โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เวส สุนทรจามร

ดัชนี เวส สุนทรจามร

วส สุนทรจามร หรือ ครูเวส นักประพันธ์เพลงที่มีผลงานแต่งทำนองให้กับวงสุนทราภรณ์ ร่วมกับครูแก้ว อัจฉริยะกุล ครูสุรัฐ พุกกะเวส เป็นจำนวนมาก เป็นครูเพลงที่มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงในวงการหลายคน เช่น วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี และ ธนิต ผลประเสริฐ เป็นต้น.

22 ความสัมพันธ์: ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)พ.ศ. 2444พ.ศ. 2526พิทยา บุณยรัตพันธุ์มัณฑนา โมรากุลละครวิทยุวินัย จุลละบุษปะวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์สมศักดิ์ เทพานนท์สริ ยงยุทธสุปาณี พุกสมบุญสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์อัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงินอนุสติไทยประพนธ์ สุนทรจามรประสิทธิ์ พยอมยงค์แก้ว อัจฉริยะกุลเพลงไทยสากลเสียงสวรรค์เมื่อวันวานเงิน เงิน เงิน28 มีนาคม5 เมษายน

ฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์)

ฟ้าทะลายโจร (Tears of the Black Tiger) เป็นผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เมื่อ..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและฟ้าทะลายโจร (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พิทยา บุณยรัตพันธุ์

ทยา บุณยรัตพันธุ์ นักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในอดีต เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดธนบุรี จบการศึกษาในระดับมัธยมบริบูรณ์ ที่โรงเรียนสตรีวัดระฆัง เริ่มร้องเพลงครั้งแรกกับวงดนตรีสุนทราภรณ์ เมื่อ..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและพิทยา บุณยรัตพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑนา โมรากุล

มัณฑนา โมรากุล ปัจจุบันมีชื่อจริงว่า มัณฑนา เกียรติวงศ์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2466 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปีพุทธศักราช 2552 อดีตนักร้องหญิงคนแรกของวงดนตรีกรมโฆษณาการและนักร้องรุ่นแรกของวงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและมัณฑนา โมรากุล · ดูเพิ่มเติม »

ละครวิทยุ

ละครวิทยุ เป็นการนำการแสดงที่มีอยู่มาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียง ดังนั้นลักษณะของบทละครวิทยุจึงแตกต่างจากบทละครทั่วไป ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ล นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น ภาพตัวละคร บทละครวิทยุต้องมี บทบรรยาย แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่างๆ เสริมจาก บทละคร ผู้ประพันธ์อาจใช้วิธีบรรยายโดยสอดแทรกไว้ในบทสนทนาของตัวละคร ผู้ควบคุมการแสดง จะต้องมีความสามารถเข้าใจ ตอนไหนจะให้ตัวละครใช้เสียงอย่างไร เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศของเรื่อง ตัวละครสำหรับบทละครวิทยุต้องมีตัวสำคัญประมาณ 3-4 ตัวและต้องเลือกผู้แสดงที่มี เสียงแตกต่างกันมากๆ มิฉะนั้นผู้ฟังจะแยกเสียงไม่ออกว่าเป็นบทของตัวละครตัวไหน.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและละครวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย จุลละบุษปะ

วินัย จุลละบุษปะ (12 มิถุนายน พ.ศ. 2465 — 14 กันยายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตนักร้องนำวงดนตรีสุนทราภรณ์ และหัวหน้าวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และวงสังคีตสัมพัน.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและวินัย จุลละบุษปะ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือวงดนตรีกรมโฆษณาการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยเอื้อ สุนทรสนาน, เวส สุนทรจามร และคณะนักดนตรีวงไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด ซึ่งต้องปิดกิจการลง โดยหลวงสุขุมนัยประดิษฐ ชักชวนให้สมาชิกวง ย้ายเข้าไปสังกัดกรมโฆษณาการ และมีหน้าที่บรรเลงเพลงส่งกระจายเสียง ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ และงานบันเทิงรื่นเริงและงานเต้นรำ ตามคำขอของหน่วยราชการต่างๆ โดยในช่วงนั้นยังคงบรรเลงเพลงสากลที่นำโน้ต และเนื้อเพลงมาจากวงไทยฟิล์ม และเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ในระยะแรก นักดนตรีกรมโฆษณาการ จึงเป็นชุดเดียวกับนักดนตรีจากวงไทยฟิล์ม ซึ่งล้วนแต่เป็นข้าราชการสังกัดกรมศิลปากร โดยมีเอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง และคณะซึ่งประกอบด้วย สังเวียน แก้วทิพย์, สมบูรณ์ ดวงสวัสดิ์, เวส สุนทรจามร, ภิญโญ สุนทรวาท, สริ ยงยุทธ, คีติ คีตากร, สภา กล่อมอาภา, สมบูรณ์ ศิริภาค, ทองอยู่ ปิยะสกุล และสมพงษ์ ทิพยกะลิน ส่วนจำปา เล้มสำราญ มาจากกองดุริยางค์ทหารบก ส่วนนักร้องของวงในยุคถัดมาได้แก่ รุจี อุทัยกร, มัณฑนา โมรากุล, ล้วน ควันธรรม, สุภาพ รัศมีทัต จนในปี..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพานนท์

มศักดิ์ เทพานนท์ (5 มีนาคม พ.ศ. 2467 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) นักดนตรี และนักประพันธ์คำร้องหลากหลายแนวให้กับ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและสมศักดิ์ เทพานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและสริ ยงยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สุปาณี พุกสมบุญ

ปาณี พุกสมบุญ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2467 -) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "เสียงมีดกรีดสังกะสี" ด้วยเสียงที่เล็กและแหลมมากจนเป็นเอกลักษณ์ และเป็นนักร้องต้นฉบับเพลงมองอะไร บ้านใกล้เรือนเคียง(บ้านเรือนเคียงกัน)ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและสุปาณี พุกสมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์

กียรติพงศ์ กาญจนภี (22 กันยายน พ.ศ. 2469 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557) เป็นชื่อจริงของ สุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียง ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล - ผู้ประพันธ์)..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและสุนทรียา ณ เวียงกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน

ลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน เป็น อัลบั้มรวมเพลงเพลงลูกกรุงอมตะ จากละครเวที "เอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน" โดย บริษัท ทรูแฟนเทเชีย จำกัด ได้เรียบเรียงเพลงขึ้นมาใหม่ ซึ่งถ่ายทอดบทเพลงผ่านกลุ่มนักแสดงนำจากละครเวที นำโดยศิลปินจาก ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 ได้แก่ บอย, พัดชา, อ๊อฟ, เปรี้ยว, ว่าน และ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3 ได้แก่ ตุ้ย, มิ้น, ซาร่า ออกวางจำหน่ายทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและอัลบั้มเพลงประกอบละครเวทีเอเอฟเดอะมิวสิเคิล ตอน เงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสติไทย

ป็นเพลงปลุกใจ จังหวะสโลว์-มาร์ช ประพันธ์คำร้องโดย แสงสุวรรณ ทำนองโดย เวส สุนทรจามร บรรเลงและขับร้องโดยวงสุนทราภรณ์ มีวรนุช อารีย์ เป็นผู้ร้องนำ ออกวางจำหน่ายเมื่อ..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและอนุสติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ สุนทรจามร

ประพนธ์ สุนทรจามร มีชื่อจริงว่า นาวาอากาศเอก ประพนธ์ โตจำเริญ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2471 เป็นศิษย์ครูเวส สุนทรจามร มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เสียงสวาท (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) หาดผาแดง ผู้ที่พระเจ้าสาป บุพเพสันนิวาส ชีวิตการทำงานของประพนธ์ เริ่มต้นที่ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว กระทรวงกลาโหมและกระทรวงพาณิชย์ หลังจากนั้นได้ทำงานอยู่บริษัท นครหลวงประกันชีวิต ในช่วงนี้ ครูเวส สุนทรจามร ได้เห็นความสามารถด้านร้องเพลง จึงได้ชักชวนมาร่วมวงดนตรีศิษย์จามร ซึ่งครู ธนิต ผลประเสริฐตั้งขึ้น ประพนธ์เล่าว่า เมื่อครั้งที่มาพบครูเวส สุนทรจามร ครูเวสได้ถามว่าร้องเพลงอะไรได้บ้าง ประพนธ์ก็ได้นำชื่อเพลงที่ร้องได้มาให้ครูเวสดู พอดีกับวินัย จุลละบุษปะ ผ่านเข้ามา แล้วพูดว่า "เพลงของผมทั้งนั้นเลยนี่ครู" ครูเวสเลยให้ร้อง เมื่อเป็นที่ถูกใจแล้ว จึงได้ประพันธ์เพลงให้ร้อง สำหรับเพลงบุพเพสันนิวาสที่สร้างชื่อเสียงให้กับประพนธ์อย่างมากมายนั้น เป็นผลงานที่ครูสุรัฐ พุกกะเวส แต่งร่วมกับครู เวส สุนทรจามร แต่งไว้แต่ยังไม่มีคนร้อง ประพนธ์จึงได้เข้ามาร้อง เมื่อ พ.ศ. 2495 หลังจากนั้น ประพนธ์ก็มีผลงานเพลงออกมาเรื่อย ๆ เช่น หาดผาแดง ดวงใจของพี่ เสียงสวาท กระต่ายกับดวงจันทร์ (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) ปี พ.ศ. 2497 ประพนธ์ สุนทรจามร ได้ลาออกจากบริษัท นครหลวงประกันชีวิต เพื่อเข้ารับราชการทหาร สังกัดกรมสารบัญทหารอากาศ โดยมิได้ร่วมขับร้องเพลงอยู่ในวงดนตรีสุนทราภรณ์เลย ดังนั้น ประพนธ์จึงไม่ใช่นักร้องของสุนทราภรณ์ ในระยะนี้ประพนธ์ได้ร้องเพลงอยู่กับคณะจารุกนก และคณะศิษย์จามรอยู่เนือง ๆ พ.ศ. 2512 ประพนธ์ได้ร้องเพลงหาดผาแดงของ "พรพิรุณ" ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังอีกครั้ง และรับร้องเพลงอยู่ตามไนต์คลับและภัตตาคารอยู่บ้าง ภายหลังจึงได้รับร้องเพลงกับวงธนิตสรณ์ ของครูธนิต ผลประเสริฐ วงดนตรีไตรทิพย์ ของ บุญเลื่อน ไตรพิพัฒน์ และวงดนตรีเอื้อสัมพันธ์ ของ ปรีชา เกียรติประวัติ ปัจจุบัน ประพนธ์ สุนทรจามร ได้เกษียณอายุราชการจากกองทัพอากาศแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2531 แต่รับร้องเพลงอยู่เสมอ ในนามวงดนตรี คีตกานต์ โดยพักอาศัยอยู่ที่ย่านบึงกุ่ม.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและประพนธ์ สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ พยอมยงค์

ประสิทธิ์ พยอมยงค์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2469 - 2 เมษายน พ.ศ. 2553) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล - เรียบเรียงเสียงประสาน) และเจ้าของบทเพลงข้าวนอกนา บ้านเรา รักเธอเสมอ คนเดียวในดวงใจ ฆ่าฉันให้ตายดีกว่า เดือนเอ๋.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและประสิทธิ์ พยอมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว อัจฉริยะกุล

แก้ว อัจฉริยะกุล หรือ ครูแก้ว หรือ แก้วฟ้า (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 — 8 ตุลาคม พ.ศ. 2524) เป็นผู้จัดละครเวที เขียนบทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน์ เจ้าของคณะละครวิทยุ และเป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงอมตะจำนวนมากที่ยังถูกนำมาร้องจนถึงปัจจุบัน อาทิ รำวงวันลอยกระทง, รำวงเริงสงกรานต.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและแก้ว อัจฉริยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงไทยสากล

ลงไทยสากล เป็นเพลงที่ขับร้องในภาษาไทย โดยเริ่มจากนำทำนองไทยเดิมใส่เนื้อร้องบรรเลงและขับร้อง โดยใช้มาตรฐานของโน้ตเพลงแบบสากล จนเป็นเพลงไทยแนวใหม่ โดยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและเพลงไทยสากล · ดูเพิ่มเติม »

เสียงสวรรค์เมื่อวันวาน

รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย รายการเสียงสวรรค์ตะวันฉาย (ชื่อเดิมคือรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน) เป็นรายการเพลงอมตะของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือบทเพลงในแนว "สุนทราภรณ์" ออกอากาศเป็นประจำทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00 น. - 24.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการผลิตรายการ ระหว่างสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย บรรเลงโดยวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ในความควบคุมของ โฉมฉาย อรุณฉาน (นิตยา อรุณวงศ์) ซึ่งรายการนี้ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประเภทรายการเพลงดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช 2549 เมื่อเดือนมีนาคม 2550.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน · ดูเพิ่มเติม »

เงิน เงิน เงิน

งิน เงิน เงิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและเงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เวส สุนทรจามรและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »