidus) แล้ววางตัวเศษกับตัวส่วนในแนวเฉียง เช่น ¾ หรือคั่นด้วยเส้นแบ่งตามแนวนอนเรียกว่า วิงคิวลัม (vinculum) เช่น ในบางกรณีอาจพบเศษส่วนที่ไม่มีเครื่องหมายคั่น อาทิ 34 บนป้ายจราจรในบางประเท.

44 ความสัมพันธ์: การบวกการหารด้วยศูนย์การทดลองแบบอำพรางการคูณการเข้ารหัสทางประสาทรากที่ nสัญกรณ์ส่วนในหลายส่วนสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบอัตราร้อยละอัตราส่วนอัตราส่วนทองฮิปปาซุสจำนวนจำนวนจุดลอยตัวจำนวนตรรกยะทับ (เครื่องหมายวรรคตอน)ขนาด (คณิตศาสตร์)คำอุปสรรคเอสไอตัวส่วนตัวหารร่วมมากตัวผกผันการคูณตัวคูณร่วมน้อยตัวเศษซียูไรเตอร์แกร็ดโอเมกา (ค่าคงตัว)เลขฐานสิบเลขฐานสิบสองเลขคณิตมูลฐานเศษเศษส่วนอย่างต่ำเครื่องคิดเลขเคลฟเวอร์แฮนส์1/102/12/122/22/32/42/52/62/72/93/2

การบวก

แอปเปิล3 + 2.

ใหม่!!: เศษส่วนและการบวก · ดูเพิ่มเติม »

การหารด้วยศูนย์

ในทางคณิตศาสตร์ การหารด้วยศูนย์ หมายถึงการหารที่มีตัวหารเท่ากับ 0 ซึ่งอาจสามารถเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน \textstyle\frac โดยที่ a เป็นตัวตั้ง ค่าของนิพจน์นี้จะมีความหมายหรือไม่ขึ้นอยู่กับบทตั้งทางคณิตศาสตร์ที่เป็นบริบท แต่โดยทั่วไปในเลขคณิตของจำนวนจริง นิพจน์ดังกล่าวไม่มีความหมาย สำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การหารด้วยศูนย์ในจำนวนเต็มอาจทำให้โปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดจนหยุดทำงาน หรือในกรณีของจำนวนจุดลอยตัวอาจให้ผลลัพธ์เป็นค่าพิเศษที่เรียกว่า NaN (Not a Number).

ใหม่!!: เศษส่วนและการหารด้วยศูนย์ · ดูเพิ่มเติม »

การทดลองแบบอำพราง

การทดลองแบบอำพราง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ hemisphere ว่า "doubled blind cross-over study" ว่า "การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย" (blind experiment, blinded experiment) เป็นการทดลองที่ปิดข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองที่อาจจะทำให้เกิดความเอนเอียงในผลการทดลอง ไม่ให้ผู้ทำการทดลอง หรือผู้รับการทดลอง หรือทั้งสองฝ่าย รับรู้ จนกระทั่งการทดลองได้จบเสร็จสิ้นลงแล้ว ความเอนเอียงที่อาจเกิดขึ้นนั้นเป็นได้ทั้งแบบจงใจหรือแบบไม่จงใจ ส่วนการทดลองที่ทั้งสองฝ่ายไม่รู้เรื่องที่ปิด เรียกว่า การทดลองแบบอำพรางสองฝ่าย (double-blinded experiment) นักวิทยาศาสตร์จะใช้การทดสอบแบบอำพราง.

ใหม่!!: เศษส่วนและการทดลองแบบอำพราง · ดูเพิ่มเติม »

การคูณ

3 × 4.

ใหม่!!: เศษส่วนและการคูณ · ดูเพิ่มเติม »

การเข้ารหัสทางประสาท

การยิงศักยะงานเป็นขบวนหรือเป็นลำดับ ๆ ของเซลล์ประสาท การเข้ารหัสทางประสาท (Neural coding) เป็นการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์ เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองของเซลล์ประสาทเดี่ยว ๆ หรือของกลุ่มเซลล์ประสาท และความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานทางไฟฟ้าของเซลล์ประสาทในกลุ่ม โดยอาศัยทฤษฎีว่า การทำงานของเครือข่ายเซลล์ประสาทในสมองจะเป็นตัวแทนข้อมูลทางประสาทสัมผัสและข้อมูลอื่น ๆ นักวิชาการจึงเชื่อว่า เซลล์ประสาทสามารถเข้ารหัสข้อมูลเป็นทั้งแบบดิจิตัลและแบบแอนะล็อก.

ใหม่!!: เศษส่วนและการเข้ารหัสทางประสาท · ดูเพิ่มเติม »

รากที่ n

ในทางคณิตศาสตร์ รากที่ n ของจำนวน x คือจำนวน r ที่ซึ่งเมื่อยกกำลัง n แล้วจะเท่ากับ x นั่นคือ ตัวแปร n คือจำนวนที่ใส่เข้าไปเป็นดีกรีของราก โดยทั่วไปรากของดีกรี n จะเรียกว่ารากที่ n เช่นรากของดีกรีสองเรียกว่ารากที่สอง รากของดีกรีสามเรียกว่ารากที่สาม เป็นอาทิ ตัวอย่างเช่น.

ใหม่!!: เศษส่วนและรากที่ n · ดูเพิ่มเติม »

สัญกรณ์ส่วนในหลายส่วน

หนึ่งส่วนในล้านล้านส่วน (1 ppt) เป็นสัดส่วนที่เทียบเท่ากับ ปริมาณหนึ่งในยี่สิบของหยดน้ำ ที่เจืออยู่ในสระว่ายน้ำขนาดโอลิมปิก ในทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สัญกรณ์ส่วนในหลายส่วน (parts-per notation) คือกลุ่มของหน่วยเทียมที่สร้างขึ้นเพื่ออธิบายค่าเล็กน้อยในปริมาณไร้มิติ อาทิ เศษส่วนโมล (mole fraction) หรือเศษส่วนมวล (mass fraction) เนื่องจากเศษส่วนเหล่านี้เป็นการวัดอัตราส่วนปริมาณต่อปริมาณ มันจึงเป็นจำนวนแท้จริงที่ไม่มีระบบการวัดมาเกี่ยวข้อง ตัวอย่างหน่วยที่ใช้โดยปกติเช่น ส่วนในล้านส่วน (ppm: พีพีเอ็ม), ส่วนในพันล้านส่วน (ppb: พีพีบี), ส่วนในล้านล้านส่วน (ppt: พีพีที), ส่วนในพันล้านล้านส่วน (ppq: พีพีคิว) เป็นต้น.

ใหม่!!: เศษส่วนและสัญกรณ์ส่วนในหลายส่วน · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: เศษส่วนและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

อัตราร้อยละ

รื่องหมายเปอร์เซ็นต์ อัตราร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ (percentage/percent) คือแนวทางในการนำเสนอจำนวนโดยใช้เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 มักใช้สัญลักษณ์เป็น เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ "%" เช่น ร้อยละ 45 หรือ 45% มีค่าเทียบเท่ากับ อัตราร้อยละมักใช้สำหรับการเปรียบเทียบว่าปริมาณหนึ่ง ๆ มีขนาดเท่าไรโดยประมาณเมื่อเทียบกับอีกปริมาณหนึ่ง ซึ่งปริมาณอย่างแรกมักเป็นส่วนย่อยหรือเป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอย่างหลัง ตัวอย่างเช่น ราคาของสินค้าชนิดหนึ่งเท่ากับ $2.50 และผู้ขายต้องการเพิ่มราคาอีก $0.15 ดังนั้นอัตราการเพิ่มราคาคือ 0.15 ÷ 2.50.

ใหม่!!: เศษส่วนและอัตราร้อยละ · ดูเพิ่มเติม »

อัตราส่วน

อัตราส่วนความยาวต่อความสูงของจอมอนิเตอร์โดยทั่วไป อัตราส่วน (อังกฤษ: ratio, IPA: เรโช) คือปริมาณอย่างหนึ่งที่แสดงถึงจำนวนหรือขนาดตามสัดส่วนเมื่อเปรียบเทียบกับอีกปริมาณหนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน อัตราส่วนจะเป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย หากอัตราส่วนนั้นเกี่ยวข้องกับปริมาณที่อยู่ในมิติเดียวกัน และเมื่อปริมาณสองอย่างที่เปรียบเทียบกันเป็นคนละชนิดกัน หน่วยของอัตราส่วนจะเป็นหน่วยแรก "ต่อ" หน่วยที่สอง ตัวอย่างเช่น ความเร็วสามารถแสดงได้ในหน่วย "กิโลเมตรต่อชั่วโมง" เป็นต้น ถ้าหน่วยที่สองเป็นหน่วยวัดเวลา เราจะเรียกอัตราส่วนชนิดนี้ว่า อัตรา (rate) ทั้งเศษส่วนและอัตราร้อยละเป็นอัตราส่วนที่นำเอาไปใช้เฉพาะทาง เศษส่วนเป็นปริมาณส่วนหนึ่งที่เทียบกับปริมาณทั้งหมด ในขณะที่อัตราร้อยละจะแบ่งปริมาณทั้งหมดออกเป็น 100 ส่วน นอกจากนั้น อัตราส่วนอาจสามารถเปรียบเทียบปริมาณได้มากกว่าสองอย่างซึ่งพบได้น้อยกว่า เช่นสูตรอาหาร หรือการผสมสารเคมี เป็นต้น อัตราส่วน 2:3 (สองต่อสาม) หมายความว่าปริมาณทั้งหมดประกอบขึ้นจากวัตถุแรก 2 ส่วนและวัตถุหลังอีก 3 ส่วน ดังนั้นปริมาณวัตถุจะมีทั้งหมด 5 ส่วน หรืออธิบายให้เจาะจงกว่านี้ ถ้าในตะกร้ามีแอปเปิล 2 ผลและส้ม 3 ผล เรากล่าวว่าอัตราส่วนระหว่างแอปเปิลกับส้มคือ 2:3 ถ้าหากเพิ่มแอปเปิลอีก 2 ผลและส้มอีก 3 ผลลงในตะกร้าใบเดิม ทำให้ในตะกร้ามีแอปเปิล 4 ผลกับส้ม 6 ผล เป็นอัตราส่วน 4:6 ซึ่งก็ยังเทียบเท่ากันกับ 2:3 (แสดงให้เห็นว่าอัตราส่วนก็สามารถลดทอนได้เหมือนกับเศษส่วน) ซึ่งในกรณีนี้ หรือ 40% ของผลไม้ทั้งหมดคือแอปเปิล และ หรือ 60% ของผลไม้ทั้งหมดคือส้ม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ อัตราส่วน 2:3 ไม่ได้มีความหมายเหมือนกับเศษส่วน ในทางวิทยาศาสตร์ อัตราส่วนของปริมาณทางกายภาพมักจะถูกทำให้เป็นจำนวนจริงจำนวนหนึ่ง เช่นอัตราส่วนของ 2\pi เมตรต่อ 1 เมตร (อัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงกับรัศมีของรูปวงกลม) เท่ากับจำนวนจริง 2\pi ด้วยเหตุจากนิยามของการวัดที่มีมาแต่เดิม ซึ่งเป็นการประมาณอัตราส่วนระหว่างปริมาณหนึ่งกับอีกปริมาณหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน ในทางพีชคณิต ปริมาณสองชนิดที่มีอัตราส่วนเป็นค่าคงตัว คือความสัมพันธ์เชิงเส้นชนิดพิเศษเรียกว่า สัดส่วน (proportionality) หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน หมวดหมู่:พีชคณิต.

ใหม่!!: เศษส่วนและอัตราส่วน · ดูเพิ่มเติม »

อัตราส่วนทอง

'''สัดส่วนทองคำ (golden section)''' คือส่วนของเส้นที่ถูกแบ่งตรงตำแหน่งที่ก่อให้เกิด "อัตราส่วนทอง (golden ratio)": อัตราส่วนของความยาวรวม '''''a + b''''' ต่อความยาวส่วนที่ยาว '''''a''''' มีค่าเท่ากับความยาวส่วนที่ยาว '''''a''''' ต่อความยาวของส่วนที่สั้น '''''b'''''. อัตราส่วนทอง (golden ratio) ในทางคณิตศาสตร์และศิลปะนั้น, เลขสองจำนวน (สมมุติให้เป็น a, b และ a>b) จะเป็น "อัตราส่วนทอง" ถ้าอัตราส่วนระหว่างจำนวนมาก (a) ต่อผลรวม (a + b) มีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างจำนวนน้อย (b) ต่อจำนวนมาก (a) "อัตราส่วนทอง" เป็นค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์ที่ไม่มีเหตุผลชัดเจน มีค่าประมาณ 1.6180339887 ชื่ออื่นที่เป็นที่รู้จักของ "อัตราส่วนทอง" ได้แก่ golden section (ละติน: sectio aurea) และ golden mean, extreme and mean ratio, medial section, divine proportion, divine section (ละติน: sectio divina), golden proportion, golden cut, golden number, และ mean of Phidias.

ใหม่!!: เศษส่วนและอัตราส่วนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ฮิปปาซุส

ฮิปปาซุสจากเมือง Metapontum ฮิปปาซุส (Hippasus; Ἵππασος, Híppasos; 5th century BC) จากเมือง Metapontum ใน มันยากราเซีย เป็นนักปรัชญาในสำนักพีทาโกรัส บางคนเชื่อและยกย่องเขาว่าเป็นผู้ค้นพบจำนวนอตรรกยะ การค้นพบนี้ทำให้พีทาโกรัสตกใจเป็นอย่างมากเนื่องจากพีทาโกรัสเชื่อว่าทุกจำนวนสามารถเขียนได้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือก็คือเป็นจำนวนตรรกยะเสมอ ตามตำนานฮิปปาซุสจมน้ำตายเพราะถูกเทพเจ้าลงโทษในการค้นพบของเขา ซึ่งมีผู้สันนิษฐานว่าอันที่จริงแล้ว ฮิปปาซุสถูกฆาตกรรมโดยพีทาโกรัสหรือลูกศิษย์ของพีทาโกรัสจากการที่การค้นพบนี้ไปขัดความเชื่อดังกล่าว แต่ก็มีบางคนเชื่อว่าเขาถูกฆาตกรรมจากการทรยศและอ้างว่าตนเองเป็นผู้ประดิษฐ์ทรงสิบสองหน้าในทรงกลมได้ หมวดหมู่:ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:นักปรัชญาในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกโบราณ.

ใหม่!!: เศษส่วนและฮิปปาซุส · ดูเพิ่มเติม »

จำนวน

ำนวน (number) คือวัตถุนามธรรมที่ใช้สำหรับอธิบายปริมาณ จำนวนมีหลายแบบ จำนวนที่เป็นที่คุ้นเคยก็คือ.

ใหม่!!: เศษส่วนและจำนวน · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนจุดลอยตัว

Z3 คอมพิวเตอร์ฐานสองเชิงกลที่สามารถโปรแกรมและดำนำเนินการทางคณิตศาสตร์ได้เครื่องแรก (จัดแสดงต่อสาธารณะที่พิพิธภัณฑ์เยอรมันในเมืองมิวนิก ตัวอย่างแสดงถึงการแทนจำนวนจุดลอยตัวโดยแบ่งเป็นการเก็บค่าเลขนัยสำคัญและเลขชี้กำลัง ในทางคอมพิวเตอร์ จำนวนจุดลอยตัว (floating point) คือระบบแทนจำนวนชนิดหนึ่ง ซึ่งจำนวนนั้นอาจมีขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กเกินกว่าที่จะแทนด้วยจำนวนเต็ม เนื่องจากจำนวนต่าง ๆ สามารถเขียนแทนด้วยเลขนัยสำคัญ (mantissa) จำนวนหนึ่งโดยประมาณ และเปลี่ยนสเกลด้วยเลขชี้กำลัง (exponent) ฐานของสเกลปกติจะเป็น 2, 10 หรือ 16 เป็นต้น จำนวนทั่วไปจึงสามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบนี้ได้ คำว่า จุดลอยตัว จึงหมายถึงจุดฐาน (จุดทศนิยม หรือในคอมพิวเตอร์คือ จุดทวินิยม) ที่สามารถ "ลอยตัว" ได้ หมายความว่า จุดฐานสามารถวางไว้ที่ตำแหน่งใดก็ได้ที่สัมพันธ์กับเลขนัยสำคัญของจำนวนนั้น ตำแหน่งนี้แสดงไว้แยกต่างหากในข้อมูลภายใน และการแทนด้วยจำนวนจุดลอยตัวจึงอาจถือว่าเป็นสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ในบริบทของคอมพิวเตอร์ หลายปีที่ผ่านมา คอมพิวเตอร์ใช้งานจำนวนจุดลอยตัวในรูปแบบที่แตกต่างกัน เวลาต่อมาจึงทำให้เกิดมาตรฐาน IEEE 754 สำหรับจำนวนที่พบได้อย่างปกติสามัญชนิดนี้ ข้อดีของจำนวนจุดลอยตัวที่มีต่อจำนวนจุดตรึง (fixed point รวมทั้งจำนวนเต็ม) คือจำนวนจุดลอยตัวสามารถรองรับค่าได้ในขอบเขตที่กว้างกว่า ตัวอย่างเช่น จำนวนจุดตรึงที่มีตัวเลขเจ็ดหลัก และกำหนดให้สองหลักสุดท้ายอยู่หลังจุด สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้ 12345.67, 123.45, 1.23 ในขณะที่จำนวนจุดลอยตัว (ตามเลขฐานสิบของมาตรฐาน IEEE 754) ที่มีตัวเลขเจ็ดหลักเช่นกัน สามารถแทนจำนวนเหล่านี้ได้อีกเพิ่มเติม 1.234567, 123456.7, 0.00001234567, 1234567000000000 เป็นต้น แต่ข้อเสียคือรูปแบบของจำนวนจุดลอยตัวจำเป็นต้องใช้หน่วยเก็บข้อมูลมากขึ้นอีกเล็กน้อย (สำหรับเข้ารหัสตำแหน่งของจุดฐาน) ดังนั้นเมื่อจำนวนทั้งสองประเภทเก็บบันทึกอยู่ในที่ที่เหมือนกัน จำนวนจุดลอยตัวจะใช้เนื้อที่มากกว่าเพื่อเพิ่มความเที่ยง (precision) ความเร็วของการดำเนินการกับจำนวนจุดลอยตัว เป็นการวัดประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่สำคัญในขอบเขตข่ายโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นฟล็อปส์ (FLOPS - floating-point operations per second การประมวลผลจุดลอยตัวต่อวินาที).

ใหม่!!: เศษส่วนและจำนวนจุดลอยตัว · ดูเพิ่มเติม »

จำนวนตรรกยะ

ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์ จำนวนตรรกยะแต่ละจำนวนสามารถเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น 3/6.

ใหม่!!: เศษส่วนและจำนวนตรรกยะ · ดูเพิ่มเติม »

ทับ (เครื่องหมายวรรคตอน)

ทับ (/) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นเส้นตรงเอียงลงทางซ้.

ใหม่!!: เศษส่วนและทับ (เครื่องหมายวรรคตอน) · ดูเพิ่มเติม »

ขนาด (คณิตศาสตร์)

ในทางคณิตศาสตร์ ขนาด (magnitude) คือสมบัติอย่างหนึ่งของวัตถุที่ใช้เปรียบเทียบว่า สิ่งใดใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าสิ่งใดในวัตถุชนิดเดียวกัน ในทางเทคนิคคือการจัดอันดับของวัตถุ ในชีวิตจริงมีการใช้ขนาดในการจัดอันดับของวัตถุต่างๆ เช่น ความดังของเสียง (เดซิเบล) ความสว่างของดาวฤกษ์ หรือมาตราริกเตอร์บนระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว เป็นต้น ชาวกรีกได้มีการแยกแยะขนาดไว้เป็นหลายประเภท รวมทั้ง.

ใหม่!!: เศษส่วนและขนาด (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คำอุปสรรคเอสไอ

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI) ได้กำหนดชุดคำอุปสรรค ซึ่งรู้จักกันว่า คำอุปสรรคเอสไอ หรือ คำอุปสรรคเมตริก คำอุปสรรคเอสไอเป็นคำนำหน้าหน่วยวัดพื้นฐานเพื่อแสดงการคูณหรือเศษส่วนเลขฐานสิบของหน่วยนั้น คำอุปสรรคแต่ละคำนั้นจะมีสัญลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งเขียนหน้าสัญลักษณ์ของหน่วยพื้นฐานได้เช่นกัน คำอุปสรรคเอสไอได้รับการวางมาตรฐานโดยสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศในมติระหว่าง..

ใหม่!!: เศษส่วนและคำอุปสรรคเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวส่วน

ตัวส่วน (denominator) หมายถึงตัวเลขที่อยู่ด้านล่างของเศษส่วน เป็นตัวบ่งบอกว่ามีจำนวนส่วนที่เท่ากันทั้งหมดอยู่เท่าไร ตัวอย่างเช่นเศษส่วน ตัวเลข 3 คือตัวส่วน ในภาษาอังกฤษมีการใช้จำนวนเชิงอันดับที่แทนชื่อของเศษส่วนเช่น half, third, quarter (forth), fifth, sixth,... แทนตัวส่วนใน,,,,,...

ใหม่!!: เศษส่วนและตัวส่วน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวหารร่วมมาก

ในคณิตศาสตร์ ตัวหารร่วมมาก หรือ ห.ร.ม. (greatest common divisor: gcd) ของจำนวนเต็มสองจำนวนซึ่งไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน คือจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่หารทั้งสองจำนวนลงตัว ตัวหารร่วมมากของ a และ b เขียนแทนด้วย gcd (a, b) หรือบางครั้งเขียนว่า (a, b) เช่น gcd (12, 18).

ใหม่!!: เศษส่วนและตัวหารร่วมมาก · ดูเพิ่มเติม »

ตัวผกผันการคูณ

ฟังก์ชันส่วนกลับ ''y''.

ใหม่!!: เศษส่วนและตัวผกผันการคูณ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวคูณร่วมน้อย

ในวิชาเลขคณิต และทฤษฎีจำนวน ตัวคูณร่วมน้อย หรือ.ร.น. ของจำนวนเต็มสองจำนวน a และ b มักเขียนด้วยสัญลักษณ์ LCM(a, b) เป็นจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่หารทั้ง a และ b ลงตัว เนื่องจากไม่นิยามการหารด้วยศูนย์ นิยามนี้จึงหมายถึงกรณีที่ a และ b ไม่ใช่ 0 เท่านั้น.

ใหม่!!: เศษส่วนและตัวคูณร่วมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเศษ

ตัวเศษ (numerator) หมายถึงตัวเลขที่อยู่ด้านบนของเศษส่วน เป็นตัวบ่งบอกว่ามีจำนวนส่วนที่เท่ากันอยู่เท่าไรในส่วนรวมทั้งหมด เช่นในเศษส่วน ตัวเลข 3 คือตัวเศษ หมายความว่ามีวัตถุ 3 ส่วนจากทั้งหมด 4 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีขนาดเท่าๆ กันคือ.

ใหม่!!: เศษส่วนและตัวเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ซียูไรเตอร์

ซียูไรเตอร์ (CU Writer) หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า จุฬาเวิร์ด, เวิร์ดจุฬา หรือ CW เป็นโปรแกรมประมวลคำภาษาไทย ทำงานบนระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส สร้างขึ้นโดยความร่วมมือจาก สถาบันบริการคอมพิวเตอร์ กับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดยนายสำนวน หิรัญวงษ์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2532 พัฒนาอย่างต่อเนื่องจนถึง พ.ศ. 2536 จึงยุติการพัฒนา รุ่นล่าสุดอยู่ที่รุ่น 1.6.

ใหม่!!: เศษส่วนและซียูไรเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แกร็ด

แกร็ด (grad) คือหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบ เทียบเท่ากับ ของรูปวงกลม ซึ่งแบ่งมุมฉากออกเป็น 100 ส่วน หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่า มุมรอบรูปวงกลมเท่ากับ 400 แกร็ด ชื่ออื่นของแกร็ดได้แก่ ก็อน (gon) เกรด (grade) และแกรเดียน (gradian) ซึ่งไม่ควรสับสนกับเกรดของความชัน (grade of a slope) เกรเดียนต์ (gradient) และเรเดียน (radian) มุมหนึ่งแกร็ดจะมีขนาดเท่ากับ องศา หรือ เรเดียน หน่วยมุมนี้เริ่มมีการใช้ในประเทศฝรั่งเศสในชื่อ เกรด โดยแบ่งส่วนลงตัวตามระบบเมตริก (100) แต่เนื่องจากความสับสนกับหน่วย เกรด (grad(e)) ที่มีอยู่แล้วทางตอนเหนือของยุโรป จึงได้เปลี่ยนไปเป็น ก็อน ในประเทศเยอรมนีเรียกหน่วยมุมนี้ว่า นิวแกร็ด (Neugrad) แปลว่า องศาใหม่ ข้อดีของหน่วยแกร็ดคือทำให้ง่ายต่อการคำนวณการบวกและการลบในมุมฉากได้ในใจ ตัวอย่างเช่น บุคคลหนึ่งเดินทางไปทางทิศ 117 แกร็ด (นับจากทิศเหนือไปตามเข็มนาฬิกา) ดังนั้นทิศทางที่อยู่ทางซ้ายของเขาคือมุม 17 แกร็ด ทางขวาคือ 217 แกร็ด และข้างหลังคือ 317 แกร็ด แต่ข้อเสียของมุมชนิดนี้อยู่ที่มุมทั่วไป 30° และ 60° เมื่อแปลงเป็นหน่วยแกร็ดจะกลายเป็นเศษส่วน ซึ่งได้ แกร็ดและ แกร็ดตามลำดับ หรือในกรณีเดียวกัน ในหนึ่งชั่วโมง โลกจะหมุนไป 15° ซึ่งเท่ากับ แกร็ด สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้กับหน่วยแกร็ดทุกวันนี้ใช้ "gon" (ดูเพิ่มใน ISO 31-1) สัญลักษณ์อื่นที่มีใช้ในอดีตก็มีทั้ง "gr", "grd", "g" ซึ่งต่อมาก็เขียนในรูปแบบตัวยกให้คล้ายกับเครื่องหมายองศาเช่น 50g.

ใหม่!!: เศษส่วนและแกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

โอเมกา (ค่าคงตัว)

อเมกา (Omega: Ω; ขึ้นต้นตัวใหญ่) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ที่นิยามขึ้นจาก ค่านี้ได้มาจาก W (1) ซึ่ง W คือฟังก์ชันดับเบิลยูของแลมเบิร์ต (Lambert W function) ซึ่งชื่อของค่าคงตัวนี้มาจากอีกชื่อหนึ่งของฟังก์ชันคือ ฟังก์ชันโอเมกา Ω มีค่าประมาณ 0.5671432904097838729999686622 มีสมบัติว่า หรือเทียบเท่ากับ เราสามารถคำนวณ Ω ด้วยวิธีการวนซ้ำ โดยสมมติ Ω0 ขึ้นมาค่าหนึ่ง แล้วใช้ลำดับนี้วนซ้ำ ลำดับนี้จะลู่เข้าค่า Ω เมื่อ n มีค่าเข้าใกล้อนันต.

ใหม่!!: เศษส่วนและโอเมกา (ค่าคงตัว) · ดูเพิ่มเติม »

เลขฐานสิบ

ลขฐานสิบ หรือ ทศนิยม (Decimal) หมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลข 10 ตัว คือ 0 - 9.

ใหม่!!: เศษส่วนและเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

เลขฐานสิบสอง

เลขฐานสิบสอง เป็นระบบตัวเลขที่ใช้เลข 12 เป็นฐาน นอกจากตัวเลขปกติ 10 ตัวแล้ว จำนวน 10 (ฐานสิบ) ก็อาจเขียนแทนด้วยเลข 2 กลับหัว (↊, U+218A) "A", "T", หรือ "X" และจำนวน 11 (ฐานสิบ) อาจเขียนแทนด้วยเลข 3 กลับหัว (↋, U+218B) หรือเขียนด้วยตัวอักษร  "B","E" หรือ E แบบตัวเขียน (ℰ, U+2130), 10 และจำนวน 12 (ฐานสิบ) จะเขียนเป็นหนึ่งกับศูนย์ คือ 10 นั่นเอง จำนวน 12 นั้น มีตัวประกอบ 6 ตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, และ 12 นับเป็นระบบตัวเลขที่สะดวกมากขึ้นสำหรับการคำนวณเศษส่วน เมื่อเปรียบเทียบกับระบบฐานสิบ หรือฐานยี่สิบ ระบบเลขฐานสิบนั้น มีตัวประกอบเพียง 4 ตัว ได้แก่ 1, 2, 5 และ 10 สิบสอง.

ใหม่!!: เศษส่วนและเลขฐานสิบสอง · ดูเพิ่มเติม »

เลขคณิตมูลฐาน

เลขคณิตมูลฐาน (Elementary arithmetic) คือแขนงความรู้ของคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่สุด ประกอบด้วยการดำเนินการของการบวก การลบ การคูณ และการหาร บุคคลส่วนมากได้เรียนรู้เลขคณิตมูลฐานมาจากโรงเรียนประถมศึกษา เลขคณิตมูลฐานจะเริ่มต้นที่จำนวนธรรมชาติและเลขอารบิกที่ใช้แทนจำนวนนั้น และจำเป็นต้องจดจำตารางการบวกและตารางการคูณ (สูตรคูณ) เพื่อที่จะบวกและคูณตัวเลขในหลักใดๆ จนกระทั่งสามารถบวกและคูณเลขได้ในใจ ส่วนการลบและการหารนั้นจะใช้ขั้นตอนวิธีอย่างอื่นในการเรียนการสอน จากนั้นจึงขยายขอบเขตไปบนเศษส่วน ทศนิยม และจำนวนลบ ซึ่งสามารถนำเสนอได้บนเส้นจำนวน ทุกวันนี้ผู้คนต่างก็ใช้เครื่องคิดเลขหรือคอมพิวเตอร์เพื่อคำนวณเลขคณิตมูลฐาน ซึ่งก่อนหน้านั้นมีการใช้เครื่องมืออย่างอื่นช่วยคำนวณเช่น สไลด์รูล ตารางลอการิทึม โนโมแกรม หรือเครื่องคิดเลขเชิงกลอื่นๆ รวมทั้งลูกคิด หมวดหมู่:การศึกษาคณิตศาสตร์.

ใหม่!!: เศษส่วนและเลขคณิตมูลฐาน · ดูเพิ่มเติม »

เศษ

ษ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและเศษ · ดูเพิ่มเติม »

เศษส่วนอย่างต่ำ

ษส่วนอย่างต่ำ หรือ เศษส่วนลดทอนไม่ได้ คือเศษส่วนที่มีตัวเศษและตัวส่วนเป็นจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับเศษส่วนตัวอื่นที่มีค่าเท่ากัน ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นว่า เศษส่วน จะเป็นเศษส่วนอย่างต่ำ ก็ต่อเมื่อ a และ b มีตัวหารร่วมมากเท่ากับ 1 ถ้ากำหนดให้ a, b, c, d เป็นจำนวนเต็มทั้งหมด ดังนั้นเศษส่วน จะเป็นเศษส่วนอย่างต่ำ ก็ต่อเมื่อ ไม่มีเศษส่วนอื่นๆ ที่เทียบเท่า ซึ่งทำให้ |c| \tfrac.

ใหม่!!: เศษส่วนและเศษส่วนอย่างต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องคิดเลข

็ดส่วน ที่สามารถดำเนินการทางเลขคณิตพื้นฐานได้ เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่มีจอภาพผลึกเหลวแบบดอตเมทริกซ์ เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ มักเรียกโดยย่อว่า เครื่องคิดเลข หรือ เครื่องคำนวณ คือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับดำเนินการทางเลขคณิตพื้นฐานหรือซับซ้อน มักมีขนาดเล็ก พกพาได้ และราคาไม่แพง เครื่องคิดเลขสมัยใหม่พกพาสะดวกกว่าคอมพิวเตอร์เป็นส่วนมาก อย่างไรก็ตาม พีดีเอก็มีขนาดพอ ๆ กับเครื่องคิดเลขมือถือและอาจมีบทบาทเข้ามาแทนที่ เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์แบบโซลิดสเตตเครื่องแรกผลิตขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 ซึ่งสร้างโดยใช้หลักการของเครื่องมือคำนวณในประวัติศาสตร์ อย่างเช่นลูกคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล และเครื่องคิดเลขเชิงกลที่ประดิษฐ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้น เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์มีพัฒนาการควบคู่ไปกับคอมพิวเตอร์แอนะล็อกในสมัยนั้น เครื่องคิดเลขขนาดกระเป๋าเริ่มจำหน่ายในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากหำอินเทลประดิษฐ์ไมโครโพรเซสเซอร์ชิ้นแรก (อินเทล 4004) ให้กับเครื่องคิดเลขของบิซซิคอม (Busicom) เครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่มีหลากหลายแบบตั้งแต่ขนาดเท่าบัตรเครดิต ราคาถูก แจกฟรี ไปจนถึงขนาดตั้งโต๊ะ แข็งแรง มีเครื่องพิมพ์ในตัว เครื่องคิดเลขเป็นที่นิยมในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เนื่องจากการคิดค้นวงจรรวมทำให้เครื่องคิดเลขมีขนาดเล็กลงและราคาถูกลง ในช่วงปลายทศวรรษนั้น ราคาของเครื่องคิดเลขก็ลดลงจนถึงระดับที่ประชาชนทั่วไปสามารถซื้อได้ และกลายเป็นเครื่องมือสามัญในโรงเรียน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ย้อนไปจนถึงยูนิกซ์รุ่นแรก ๆ ก็บรรจุโปรแกรมคำนวณเลขมาด้วยอย่าง ดีซี (dc) และ ภาษาฮอก (hoc) และฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการคำนวณก็ถูกบรรจุลงในอุปกรณ์ประเภทพีดีเอแทบทุกชนิด นอกเหนือจากเครื่องคิดเลขสำหรับจุดประสงค์ทั่วไปแล้ว ก็ยังมีเครื่องคิดเลขที่ออกแบบมาเพื่อตลาดเฉพาะทาง ตัวอย่างเช่น เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ที่บรรจุฟังก์ชันการคำนวณตรีโกณมิติและสถิติ เป็นต้น เครื่องคิดเลขบางชนิดก็สามารถประมวลพีชคณิตคอมพิวเตอร์ได้ เครื่องคิดเลขกราฟิกก็สามารถใช้วาดกราฟของฟังก์ชันที่นิยามบนเส้นจำนวนจริงหรือมิติที่สูงกว่าในปริภูมิแบบยุคลิดได้ ในปี..

ใหม่!!: เศษส่วนและเครื่องคิดเลข · ดูเพิ่มเติม »

เคลฟเวอร์แฮนส์

ลฟเวอร์แฮนส์แสดงความสามารถ เคลฟเวอร์แฮนส์ (Clever Hans) หรือ แดร์คลูเกอฮันส์ (der Kluge Hans)เป็นม้าพันธุ์รัสเซีย (Orlov Trotter) ตัวหนึ่ง ที่มีการอ้างว่า มันสามารถคิดเลขง่าย ๆ และแก้ปัญหาใช้สติปัญญาอื่น ๆ บางอย่างได้ แต่ว่าหลังจากได้ทำการตรวจสอบอย่างเต็มรูปแบบแล้วในปี..

ใหม่!!: เศษส่วนและเคลฟเวอร์แฮนส์ · ดูเพิ่มเติม »

1/10

1/10 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ1/10 · ดูเพิ่มเติม »

2/1

2/1 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/1 · ดูเพิ่มเติม »

2/12

2/12 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/12 · ดูเพิ่มเติม »

2/2

2/2 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/2 · ดูเพิ่มเติม »

2/3

2/3 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/3 · ดูเพิ่มเติม »

2/4

2/4 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/4 · ดูเพิ่มเติม »

2/5

2/5 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/5 · ดูเพิ่มเติม »

2/6

2/6 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/6 · ดูเพิ่มเติม »

2/7

2/7 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/7 · ดูเพิ่มเติม »

2/9

2/9 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ2/9 · ดูเพิ่มเติม »

3/2

3/2 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เศษส่วนและ3/2 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Fractionจำนวนคละเศษส่วนสามัญเศษส่วนทั่วไปเศษส่วนซ้อนเศษส่วนแท้เศษซ้อนเศษเกิน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »