สารบัญ
338 ความสัมพันธ์: ชลรัศมี งาทวีสุขบูรันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012ฟุตบอลทีมชาติบริเตนใหญ่ฟีเล (ยานอวกาศ)พ.ศ. 2551พายุไต้ฝุ่นหมาง้อนกริมสวอทน์กวาดาลาฮารา (ประเทศเม็กซิโก)กอร์ตีนาดัมเปซโซกอนเซปซิออนการบินลาว เที่ยวบินที่ 301การบุกยิงชาร์ลีแอบโดการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนการลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดีการลอบสังหารโซเครติส กิโอลิอาสการลอบสังหารเบนาซีร์ บุตโตการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557การสะสมพลังงานในพายุหมุนการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทคการจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549การทิ้งระเบิดดามัสกัสและฮอมส์ พ.ศ. 2561การประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปาการปะทุของโบลกันเดฟูเอโก พ.ศ. 2561การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภา (สหรัฐอเมริกา)การโจมตีรัฐสภาเชชเนีย พ.ศ. 2553กูยาบากีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ฟลายเวทกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - แบนตั้มเวทกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์ฟลายเวทกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวทกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชายภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์มันโตวามาริเนอร์ 9มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370ยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์ยูคอนรัฐบริติชโคลัมเบียรัฐฟลอริดารัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์รัฐมอนแทนารัฐมิสซิสซิปปีรัฐมิสซูรีรัฐมินนิโซตารัฐยูทาห์รัฐวอชิงตันรัฐวิสคอนซินรัฐออริกอน... ขยายดัชนี (288 มากกว่า) »
ชลรัศมี งาทวีสุข
ันตรีหญิงชลรัศมี งาทวีสุข หรือ ทิพย์ ผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ผู้ดำเนินรายการข่าว เช้านี้ประเทศไทย ออกอากาศทุกวันจันทร์-ถึงศุกร์ เวลา 7.00-8.00 น.ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก และยังเป็นผู้ดำเนินรายการคุยยกบ้าน ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 10.30-11.10 น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและชลรัศมี งาทวีสุข
บูรัน
นอวกาศบูรัน (Бура́н, "พายุหิมะ"; Buran) เป็นพาหนะโคจรของโซเวียตรัสเซียที่มีการทำงานและการออกแบบคล้ายคลึงกับกระสวยอวกาศของสหรัฐอเมริกา และพัฒนาโดยหัวหน้านักออกแบบ เกลบ โลซีโน-โลซินสกี แห่งบริษัทจรวดอีเนอร์เจีย ตราบถึงปัจจุบัน บูรันเป็นพาหนะกระสวยอวกาศจากโครงการบูรันของโซเวียตที่ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศก่อนโครงการปิดตัวลง บูรันสำเร็จเที่ยวบินไร้คนบังคับครั้งหนึ่งใน..
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012
การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 (2012 UEFA European Football Championship) หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า ยูโร 2012 (EURO 2012) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 14 จัดโดยสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) โดยการแข่งขันรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ประเทศโปแลนด์และยูเครน ระหว่างวันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012
ฟุตบอลทีมชาติบริเตนใหญ่
ฟุตบอลทีมชาติบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในโอลิมปิก (Great Britain and Northern Ireland Olympic football team; ชื่อย่อ: Team GB) เป็นผู้แทนทีมฟุตบอลชายในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนของสหราชอาณาจักร ซึ่งเข้าแข่งขันในนามบริเตนใหญ่ ภายใต้ตรา “ทีมจีบี” จัดสร้างขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลอังกฤษ (Football Association; FA) ซึ่งมีสถานะเป็นผู้แทนฟุตบอลของสมาคมโอลิมปิกแห่งบริเตน (British Olympic Association) ฟุตบอลทีมชาติสหราชอาณาจักร ไม่ได้เป็นสมาชิกของฟีฟ่า และเข้าแข่งขันเฉพาะในกีฬาโอลิมปิกเท่านั้น ซึ่งไม่มีการจัดเข้าแข่งขันในระดับนานาชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฟุตบอลทีมชาติบริเตนใหญ่
ฟีเล (ยานอวกาศ)
ฟีเล หรือ ไฟลี (Philae) เป็นส่วนลงจอด (lander) หุ่นยนต์ขององค์การอวกาศยุโรปซึ่งไปกับยานอวกาศ โรเซตตา จนลงจอดบนดาวหาง 67พี/ชูรีวมอฟ-เกราซีเมนโค ที่กำหนด หลังออกจากโลกไปแล้วกว่าสิบปี เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 ส่วนลงจอดสามารถลงจอดควบคุม (controlled touchdown) บนนิวเคลียสดาวหางได้สำเร็จเป็นครั้งแรก คาดว่าอุปกรณ์จะได้ภาพแรก ๆ จากผิวดาวหางและทำการวิเคราะห์ ณ ที่เดิมเพื่อหาองค์ประกอบของดาวหาง ฟีเล ถูกเฝ้าติดตามและควบคุมจากศูนย์ปฏิบัติการอวกาศยุโรปที่ดาร์มชตัดท์ ประเทศเยอรมนี ส่วนลงจอดนี้ได้ชื่อตามเกาะไฟลีในแม่น้ำไนล์ซึ่งพบโอบิลิสก์ โดยโอบิลิสก์ดังกล่าวร่วมกับศิลาโรเซตตาถูกใช้ถอดอักษรไฮโรกลิฟอียิปต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฟีเล (ยานอวกาศ)
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและพ.ศ. 2551
พายุไต้ฝุ่นหมาง้อน
ต้ฝุ่นหมาง้อน เป็นพายุไต้ฝุ่นรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายแก่ตอนใต้ของญี่ปุ่น เป็นพายุลูกที่หกที่ได้รับการตั้งชื่อและพายุไต้ฝุ่นลูกที่สองในฤดูไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2554.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและพายุไต้ฝุ่นหมาง้อน
กริมสวอทน์
กริมสวอทน์ (Grímsvötn) เป็นทะเลสาบใต้ธารน้ำแข็งและภูเขาไฟในชื่อเดียวกัน ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของไอซ์แลนด์ กริมสวอทน์ตั้งอยู่ ณ ที่ราบสูงของไอซ์แลนด์ทางฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของชั้นน้ำแข็งปกคลุมวัทนาโจกุล ทะเลสาบมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 64°25′N 17°20′W ที่ระดับความสูง 1,725 เมตร ใต้ทะเลสาบเป็นกระเปาะหินหนืดของภูเขาไฟกริมสวอทน์ กริมสวอทน์เป็นภูเขาไฟชั้นบะซอลต์ ซึ่งมีประวัติการปะทุบ่อยครั้งที่สุดในไอซ์แลนด์ และมีระบบรอยแยกที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากภูเขาไฟส่วนใหญ่อยู่ใต้วัทนาโจกุล การปะทุส่วนใหญ่จึงเกิดขึ้นใต้ธารน้ำแข็งเช่นกัน และปฏิกิริยาระหว่างแมกมากับน้ำที่ละลายจากธารน้ำแข็งทำให้เกิดกิจกรรมการปะทุแบบพรีอะตอมแมกมาติก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกริมสวอทน์
กวาดาลาฮารา (ประเทศเม็กซิโก)
กวาดาลาฮารา (Guadalajara) เป็นเมืองหลวงของรัฐฮาลิสโก ตั้งอยู่ตรงกลางรัฐฮาลิสโกบริเวณตะวันตกของประเทศเม็กซิโก มีประชากร 1,579,174 คน (ค.ศ.2008) ทำให้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเม็กซิโก รองจากเม็กซิโกซิตี เมืองหลวงของประเทศ กวาดาลาฮาราถูกตั้งชื่อตามเมืองกวาดาลาฮารา ในประเทศสเปน เศรษฐกิจของเมืองกวาดาลาฮาราขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรม โดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งมีบริษัทต่างชาติมาลงทุนมากมาย กวาดาลาฮาราเป็นเมืองใหญ่อันดับ 10 ในละตินอเมริกา ในแง่ของประชากร และรายได้ประชาชาติ นอกจากนี้ในปี..2007 นิตยสาร FDi ยังจัดอันดับให้กวาดาลาฮาราเป็น "เมืองแห่งอนาคต" เพราะมีประชากรวัยหนุ่มสาวเป็นจำนวนมาก, มีอัตราการว่างงานต่ำ และมีต่างชาติมาลงทุนเป็นจำนวนมาก กวาดาลาฮาราจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ ในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกวาดาลาฮารา (ประเทศเม็กซิโก)
กอร์ตีนาดัมเปซโซ
กอร์ตีนาดัมเปซโซ (Cortina d'Ampezzo) เป็นเมืองและเทศบาล (โกมูเน) ในจังหวัดเบลลูโน แคว้นเวเนโต ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ในทิวเขา Dolomites เป็นรีสอร์ตกีฬาฤดูหนาวที่เป็นที่นิยม และเป็นที่รู้จักจาก ลานสกี ทิวทัศน์ ที่พัก ร้านค้า และ après-ski scene และเป็นสถานที่จัดโอลิมปิกฤดูหนาว เมื่อ พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกอร์ตีนาดัมเปซโซ
กอนเซปซิออน
กอนเซปซิออน (Concepción) เป็นเมืองในประเทศชิลี เมืองหลักของจังหวัดกอนเซปซิออนและแคว้นบิโอ-บิโอ (หรือเขตที่ 8) เป็นเขตเมืองขยายที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 889,725 คน (สำรวจประชากรปี 2002).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกอนเซปซิออน
การบินลาว เที่ยวบินที่ 301
การบินลาว เที่ยวบินที่ 301 เป็นเที่ยวบินตามปกติภายในประเทศลาวที่เดินทางจากเวียงจันทน์ ไปปากเซ ในวันที่ 16 ตุลาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการบินลาว เที่ยวบินที่ 301
การบุกยิงชาร์ลีแอบโด
มื่อวันที่ 7 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการบุกยิงชาร์ลีแอบโด
การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน
้นทางเดินพายุหมุนเขตร้อนทั่วโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2528 ถึง 2547 แสดงให้เห็นถึงบริเวณต่าง ๆ ที่พายุหมุนเขตร้อนมักพัฒนาขึ้น การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน คือการพัฒนาและทวีกำลังแรงขึ้นของพายุหมุนเขตร้อนในบรรยากาศ โดยกลไกที่เกิดขึ้นของการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน มีความแตกต่างกับกลไกการเกิดของการกำเนิดพายุหมุนละติจูดกลาง โดยการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนจะเกี่ยวข้องกับแกนอบอุ่น เนื่องจากการพาความร้อนอย่างมีนัยสำคัญในสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ซึ่งต้องการความต้องการหลักหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อบอุ่นพอ ความไม่แน่นอนในชั้นบรรยากาศ ความชื้นสูงในโทรโพสเฟียร์ระดับต่ำถึงกลาง มีแรงคอริโอลิสอย่างเพียงพอในการพัฒนาของศูนย์กลางความกดอากาศต่ำ พื้นที่ระดับต่ำหรือหย่อมความกดอากาศต่ำที่มีอยู่เดิม และลมเฉือนแนวตั้งระดับต่ำ พายุหมุนเขตร้อนมีแนวโน้มที่จะพัฒนาในช่วงฤดูร้อน แต่ก็ยังได้รับการตั้งข้อสังเกตกับแอ่งที่มีพายุเกิดมากที่สุด ซึ่งมีแนวโน้มในทุกเดือน วัฎจักรภูมิอากาศ อย่างเช่น ความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้-เอลนีโญ (ENSO) และ ความผันแปรของแมดเดน-จูเลียน สามารถปรับระยะเวลาและความถี่ในการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อนได้ ข้อจำกัดความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน เกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับอุณหภูมิของน้ำในระหว่างทางที่พายุเคลื่อนผ่าน โดยเฉลี่ยทั่วโลก มีพายุหมุนเขตร้อนในระดับพายุโซนร้อน 86 ลูกทุกปี ในจำนวนนั้นทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่น/พายุเฮอร์ริเคน 47 ลูก และ 20 ลูกเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงระดับ 3 ตามมาตราเฮอร์ริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน
การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี
หตุการณ์การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี ประธานาธิบดีลำดับที่ 35 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี
การลอบสังหารโซเครติส กิโอลิอาส
ซเครติส กิโอลิอาส การลอบสังหารโซเครติส กิโอลิอาส เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการลอบสังหารโซเครติส กิโอลิอาส
การลอบสังหารเบนาซีร์ บุตโต
การลอบสังหารเบนาซีร์ บุตโต เกิดขึ้นในวันที่ 27 ธันวาคม 2550 ในราวัลปินดี ประเทศปากีสถาน เบนาซีร์ บุตโต นายกรัฐมนตรีปากีสถานสองสมัย (2531–2533; 2536–2539) และหัวหน้าพรรคประชาชนปากีสถาน พรรคฝ่ายค้านขณะนั้น กำลังรณรงค์หาเสียงก่อนการเลือกตั้งซึ่งมีกำหนดในเดือนมกราคม 2551 มีการยิงปืนใส่เธอหลังการชุมนุมการเมืองที่ Liaquat National Bagh และมีการจุดระเบิดพลีชีพทันทีหลังการยิง มีการประกาศว่าเธอเสียชีวิตเมื่อ 18:16 ตามเวลาท้องถิ่น (13:16 UTC) ที่โรงพยาบาลราวัลปินดี มีผู้เสียชีวิตอีก 24 คนจากการระเบิด บุตโตเคยรอดชีวิตจากความพยายามเอาชีวิตนางคล้ายกันซึ่งฆ่าประชาชนอย่างน้อย 139 คน หลังเธอกลับจากการลี้ภัยสองเดือนก่อน แม้รายงานแรก ๆ ชี้ว่าเธอถูกเศษกระสุนหรือปืนยิง แต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยปากีสถานทีแรกแถลงว่า บุตโตเสียชีวิตเพราะกะโหลกแตกเมื่อแรงระเบิดทำให้ศีรษะเธอชนกับหลังคารับแดดของพาหนะ ผู้ช่วยของบุตโตปฏิเสธฉบับนี้ และแย้งว่า เธอถูกปืนยิงสองนัดก่อนการจุดระเบิด ต่อมา รัฐมนตรีฯ ย้อนรอยจากข้ออ้างก่อนหน้า ในเดือนพฤษภาคม 2550 บุตโตขอการคุ้มครองเพิ่มเติมจากบริษัททหารเอกชน แบล็กวอเตอร์ และสถานธุรกิจอังกฤษ อาร์เมอร์กรุป การสืบสวนเหตุการณ์ของสหประชาชาติเปิดเผยว่า "การลอบสังหารคุณบุตโตควรป้องกันได้หากดำเนินมาตรการรักษาความปลอดภัยเพียงพอ".
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการลอบสังหารเบนาซีร์ บุตโต
การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557
มีการลงประชามติว่าประเทศสกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่ในวันที่ 18 กันยายน 2557 หลังความตกลงระหว่างรัฐบาลสกอตแลนด์และสหราชอาณาจักร มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ซึ่งกำหนดการจัดการลงประชามตินี้ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 ผ่านรัฐสภาสกอตแลนด์เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 และได้รับพระบรมราชานุญาตในวันที่ 17 ธันวาคม 2556 คำถามลงประชามติที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแนะนำจะเป็น "สกอตแลนด์ควรเป็นประเทศเอกราชหรือไม่" ผู้ออกเสียงลงคะแนนตอบได้เพียงใช่หรือไม่ ผู้อยู่อาศัยทุกคนในสกอตแลนด์ที่มีอายุเกิน 16 ปีสามารถออกเสียงลงมติได้โดยมีข้อยกเว้นบางประการ รวมมีกว่า 4 ล้านคน ข้อเสนอเอกราชต้องการคะแนนเสียงข้างมากปรกติจึงจะผ่าน เยสสกอตแลนด์ (Yes Scotland) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักสนับสนุนเอกราช ขณะที่เบตเทอร์ทูเกเธอร์ (Better Together) เป็นกลุ่มรณรงค์หลักคัดค้านเอกราช ขณะที่กลุ่มรณรงค์ พรรคการเมือง ธุรกิจ หนังสือพิมพ์และปัจเจกบุคคลสำคัญอื่นอีกมากเกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน ปัญหาสำคัญที่ถูกหยิบยกระหว่างการรณรงค์มีเงินตราซึ่งสกอตแลนด์หลังได้รับเอกราชจะใช้ รายจ่ายสาธารณะและน้ำมันทะเลเหนือ การนับคะแนนเริ่มหลังปิดการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งเมื่อ 22:00 BST (21:00 UTC) ของวันที่ 18 กันยายน เช้าวันที่ 19 กันยายน 2557 เมื่อนับการลงมติทั้งหมดแล้ว 55.3% ลงมติคัดค้านเอกราช หลังจากนั้น อเล็กซ์ ซัลมอนด์ นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคแห่งชาติสกอตเพื่อแสดงความรับชอบต่อผลประชามต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ พ.ศ. 2557
การสะสมพลังงานในพายุหมุน
การสะสมพลังงานในพายุหมุน (Accumulated cyclone energy หรือย่อว่า ACE) คือมาตราที่ถูกใช้โดยองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ในการแสดงกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนแต่ละลูก และทั้งมวลในฤดูพายุหมุนเขตร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก ซึ่งใช้การประมาณพลังงานลมของพายุหมุนเขตร้อนตลอดอายุขัยของมัน โดยมีการคำนวณในทุก ๆ หกชั่วโมง ค่าเอซีอีของฤดูกาล คือ ผลรวมของค่าเอซีอีของพายุแต่ละลูก ซึ่งการบันทึกทางประวัติศาสตร์ ค่าเอซีอีที่สูงที่สุดในโลกเป็นของพายุเฮอร์ริเคนโอกในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการสะสมพลังงานในพายุหมุน
การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค
การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2550 เวลา 7 นาฬิกาตามเวลาท้องถิ่น (UTC-4) ตามรายงานข่าว มีมือปืนคือนาย โช ซึงฮึย นักศึกษาวัยยี่สิบสามปีจากเกาหลีใต้ในมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค เมืองแบล็กส์เบิร์ก รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา และกราดยิงหลายนัด มีคนเสียชีวิตอย่างน้อย 33 คน และรวมทั้งมือปืนด้วย และบาดเจ็บอย่างน้อย 29 ราย มีรายงานการยิงทั้งที่ตึกเรียนและหอพัก หลังจากมีรายงานได้มีการยกเลิกการเรียนการสอนทั้งหมด เหตุการณ์นี้ทำให้เกิดความสับสนและข้อสงสัยต่อความปลอดภัยของมหาวิทยาลัย ตามรายงานนักศึกษาชาวไทยทั้ง 40 คนปลอดภัยดี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค
การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549
การจลาจลในนูกูอะโลฟ..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549
การทิ้งระเบิดดามัสกัสและฮอมส์ พ.ศ. 2561
วันที่ 14 เมษายน 2561 ตั้งแต่เวลา 04:00 ตามเวลาซีเรีย (UTC+3) สหรัฐ ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรดำเนินการโจมตีทางทหารหลายจุด โดยใช้อากาศยานมีคนขับและขีปนาวุธยิงจากเรือ ต่อตำแหน่งของรัฐบาลหลายแห่งในประเทศซีเรีย ประเทศตะวันตกทั้งสามแถลงว่าดำเนินการโจมตีเพื่อตอบโต้เหตุโจมตีเคมีที่ย่านดูมาของเขตกูตาตะวันออกเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2561 ซึ่งระบุว่าเป็นฝีมือของรัฐบาลซีเรีย ฝ่ายซีเรียปฏิเสธความเกี่ยวข้องและเรียกการโจมตีครั้งนี้ว่าละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ การโจมตีดังกล่าวมีขึ้นก่อนผู้ตรวจสอบจากองค์การห้ามอาวุธเคมีมีกำหนดเดินทางถึงประเทศซีเรียเพื่อสอบสวนเหตุโจมตีเคมี แต่เดิมมีรายงานว่ากระนั้นผู้ตรวจสอบก็ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงจุดที่ใช้ผลิตและบำรุงรักษาอาวุธเคมี มีรายงานจำนวนผู้บาดเจ็บทั้งหมด 9 ราย เป็นพลเรือน 3 ราย และ ทหารซีเรีย 6 ร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการทิ้งระเบิดดามัสกัสและฮอมส์ พ.ศ. 2561
การประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปา
ับหน้าจอแลนดิงเพจ (landing page) ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ อันเป็นเพียงหน้าเชิงสัญลักษณ์เพียงหน้าเดียวระหว่างการปิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม การปิดวิกิพีเดียภาษาอังกฤษเป็นการประท้วงออนไลน์ 24 ชั่วโมงซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปา
การปะทุของโบลกันเดฟูเอโก พ.ศ. 2561
การปะทุของโบลกันเดฟูเอโก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการปะทุของโบลกันเดฟูเอโก พ.ศ. 2561
การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภา (สหรัฐอเมริกา)
การแถลงนโยบายประจำปี พ.ศ. 2546 ต่อรัฐสภา โดยประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภา (State of the Union) เป็นการรายงานประจำปีโดยประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกา การแถลงนโยบายดังกล่าวไม่เพียงรายงานสถานะของชาติเท่านั้น แต่ยังให้ประธานาธิบดีร่างโครงวาระนิติบัญญัติ (ซึ่งเขาต้องการความร่วมมือจากรัฐสภา) และบุริมภาพแห่งชาติของเขา การปฏิบัตินี้มาจากคำสั่งกำหนดต่อประธานาธิบดีในมาตรา 2 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ตามประเพณี ประธานาธิบดีแถลงนโยบายเป็นประจำทุกปี ขณะที่การแถลงนโยบายดังกล่าวไม่จำเป็นต้องเป็นการกล่าวสุนทรพจน์ แต่ประธานาธิบดีทุกคนนับแต่วูดโรว์ วิลสันได้แปลงรายงานการแถลงนโยบายเป็นการกล่าวสุนทรพจน์ก่อนสมัยประชุมร่วมสองสภา ก่อนหน้านั้น ประธานาธิบดีส่วนใหญ่ส่งการแถลงนโยบายเป็นรายงานลายลักษณ์อักษร นับแต่วิลสัน การแถลงนโยบายประจำปีตามปกติมีขึ้นในเดือนมกราคมก่อนสมัยประชุมร่วมสองสภาของสหรัฐอเมริกา และจัดขึ้นในห้องประชุมสภาผู้แทนราษฎรในอาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา สิ่งที่ริเริ่มขึ้นเป็นการสื่อสารระหว่างประธานาธิบดีกับรัฐสภาได้กลายมาเป็นการสื่อสารระหว่างประธานาธิบดีกับประชาชนแห่งสหรัฐอเมริกา นับแต่การประดิษฐ์วิทยุ และจากนั้นโทรทัศน์ สุนทรพจน์นี้ได้รับการกระจายเสียงสดในเครือข่ายส่วนมาก จองรายการตามกำหนด เพื่อเข้าถึงผู้ชมทางโทรทัศน์ใหญ่ที่สุด สุนทรพจน์นี้ ซึ่งเดิมมีขึ้นในช่วงกลางวัน ปัจจุบันจึงมักมีขึ้นในช่วงเย็น หลังเวลา 21.00 น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภา (สหรัฐอเมริกา)
การโจมตีรัฐสภาเชชเนีย พ.ศ. 2553
การโจมตีรัฐสภาเชชเนี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและการโจมตีรัฐสภาเชชเนีย พ.ศ. 2553
กูยาบา
กูยาบา (Cuiabá) เป็นเมืองหลวงของรัฐมาตูโกรสซู ประเทศบราซิล ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์อยู่ตรงกลางของทวีปอเมริกาใต้ กูยาบาจะได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพ 1 ใน 12 เมืองของการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 ณ สนามแห่งใหม่ อาเรนาปังตานัล ทิวทัศน์เมืองกูยาบา หมวดหมู่:เมืองในประเทศบราซิล.
กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ฟลายเวท
มวยสากลสมัครเล่น รุ่น ฟลายเวท 51 กิโลกรัม ทำการแข่งขันที่ เวิร์คเกอร์อินดอร์อารีน่า กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในรุ่นนี้ นักชกชาวไทยที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาคือ สมจิตร จงจอหอ ซึ่งสามารถคว้าเหรียญทองที่สองของไทยใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ฟลายเวท
กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - แบนตั้มเวท
มวยสากลสมัครเล่น รุ่น แบนตั้มเวท 54 กิโลกรัม ทำการแข่งขันที่เวิร์คเกอร์อินดอร์อารีน่า กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในรุ่นนี้ นักชกชาวไทยที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาคือ วรพจน์ เพชรขุ้ม อดีตเหรียญเงินโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 แต่หนนี้ตกรอบ 8 คนสุดท้ายอย่างน่าเสี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - แบนตั้มเวท
กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์ฟลายเวท
มวยสากลสมัครเล่น รุ่น ไลท์ฟลายเวท 48 กิโลกรัม เป็นรุ่นที่น้ำหนักน้อยที่สุดในกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ทำการแข่งขันที่ เวิร์คเกอร์อินดอร์อารีน่า ในรุ่นนี้ นักชกชาวไทยที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาคือ อำนาจ รื่นเริง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์ฟลายเวท
กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวท
มวยสากลสมัครเล่น รุ่น ไลท์เวลเตอร์เวท 54 กิโลกรัม ทำการแข่งขันที่เวิร์คเกอร์อินดอร์อารีน่า กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในรุ่นนี้ นักชกชาวไทยที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาคือ มนัส บุญจำนงค์ ซึ่งสามารถคว้าเหรียญเงินที่สองของไทยใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้งเป็นคว้าเหรียญรางวัลจากโอลิมปิกถึงสองครั้งติดต่อกันอีกด้วย (ใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2004 มนัส บุญจำนงค์คว้าเหรียญทองมาได้).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวท
กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชาย
กีฬายกน้ำหนักรุ่น 56 กก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและกีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - รุ่น 56 กิโลกรัม ชาย
ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์
''ชาเลนเจอร์''ระเบิด คร่าชีวิตลูกเรือทั้งหมด 7 คน ไมเคิล เจ. สมิท, ดิก สโคบี, โรนัลด์ แมคแนร์; (แถวหลัง) เอลลิสัน โอนิซึกะ, คริสตา แมคออลิฟ, เกรกอรี จาร์วิส, จูดิธ เรสนิค ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์
มันโตวา
มันโตวา (Mantova) หรือ แมนชัว (Mantua) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นลอมบาร์เดียในประเทศอิตาลี มันโตวาเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมันโตวา มันโตวาถูกโอบรอบสามด้านด้วยทะเลสาบที่ขุดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ได้น้ำจากแม่น้ำมินโชที่มาจากทะเลสาบการ์ดา ทะเลสาบทั้งสามชื่อ ลาโกซูเปรีโอเร (Lago Superiore-ทะเลสาบใหญ่) ลาโกดีเมซโซ (Lago di Mezzo-ทะเลสาบกลาง) และลาโกอินเฟรีโอเร (Lago Inferiore-ทะเลสาบเล็ก) ทะเลสาบปาโจโล (ทะเลสาบที่สี่) เคยเป็นทะเลสาบสุดท้ายที่ล้อมเมืองแต่มาเหือดแห้งไปในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มันโตวาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและมันโตวา
มาริเนอร์ 9
มาริเนอร์ 9 (Mariner 9 / Mariner Mars '71 / Mariner-I) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาในโครงการมาริเนอร์ที่ช่วยในภารกิจการสำรวจดาวอังคาร ยานออกเดินทางสู่ดาวอังคารเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและมาริเนอร์ 9
มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370
มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370 (MH370) เป็นเที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศที่สูญหายเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2557 ระหว่างบินจากท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ไปท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง ประเทศจีน เที่ยวบินดังกล่าวติดต่อด้วยเสียงครั้งสุดท้ายกับศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศเมื่อเวลา 01:19 MYT ของวันที่ 8 มีนาคม (17:19 UTC ของวันที่ 7 มีนาคม) ขณะบินเหนือทะเลจีนใต้ไม่ถึงชั่วโมงหลังนำเครื่องขึ้น อากาศยานหายจากจอเรดาร์ของผู้ควบคุมจราจรทางอากาศเมื่อเวลา 01:22 MYT เรดาร์ทหารของมาเลเซียยังติดตามอากาศยานขณะที่เครื่องเบี่ยงจากเส้นทางการบินตามแผนและข้ามคาบสมุทรมลายู เครื่องพ้นรัศมีของเรดาร์ทหารมาเลเซียเมื่อเวลา 02:22 ขณะบินเหนือทะเลอันดามัน ห่างจากปีนังทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาเลเซียไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 200 ไมล์ทะเล (370 กิโลเมตร) อากาศยานดังกล่าว ซึ่งเป็นโบอิง 777-200 อีอาร์ บรรทุกสมาชิกลูกเรือชาวมาเลเซีย 12 คน และผู้โดยสาร 227 คนจาก 15 ชาติ เริ่มความพยายามค้นหานานาชาติในอ่าวไทยและทะเลจีนใต้ ที่ซึ่งมองเห็นสัญญาณของเที่ยวบินครั้งสุดท้ายบนเรดาร์สอดส่องดูแลทุติยภูมิ และไม่นานก็ขยายไปช่องแคบมะละกาและทะเลอันดามัน การวิเคราะห์การสื่อสารดาวเทียมระหว่างอากาศยานและเครือข่ายคมนาคมดาวเทียมอินมาร์แซทได้ข้อสรุปว่าเที่ยวบินดำเนินไปจนอย่างน้อย 08:19 และบินลงใต้เข้าสู่มหาสมุทรอินเดียใต้ แม้ยังไม่สามารถกำหนดตำแหน่งแม่นยำได้ ออสเตรเลียรับผิดชอบความพยายามค้นหาเมื่อวันที่ 17 มีนาคม เมื่อการค้นหาย้ายไปมหาสมุทรอินเดียใต้ วันที่ 24 มีนาคม รัฐบาลมาเลเซียสังเกตว่าตแหน่งสุดท้ายที่กำหนดจากการสื่อสารดาวเทียมอยู่ไกลกว่าที่ลงจอดใด ๆ ที่เป็นไปได้ และสรุปว่า "เที่ยวบิน MH370 สิ้นสุดในมหาสมุทรอินเดียใต้" การค้นหาระยะปัจจุบัน ซึ่งเป็นการค้นหาที่ใหญ่และแพงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน คือ การสำรวจพื้นสมุทรอย่างครอบคลุมประมาณ 1,800 กิโลเมตร (970 ไมล์ทะเล) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเพิร์ธ เวสเทิร์นออสเตรเลีย ซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2557 ไม่พบอากาศยานจนวัที่ 29 กรกฎาคม 2558 เมื่อมีชิ้นส่วนกองเศษทะเลถูกพัดขึ้นฝั่งเกาะเรอูนียง ซึ่งต่อมามีการยืนยันว่าเป็นแฟลปเพอรอน (flaperon) จากเที่ยวบินที่ 370 ยังไม่สามารถระบุตำแหน่งลำตัวเครื่องได้ ทำให้เกิดทฤษฎีจำนวนมากเกี่ยวกับการสาบสูญ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและมาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 370
ยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์
นอวกาศลูนาร์โปรสเปกเตอร์ (Lunar Prospector) ถูกส่งขึ้นไปเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เพื่อสำรวจดวงจันทร์ เป็นเวลา 1 ปีในการหาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวและภายในดวงจันทร์ ยานโคจรรอบดวงจันทร์ในระดับสูง 100 กม.ในเวลา 2-3 สัปดาห์อุปกรณ์ 1 ใน 5 อย่าง ก็พบหลักฐานสำคัญ ที่แสดงว่า ในหินใกล้บริเวณขั้วของดวงจันทร์มีผลึกน้ำแข็งอยู่ด้ว.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและยานลูนาร์โปรสเปกเตอร์
ยูคอน
ูคอน (Yukon) เป็นดินแดนทางตะวันตกสุดและเป็นดินแดน ใน 3 ดินแดนที่เล็กที่สุดของประเทศแคนาดา ตั้งชื่อตามแม่น้ำยูคอน ซึ่งคำว่ายูคอนมีความหมายว่า "แม่น้ำใหญ่" ในภาษา Gwich’in ดินแดนนี้ก่อตั้งในปี..
รัฐบริติชโคลัมเบีย
รัฐบริติชโคลัมเบีย (ภาษาอังกฤษ: British Columbia; ภาษาฝรั่งเศส: la Colombie-Britannique) คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศ รัฐบริติชโคลัมเบีย มีเมืองหลวงชื่อว่า "วิคตอเรีย" มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของประเทศ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือเมือง "แวนคูเวอร์" ซึ่งเมืองแวนคูเวอร์นี้ เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเท.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐบริติชโคลัมเบีย
รัฐฟลอริดา
รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐฟลอริดา
รัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์
รินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์ (Prince Edward Island) เป็นรัฐของแคนาดา ประกอบด้วยเกาะในชื่อเดียวกัน เป็นรัฐในกลุ่มรัฐภาคพื้นสมุทรและยังเป็นรัฐที่เล็กที่สุดทั้งในแง่พื้นที่และประชากร (ไม่รวมดินแดน) จากข้อมูลในปี 2009 มีผู้อยู่อาศัยอยู่ 140,402 คน มีพื้นที่ 5,683.91 ตร.กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์
รัฐมอนแทนา
รัฐมอนแทนา (Montana) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกและ เป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ เฮเลนา พื้นที่ประมาณ 60% ของรัฐมอนแทนา มีลักษณะเป็นเทือกเขา ชื่อของรัฐมอนแทนา มาจากภาษาสเปน คำว่า montaña มีความหมายว่า ภูเขา เศรษฐกิจของรัฐมาจากทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต และขณะเดียวกันก็มาจากการท่องเที่ยว โดยมีอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเกลเซียร์ และอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน ในปี 2550 มอนแทนามีประชากร 957,861 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐมอนแทนา
รัฐมิสซิสซิปปี
รัฐมิสซิสซิปปี (Mississippi) เป็นรัฐทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา ชื่อของรัฐมาจากชื่อแม่น้ำมิสซิสซิปปี ที่ไหลผ่านตลอดแนวตะวันตกของรัฐ โดยมีที่มาจากภาษาอินเดียนแดงมีความหมายถึง "แม่น้ำอันยิ่งใหญ่" เมืองหลวงของรัฐคือ แจ็กสัน ในปี 2559 รัฐมิสซิสซิปปีมีประชากร 3,082,495 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐมิสซิสซิปปี
รัฐมิสซูรี
รัฐมิสซูรี เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา ล้อมรอบด้วยรัฐไอโอวา อิลลินอยส์ เคนทักกี เทนเนสซี อาร์คันซอ โอคลาโฮมา แคนซัส และเนแบรสกา มิสซูรีเป็นรัฐที่มีจำนวนประชากรเป็นอันดับที่ 18 ของประเทศ ประกอบด้วย 114 เคาน์ทีและ 1 เมืองอิสระ เมืองหลวงของรัฐคือ เจฟเฟอร์สัน ซิตี้ เมืองขนาดใหญ่ของรัฐเรียงตามลำดับ คือ เซนต์หลุยส์ แคนซัสซิตี สปริงฟิลด์ และโคลัมเบีย ดั้งเดิมนั้น มิสซูรีเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศสจากการซื้อหลุยส์เซียนาและต่อมากลายเป็นดินแดนมิสซูรี ส่วนของดินแดนมิสซูรีได้เข้าร่วมเป็นสหพันธ์ลำดับรัฐที่ 24 ในวันที่ 10 สิงหาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐมิสซูรี
รัฐมินนิโซตา
รัฐมินนิโซตา อยู่ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา รัฐมินนิโซตา (Minnesota) เป็นรัฐที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา มินนิโซตาเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในมิดเวสต์ โดยมีเมืองสำคัญได้แก่เมืองแฝด เซนต์พอลและมินนิแอโปลิส และเมืองสำคัญต่างๆเช่น ดูลูธ ในรัฐมินนิโซตาเป็นรัฐที่มีอุตสาหกรรมอาหารสูงรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกาและทรัพยากรธรรมชาติมากมาย นอกจากนี้ยังมีธุรกิจขนาดใหญ่ที่สำคัญหลายแห่งในรัฐมินนิโซตาได้แก่ เดรีควีน 3เอ็ม ทาร์เกต เบสต์บาย มาโยคลินิก ชื่อเล่นของมินนิโซตา คือ ดินแดนหมื่นทะเลสาบ (The Land of 10,000 Lakes) ในปี 2550 มินนิโซตามีประชากร 5,197,621 คน ทีมกีฬาที่สำคัญได้แก่ มินนิโซตา ไวกิงส์ สถานศึกษาที่สำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยมินนิโซต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐมินนิโซตา
รัฐยูทาห์
รัฐยูทาห์ (Utah) เป็นรัฐทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาร็อกกี มีเมืองหลวงคือซอลต์เลกซิตี เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา เป็นลำดับที่ 45 ในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐยูทาห์
รัฐวอชิงตัน
รัฐวอชิงตัน (Washington) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในวอชิงตันมีธุรกิจชั้นนำของโลกหลายบริษัทได้แก่ โบอิง (ปัจจุบันย้ายไปที่ รัฐอิลลินอยส์) ไมโครซอฟท์ แอมะซอน.คอม นินเทนโดอเมริกา และเศรษฐกิจอื่นได้แก่ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ การทำเหมืองแร่ ป่าไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน วอชิงตัน ดี.ซี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐวอชิงตัน
รัฐวิสคอนซิน
รัฐวิสคอนซิน (Wisconsin) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ตอนกลางของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในเขตมิดเวสต์ ชื่อวิสคอนซินมาจากชื่อแม่น้ำวิสคอนซิน ซึ่งบันทึกในภาษาฝรั่งเศสว่า "Ouisconsin" มาจากอินเดียนแดง หมายถึงดินแดนของหินแดง รัฐวิสคอนซินมีชื่อเสียงในเรื่องของชีสและผลิตภัณฑ์อื่นจากวัว เมืองสำคัญในรัฐวิสคอนซินได้แก่ มิลวอกี แมดิสัน และ กรีนเบย์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยวิสคอนซินในเมืองแมดิสันและเมืองมิลวอกี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ทีมอเมริกันฟุตบอลกรีนเบย์ แพคเกอร์ และ ทีมบาสเกตบอลมิลวอกี บักส์ ในปี 2551 วิสคอนซินมีประชากร 5,601,640 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐวิสคอนซิน
รัฐออริกอน
รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐออริกอน
รัฐออนแทรีโอ
รัฐออนแทรีโอ (Ontario) เป็นรัฐ ตอนกลางของประเทศแคนาดา มีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบจากจำนวนประชากร และใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากรัฐควิเบก เมื่อเทียบจากพื้นที่ ออนแทรีโอมีเขตติดต่อกับรัฐแมนิโทบาทางตะวันตก และรัฐควิเบกทางตะวันออก และสหรัฐอเมริกา (ทางตะวันตกและทางตะวันออก) ของรัฐมินนิโซตา, รัฐมิชิแกน, รัฐโอไฮโอ, รัฐเพนซิลเวเนีย (ฝั่งตรงข้ามของทะเลสาบอีรี) และรัฐนิวยอร์กทางตอนใต้และตะวันออก พรมแดนระหว่างรัฐออนแทรีโอและสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่จะเป็นเขตแดนทางธรรมชาติ เริ่มจาก Lake of the Woods และต่อเนื่องกับเกรตเลกส์ ทั้ง 4: สุพีเรีย, ฮูรอน (รวมถึงอ่าวจอร์เจียน), อิรี และ ออนแทรีโอ จากนั้นก็แม่น้ำเซนต์ลอว์เรนซ์ ใกล้กับคอร์นวอลล์ รัฐออนแทรีโอถือเป็นรัฐเดียวที่ติดต่อกับเกรตเลกส์ เมืองหลวงของรัฐออนแทรีโอคือ เมืองโทรอนโต เป็นเมืองที่มีพลเมืองหนาแน่นที่สุดในแคนาดา และเป็นเขตเมืองใหญ่ เมืองออตตาวาซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศแคนาดา ก็ตั้งอยู่ในรัฐออนแทรีโอนี้ และจากการสำรวจจำนวนประชากรในปี 2006 พบว่ามีประชากร 12,960,282 ครัวเรือน ในรัฐออนแทรีโอ ซึ่งนับเป็น 38.5% ของพลเมืองทั้งหม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐออนแทรีโอ
รัฐอะแลสกา
รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐอะแลสกา
รัฐอิลลินอยส์
รัฐอิลลินอยส์ (Illinois, ออกเสียงเหมือน อิล-ลิ-นอย โดยไม่มีเสียง s) ตั้งอยู่ทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา ชื่ออิลลินอยส์ตั้งโดยนักสำรวจชาวฝรั่งเศส ตามชื่อกลุ่มชาวอินเดียนแดงที่เรียกตัวเองว่า อไลไนเว็ก (Illiniwek) เมืองหลวงของอิลลินอยส์คือ สปริงฟิลด์ เมืองที่มีชื่อเสียงในรัฐอิลลินอยส์ได้แก่ ชิคาโก รหัสย่อของรัฐอิลลินอยส์คือ IL อิลลินอยส์เป็นที่รู้จักในรัฐข้าวโพด เป็นที่ตั้งของเมืองชิคาโก สถานศึกษาที่มีชื่อเสียงได้แก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐอิลลินอยส์
รัฐอินดีแอนา
อินดีแอนา (Indiana) เป็นรัฐที่ 19 ซึ่งอยู่ในตอนกลางของสหรัฐอเมริกา ความหมายของรัฐหมายถึงดินแดนของชาวอินเดียนแดง รัฐอินดีแอนา มีเมืองหลวงชื่ออินเดียแนโพลิส และมีรหัสย่อว่า IN.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐอินดีแอนา
รัฐฮาวาย
รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐฮาวาย
รัฐจอร์เจีย
รัฐจอร์เจีย (Georgia) เป็นรัฐตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา มีรหัสไปรษณีย์ว่า GA.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐจอร์เจีย
รัฐควิเบก
วิเบก (Québec, Quebec) หรือ เกแบ็ก (Québec) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดาอยู่ทางตะวันออกของประเทศ และเป็นรัฐเดียวที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการในระดับรัฐ แต่ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทน รัฐควิเบกมีเมืองหลวงในชื่อเดียวกันคือควิเบก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมอนทรีออล.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐควิเบก
รัฐซัสแคตเชวัน
รัฐซัสแคตเชวัน คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ตอนกลางถัดไปทางตะวันตกของประเทศ เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศที่ไม่มีส่วนที่ติดกับทะเล.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐซัสแคตเชวัน
รัฐนอร์ทดาโคตา
รัฐนอร์ทดาโคตา (North Dakota) เป็นรัฐทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกาติดกับประเทศแคนาดา ชื่อรัฐตั้งชื่อตามอินเดียนแดงเผ่าลาโคตา ที่ได้ตั้งรกรากบริเวณนั้นมาก่อน รัฐนอร์ทดาโคตาได้กลายมาเป็นรัฐของสหรัฐอเมริกาใน ปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนอร์ทดาโคตา
รัฐนอร์ทแคโรไลนา
รัฐนอร์ทแคโรไลนา เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนอร์ทแคโรไลนา
รัฐนิวบรันสวิก
รัฐนิวบรันสวิก (New Brunswick) เป็นรัฐในกลุ่มรัฐภาคพื้นสมุทร 1 ใน 3 ของแคนาดา และเป็นรัฐที่ใช้สองภาษาเป็นหลัก (ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ) ในสมาพันธรัฐ มีเมืองหลวงคือเฟรดริกตัน สถิติจำนวนประชากรของรัฐในปี 2009 อยู่ที่ 748,319 โดยส่วนใหญ่พูดภาษาอังกฤษ แต่ส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาฝรั่งเศสได้ (32%) ส่วนใหญ่คืออคาเดีย ที่มาของชื่อรัฐมาจากการแปลภาษาอังกฤษและฝรั่งเศศของเมืองในบราวน์ชไวก์ ทางตอนเหนือของเยอรมนี บ้านเกิดของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนิวบรันสวิก
รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์
รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ (Newfoundland and Labrador) เป็นรัฐของแคนาดา ทางชายฝั่งแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ เป็นส่วนตะวันออกสุดของรัฐแคนาดา ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ เกาะนิวฟันด์แลนด์ทางตะวันออกของชายฝั่ง และแลบราดอร์บนแผ่นดินใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ จากข้อมูลเดือนมกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์
รัฐนิวยอร์ก
รัฐนิวยอร์ก (New York) เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา เป็นรัฐที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย และรัฐเทกซัส รัฐนิวยอร์กอาณาเขตติดต่อกับ รัฐเวอร์มอนต์ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเพนซิลเวเนีย และในทิศเหนือติดต่อกับประเทศแคนาดา กับรัฐควิเบกและรัฐออนแทรีโอ เมืองขนาดใหญ่ในรัฐนิวยอร์กได้แก่ นครนิวยอร์ก (ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ) บัฟฟาโล รอเชสเตอร์ ยังเกอรส์ และ ซีราคิวส์ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ ออลบานี สถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงได้แก่ น้ำตกไนแอการา และในเขตนครนิวยอร์ก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนิวยอร์ก
รัฐนิวแฮมป์เชียร์
รัฐนิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาในเขตนิวอิงแลนด์ เมืองหลวงของรัฐชื่อ คองคอร์ด เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ แมนเชสเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐแกรนิต" เนื่องจากมีชั้นหินแกรนิตเป็นจำนวนมาก การท่องเที่ยวในนิวแฮมป์เชียร์ที่สำคัญได้แก่สกีในหน้าหนาว และการปีนเขาในหน้าร้อน รัฐนิวแฮมป์เชียร์เป็นที่ตั้งของ สนามแข่งรถนานาชาตินิวแฮมป์เชียร์ (New Hampshire International Speedway) สนามแข่งรถที่ยาวที่สุดในสหรัฐอเมริกา ใช้ในการแข่งขันรถ ลาวดอนคลาสสิก ในปี 2550 นิวแฮมป์เชียร์มีประชากร 1,315,828 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนิวแฮมป์เชียร์
รัฐนิวเจอร์ซีย์
รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐนิวเจอร์ซีย์
รัฐแมริแลนด์
รัฐแมริแลนด์ (Maryland) เป็นรัฐทางฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และอยู่ทางตอนใต้ของรัฐเพนซิลเวเนีย เมืองหลวงของรัฐคือ แอนแนโพลิส เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ บอลทิมอร์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยจอหนส์ฮอปกินส์ และ มหาวิทยาลัยแมริแลนด์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ บอลทิมอร์ โอเรี่ยลส์ (เบสบอล) และ บอลทิมอร์ เรเวนส์ (อเมริกันฟุตบอล) จุดสูงสุดในรัฐคือภูเขาแบ็กโบน และจุดต่ำสุดคือมหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแมริแลนด์
รัฐแมสซาชูเซตส์
รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) เป็นรัฐหนึ่งในเขตนิวอิงแลนด์ ในสหรัฐอเมริกา มีมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มหาวิทยาลัยทัฟส์ ประกอบไปด้วย 50 เมืองขนาดใหญ่ และ 301 เมืองขนาดเล็กใน 14 เคาน์ตี เมืองขนาดใหญ่ในรัฐได้แก่ บอสตัน สปริงฟิลด์ วูสเตอร์ โลเวลล์ บล็อกตัน และเคมบร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแมสซาชูเซตส์
รัฐแมนิโทบา
รัฐแมนิโทบา (Manitoba) เป็นรัฐบนที่ราบแพร์รีแคนาดา ของแคนาดามีพื้นที่ 649,950 ตร.กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแมนิโทบา
รัฐแอริโซนา
รัฐแอริโซนา (Arizona) เป็นรัฐขนาดใหญ่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ติดกับประเทศเม็กซิโกทางทิศใต้ เป็นหนึ่งในสี่รัฐมุมซึ่งมุมทางตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐชนกับอีก 3 รัฐพอดี เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐคือ ฟีนิกซ์ เมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ทูซอน และเมซา ภูมิประเทศส่วนใหญ่ในรัฐมีลักษณะเป็นทะเลทราย มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยแอริโซนาสเตต และ มหาวิทยาลัยแอริโซนา สถานท่องเที่ยวที่สำคัญของรัฐคือ แกรนด์แคนยอน และ แอนเทโลปแคนยอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ แอริโซนา คาร์ดินาลส์ และ ฟีนิกซ์ ซันส์แกรนด์แคนยอน ในปี 2551 แอริโซนามีประชากรประมาณ 6,338,755 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแอริโซนา
รัฐแอละแบมา
รัฐแอละแบมา (Alabama) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกามีพื้นที่ทั้งหมด 135,775 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 4,447,100 คน ทางทิศเหนือของรัฐจรดรัฐเทเนสซี ทิศตะวันออกจรดรัฐจอร์เจีย ทิศใต้จรดรัฐฟลอริดาและอ่าวเม็กซิโก และทิศตะวันตกจรดรัฐมิสซิสซิปปี รัฐแอละแบมาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 30 และเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 24.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแอละแบมา
รัฐแอลเบอร์ตา
รัฐแอลเบอร์ตา คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศที่ไม่มีส่วนที่ติดกับทะเล รัฐแอลเบอร์ตาจัดเป็นรัฐที่เจริญในด้านต่าง ๆ มากที่สุดใน 3 รัฐบนทุ่งหญ้าแพร์รีของแคนาดา รัฐแอลเบอร์ตาเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่คล้ายกับประเทศฝรั่งเศสและรัฐเทกซัสของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีประชากรอาศัยอยู่ราวๆ 3.7 ล้านคน ในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแอลเบอร์ตา
รัฐแทสเมเนีย
กาะแทสเมเนีย เป็นรัฐหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ห่างออกไปราว 240 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแทสเมเนีย
รัฐแคลิฟอร์เนีย
รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐแคลิฟอร์เนีย
รัฐโรดไอแลนด์
รัฐโรดไอแลนด์ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ รัฐโรดไอแลนด์และนิคมพรอวิเดนซ์ (The State of Rhode Island and Providence Plantations) หรือรัฐโรดไอแลนด์ (Rhode Island) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ในเขตนิวอิงแลนด์ รัฐโรดไอแลนด์เป็น 1 ใน 13 รัฐเริ่มต้นก่อนการรวมตัวของรัฐอื่นในช่วงการปฏิวัติอเมริกา โรดไอแลนด์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐมหาสมุทร" (The Ocean State) โดยทุกส่วนในรัฐโรดไอแลนด์ห่างจากมหาสมุทรไม่เกิน 48 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐโรดไอแลนด์
รัฐโอคลาโฮมา
รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐโอคลาโฮมา
รัฐโนวาสโกเชีย
รัฐโนวาสโกเชีย (Nova Scotia) เป็นรัฐในแคนาดา ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของแคนาดา เป็นรัฐที่มีพลเมืองหนาแน่นที่สุดของแคนาดาทางฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองหลวงคือ แฮลิแฟกซ์ เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของรัฐ รัฐโนวาสโกเชียยังเป็นรัฐที่เล็กเป็นอันดับ 2 ของแคนาดา กับพื้นที่ 55,284 ตร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐโนวาสโกเชีย
รัฐไวโอมิง
รัฐไวโอมิง (Wyoming) เป็นรัฐตั้งอยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ภูมิประเทศภายในรัฐมีลักษณะเป็นเทือกเขา เมืองหลวงของรัฐคือ ไชแอนน์ รัฐไวโอมิงเป็นรัฐที่มีประชากรน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีประชากร 493,782 คน ในขณะเดียวกันมีพื้นที่รัฐเป็นอันดับ 10 ของประเทศ มีขนาด 253,554 กม.² รัฐไวโอมิงมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือ อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน อุทยานแห่งชาติแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ในปี 2550 ไวโอมิงมีประชากร 522,830 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐไวโอมิง
รัฐไอดาโฮ
รัฐไอดาโฮ (Idaho) เป็นเป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยมีเมืองหลวงชื่อ บอยซี (Boise) และมีรหัสย่อว่า ID.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐไอดาโฮ
รัฐไอโอวา
อโอวา (Iowa) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา อาณาเขตติดต่อกับรัฐอิลลินอยส์ทางด้านตะวันออก รัฐเนแบรสกาทางด้านตะวันตก รัฐมิสซูรีทางด้านใต้ รัฐมินนิโซตา รัฐวิสคอนซิน และรัฐเซาท์ดาโคตา ทางด้านเหนือ ไอโอวาเป็นที่รู้จักเป็นแหล่งผลิตที่สำคัญของข้าวโพด หมู และน้ำมันเอทานอล มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของรัฐไอโอวาได้แก่ มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต มหาวิทยาลัยไอโอวา และ มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นไอโอวา ไอโอวาจะได้รับการสนใจในช่วงเลือกตั้งประธานาธิบดี เนื่องจากเป็นรัฐแรกที่มีการคอคัส ชื่อรัฐไอโอวาตั้งชื่อตาม ชาวอินเดียแดง เผ่าไอโอว.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐไอโอวา
รัฐเพนซิลเวเนีย
รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเพนซิลเวเนีย
รัฐเมน
รัฐเมนรัฐทางตะวันออกสุด ของสหรัฐอเมริกา thumb รัฐเมน (Maine) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของสหรัฐอเมริกา และตั้งอยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ชื่อของรัฐตั้งมาจากชื่อจังหวัดหนึ่งในฝรั่งเศสในชื่อเดียวกัน รัฐเมนมีชื่อเสียงในด้านของสภาพภูมิประเทศที่เป็นป่าสวยงาม และสถานพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้อุณหภูมิของอากาศมีการแตกต่างกันมากในช่วงฤดูหนาว จะต่ำลงจนถึงประมาณ -25° เซลเซียส และในหน้าร้อนจะอยู่ประมาณ 30° เซลเซี.
รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย
รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย (West Virginia) เป็นรัฐในเขตแอปพาเลเชีย ทางภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเวอร์จิเนียทางตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเคนทักกีทางตะวันตกเฉียงใต้ รัฐโอไฮโอทางตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐเพนซิลเวเนียทางเหนือ (ค่อนไปทางตะวันออก) และแมริแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีชาร์ลสตันเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐ รัฐเวสต์เวอร์จิเนียมีสถานะเป็นรัฐภายหลังจากที่ประชุมวีลลิง เมื่อปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย
รัฐเวอร์มอนต์
รัฐเวอร์มอนต์ (Vermont) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ อยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ในอดีตรัฐเวอร์มอนต์เป็นที่อยู่อาศัยของอินเดียนแดงเผ่าอิโรควอยส์ เผ่าอัลกอนเควียน และเผ่าอเบนากิ โดยทางฝรั่งเศสได้ยึดครองมาในช่วงตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกา และได้เสียให้กับอังกฤษในช่วงสงครามในเวลาต่อมา รัฐเวอร์มอนต์มีชื่อเสียงในด้านของวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งรวมถึง สกีรีสอร์ตที่สำคัญหลายแห่ง เวอร์มอนต์ยังคงมีชื่อเสียงในด้านผลิตภัณฑ์จากวัวและเมเปิลไซรัป เมืองหลวงของรัฐคือ มอนต์เพเลียร์ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ เบอร์ลิงตัน ในปี 2550 เวอร์มอนต์มีประชากร 621,254 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเวอร์มอนต์
รัฐเวอร์จิเนีย
รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเวอร์จิเนีย
รัฐเทนเนสซี
รัฐเทนเนสซี (Tennessee) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกา ชื่อของรัฐเทนเนสซีถูกบันทึกครั้งแรกโดยฮวน ปาร์โด นักสำรวจชาวสเปน ภายใต้ชื่อ "Tanasqui" ในปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเทนเนสซี
รัฐเท็กซัส
ท็กซัส (Texas) เป็นรัฐที่อยู่ทางใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 695,622 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 22.8 ล้านคน เท็กซัสเป็นรัฐที่ใหญ่เป็นอันดับสองทั้งพื้นที่และประชากร รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับที่ 28 ในปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัฐเท็กซัส
รัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605
รัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605 (หรือ รัสไลน์ เที่ยวบินที่ 243) เป็นเที่ยวบินตามกำหนดการของสายการบินรัสแอร์ ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของบริการรัสไลน์ ระหว่างท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และท่าอากาศยานเปโตรซาวอดสก์ อากาศยานที่ใช้เป็นแบบตูโปเลฟ ตู 134-เอ3 เลขทะเบียน RA-65691 ซึ่งประสบอุบัติเหตุตกขณะกำลังเดินทางเข้าสู่เปโตรซาวอดสก์ไม่นานหลังจาก 23.40 น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605
รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก
รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ เป็นรายชื่อของตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก โดยตลาดหลักทรัพย์เป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายหุ้น นอกจากนี้ยังมีตลาดอนุพันธ์และตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าอีกด้ว.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก
รายชื่อแผ่นดินไหวนำและแผ่นดินไหวตามแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554
นี่คือ รายชื่อแผ่นดินไหวนำและแผ่นดินไหวตามแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 และจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นประสบแผ่นดินไหวตามมากกว่า 900 ครั้ง นับแต่วันที่ 11 มีนาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรายชื่อแผ่นดินไหวนำและแผ่นดินไหวตามแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554
รายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์
้านล่างนี้เป็น รายชื่อเวลาเปิดและเวลาปิดของตลาดหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายล่วงหน้าทั่วโลก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์
รายการสุริยุปราคาในสมัยโบราณ
นี่คือรายชื่อสุริยุปราคาที่คัดเลือกมาในสมัยโบราณ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรายการสุริยุปราคาในสมัยโบราณ
ริเบรา
ริเบรา (Rivera) เป็นเมืองหลักของจังหวัดริเบรา ประเทศอุรุกวัย ตั้งอยู่บนเส้นเขตแดนติดกับประเทศบราซิล ตรงข้ามเมืองซังตานาดูลีวราเม็งตูของประเทศบราซิล เมืองมีประชากรราว 200,000 คน จากข้อมูลสำรวจประชากรในปี..
รีอูบรังกู
รีอูบรังกู (Rio Branco, แม่น้ำขาว) เป็นเมืองในประเทศบราซิล ในรัฐอาเกร ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำอาเกร ทางตอนเหนือของประเทศบราซิล เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐ มีประชากร 305,954 คน เกือบครึ่งหนึ่งของประชากรรัฐ (ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและรีอูบรังกู
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555
ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556
ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558
ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561
ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560
ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560
ูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560
ลากวีลา
ลากวีลา (L'Aquila มีความหมายว่า "นกอินทรี") เป็นเมืองทางภาคกลางของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักทั้งของแคว้นอาบรุซโซและจังหวัดลากวีลา มีจำนวนประชากร 72,913 คน แต่ในช่วงกลางวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 100,000 คนเนื่องจากมีผู้เข้ามาเรียน ค้าขาย ทำงาน และท่องเที่ยว เมืองนี้ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลางบนเนินเขาลูกหนึ่งในหุบเขาอันกว้างขวางของแม่น้ำอาแตร์โน-เปสการา ล้อมรอบด้วยเทือกเขาแอเพนไนน์ โดยมียอดเขากรันซัสโซดีตาเลียซึ่งเป็นภูเขาสูงและมีหิมะปกคลุมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง ลากวีลาเป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคกลาง ถนนแคบ ๆ ในตัวเมืองตัดกันจนเหมือนเป็นเขาวงกต มีโบสถ์อาคารสมัยบารอกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตั้งอยู่เรียงราย จนกระทั่งมุ่งไปสู่จัตุรัสที่สง่างาม เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยลากวีลา เมืองนี้จึงเป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่มีชีวิตชีวาแห่งหนึ่งและมีสถาบันทางวัฒนธรรมมากมาย ได้แก่ โรงละคร วงดุริยางค์ซิมโฟนี สถาบันวิจิตรศิลป์ เรือนเพาะชำของรัฐ และสถาบันภาพยนตร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและลากวีลา
ลุกกา
ลูคคา (Lucca) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นตอสคานาทางตอนกลางของประเทศอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแซร์คิโอในบริเวณที่ราบที่ไม่ไกลจากทะเลลิกูเรียน ลูคคาเป็นเมืองหลวงของจังหวัดลูคคา เป็นเมืองที่ยังมีกำแพงเมืองจากยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาล้อมรอบ และลักษณะศูนย์กลางของตัวเมืองยังไม่เปลี่ยนแปลงเท่าใดนักจากยุคกลาง.
วอสตอค 1
วอสตอค 1 (Vostok 1) เป็นภารกิจอวกาศครั้งแรกในโครงการวอสตอค และเป็นครั้งแรกของการบินอวกาศที่มีมนุษย์ขึ้นไปในประวัติศาสตร์ วอสตอค 3เคเอถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและวอสตอค 1
วาฮากา
วาฮากา (Ciudad de Oaxaca/Oaxaca de Juárez) เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของรัฐวาฮากา รัฐมีพื้นที่ 85,48 กม² (32,820.2 ตร.ไมล์) เมืองมีประชากร 593,522 คน (ค.ศ.
วิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561
ในปี 2560 ประเทศเกาหลีเหนือดำเนินการทดสอบขีปนาวุธและนิวเคลียร์ซึ่งแสดงความสามารถของประเทศในการปล่อยขีปนาวุธทิ้งตัวไกลเกินภูมิภาคประชิดและแนะว่าขีดความสามารถอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือกำลังพัฒนาในอัตราเร็วกว่าที่ประชาคมข่าวกรองสหรัฐเคยประเมินไว้เดิม เหตุนี้ ร่วมกับการซ้อมรบร่วมสหรัฐ–เกาหลีใต้ที่จัดเป็นประจำในเดือนสิงหาคม 2560 เช่นเดียวกับการขู่ของสหรัฐ เพิ่มความตึงเครียดระหว่างประเทศทั้งในและนอกภูมิภาค NYT, August 9, 2017.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและวิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561
วีตอเรีย
วีตอเรีย (Vitória) เป็นเมืองหลวงของรัฐเอสปีรีตูซานตู ประเทศบราซิล ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ในอ่าวที่แม่น้ำบรรจบกับทะเล ก่อตั้งในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและวีตอเรีย
สกายแล็บ 3
กายแล็บ 3 (SL-3 และ SLM-2) เป็นภารกิจที่มีมนุษย์ควบคุมชาวอเมริกันคนแรกที่สองไปยังสถานีอวกาศสกายแล็บ ภารกิจเริ่มต้นในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสกายแล็บ 3
สายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771
การบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771 เป็นเที่ยวบินผู้โดยสารระหว่างประเทศของสายการบินอัฟริคิยาห์แอร์เวย์ ซึ่งประสบอุบัติเหตุตกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771
สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ
ำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (International Bureau of Weights and Measures, Bureau international des poids et mesuresอ่านว่า บูโรแองแตร์นาเซียนาลเดปัวเซเมอซูร์ แปลตรงตัวคือ สำนักระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งและการวัด ย่อ BIPM เบอีเปเอ็ม หรือบีไอพีเอ็ม) เป็นองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานหน่วยชั่งตวงวัด จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาเมตริก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ
สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
กิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตร มีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558
สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ริยุปราคาเต็มดวง 22 กรกฎาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
สุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557
ริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557
สถานีอวกาศ
ำลองของสถานีอวกาศนานาชาติสมบูรณ์แบบ ในปี พ.ศ. 2549 สถานีอวกาศ (Space station เป็นสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบโดยมนุษย์ เพื่อใช้เป็นที่อยู่การดำรงชีพในอวกาศ โดยอยู่ในวงโคจรต่ำ (LEO) สถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station) หรือ ISS เป็นห้องปฏิบัติการลอยฟ้าซึ่งโคจรรอบโลกที่ระยะสูง 410 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 27,744 กิโลเมตร/ชั่วโมง โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 92 นาที สร้้างขึ้นด้วยความร่วมมือจาก 16 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยียม เนเธอร์แลน์ สเปน อังกฤษ สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และบราซิล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้นคว้าและทดลองทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา วัสดุศาสตร์ ชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ เนื่องจากสถานีอวกาศอยู่ในสภาพไร้แรงโน้มถ่วง นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถทำการทดลองหรือประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถกระทำบนพื้นผิวโลกได้ ดังนั้นสถานีอวกาศนานาชาติจึงมีความสำคัญต่ออนาคตของมนุษยชาติเป็นอย่างมาก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสถานีอวกาศ
สถานีอวกาศมีร์
นีอวกาศมีร์ (Мир; โลก และ สันติภาพ) เป็นสถานีอวกาศที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของรัสเซีย และนับเป็นสถานีวิจัยถาวรระยะยาวแห่งแรกในอวกาศของมนุษยชาติ นักบินอวกาศจากหลายชาติได้ใช้งานสถานีอวกาศแห่งนี้ผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศ สถานีประกอบด้วยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล แต่ละส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสู่อวกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสถานีอวกาศมีร์
สถานีอวกาศสกายแล็บ
กายแล็บ (Skylab) เป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา และเป็นสถานีอวกาศแห่งที่สองของโลกที่มีลูกเรืออยู่ปฏิบัติงาน ถัดจากสถานีอวกาศซัลยุตของสหภาพโซเวียต สกายแล็บโคจรอยู่ในวงโคจรของโลกตั้งแต่ ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสถานีอวกาศสกายแล็บ
สถานีอวกาศนานาชาติ
นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสถานีอวกาศนานาชาติ
สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
งครามอังกฤษ-แซนซิบาร์ (Anglo-Zanzibar War) เป็นการสู้รบระหว่างสหราชอาณาจักรและรัฐสุลต่านแซนซิบาร์ในวันที่ 27 สิงหาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส
ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด
ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด หมายถึงออฟเซต (ความเฉ) ของเวลานาฬิกาจากเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ส่วนมากให้ไว้เป็นชั่วโมงเต็มหรือชั่วโมงกับนาที เขตเวลาหลายเขตนำออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัดไปใช้สองออฟเซต นั่นคือออฟเซตสำหรับเวลามาตรฐานและออฟเซตสำหรับเวลาออมแสง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด
อัดจารา
อัดจารา (Adjara აჭარა) เป็น สาธารณรัฐปกครองตนเอง ของ จอร์เจีย ตั้งอยู่ในมุมทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจอร์เจีย ทางทิศใต้ติด ตุรกี และติดทะเลดำทางด้านตะวันออก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอัดจารา
อาเรซีโบ
อาเรซีโบ (Arecibo) เป็นจังหวัดหนึ่งใน 78 จังหวัดทางตอนเหนือของเปอร์โตริโก ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศเหนือค่อนไปทางทิศตะวันตกของเกาะเปอร์โตริโก ห่างจากซานฮวน เมืองหลวงของเปอร์โตริโก ประมาณ 80 กิโลเมตร ชาวสเปนเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอาเรซีโบ
อิหร่านแอร์ เที่ยวบินที่ 277
อิหร่านแอร์ เที่ยวบินที่ 277 เป็นเที่ยวบินรับส่งผู้โดยสารภายในประเทศ ซึ่งประสบอุบัติเหตุตกหลังจากพยายามทำการบินไปใหม่ (go-around) ระหว่างระยะสุดท้ายในการร่อนลงในสภาพอากาศที่เลวร้ายในท่าอากาศยานโอรุมิเยห์ แคว้นอาเซอร์ไบจานตะวันตก ประเทศอิหร่าน เครื่องบินที่ประสบอุบัติเหตุดังกล่าว เป็น อิหร่านแอร์ โบอิง 727-286 เอดีวี หมายเลขทะเบียน EP-IRP.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอิหร่านแอร์ เที่ยวบินที่ 277
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501 (QZ8501/AWQ8501) เป็นเที่ยวบินโดยสารระหว่างประเทศ เส้นทางการบินจากเมืองซูราบายา ประเทศอินโดนีเซีย ไปประเทศสิงค์โปร์ ปฏิบัติการโดยอากาศยานแอร์บัส เอ 320-216 ของอินโดนีเซียแอร์เอเชีย ทะเบียน PK-AXC สูญหาย เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2557 บนเครื่องมีผู้โดยสาร 155 คน ลูกเรือ 7 คน พบซากเครื่องบินอีก 2 วันให้หลัง บริเวณช่องแคบการีมาตา ห่างจากบริเวณที่สูญหาย 10 กิโลเมตร อินโดนีเซียแอร์เอเชียเป็นบริษัทในเครือสายการบินแอร์เอเชียของมาเลเซี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501
อุทยานโอลิมปิกลอนดอน
อุทยานโอลิมปิกลอนดอน (London Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาและสวนสาธารณะซึ่งจัดสร้างขึ้น สำหรับกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 และการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012 ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของลอนดอน ประเทศอังกฤษ ติดกับพื้นที่ขยายของย่านสแตรตเฟิร์ด (Stratford) ภายในมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก และสนามกีฬานานาชนิด รวมทั้งสนามกีฬาโอลิมปิกและศูนย์กีฬาทางน้ำ หลังจากโอลิมปิกผ่านไป อุทยานแห่งนี้จะเปลี่ยนชื่อเป็น “อุทยานโอลิมปิกราชินีเอลิซาเบธ” (Queen Elizabeth Olympic Park) เพื่อเป็นอนุสรณ์ในวโรกาส พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรStaff (7 October 2010).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอุทยานโอลิมปิกลอนดอน
อูร์บีโน
อูร์บีโน (Urbino) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเปซาโรและอูร์บีโน แคว้นมาร์เค ประเทศอิตาลี อูร์บีโนเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวโดยเฉพาะในสมัยของเฟเดรีโก ดา มอนเตเฟลโตร ดยุกแห่งอูร์บีโนระหว่าง..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอูร์บีโน
อธิกวินาที
อธิกวินาที (leap second) คือ วินาทีที่ปรับเพิ่มขึ้นหรือลดลง เพื่อรักษามาตรฐานการประกาศเวลาให้ใกล้เคียงกับเวลาสุริยะ (UT1) โดยเฉลี่ย เนื่องด้วยการประกาศเวลามาตรฐานมีพื้นฐานอยู่บนเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) ซึ่งรักษาไว้ด้วยนาฬิกาอะตอมที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำสูง แต่เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลง อาทิ การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก แผ่นดินไหว ปริมาณน้ำในมหาสมุทร ทำให้อัตราการหมุนของโลกช้าลงหรือเร็วขึ้น ถึงแม้จะเล็กน้อยแต่ก็อาจทำให้เวลาทั้งสองเกิดความแตกต่าง จึงต้องมีการปรับเวลาให้ใกล้เคียงกัน การปรับอธิกวินาทีปัจจุบันควบคุมโดย International Earth Rotation and Reference Systems Service (IERS) ซึ่งก่อนหน้านั้นควบคุมโดย Bureau International de l'Heure (BIH) จนถึง 1 มกราคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและอธิกวินาที
ฮายาบูสะ2
ูสะ2 (Hayabusa2) เป็นโครงการสำรวจและเก็บตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยกลับสู่โลก ดำเนินงานโดยองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) ถือเป็นภารกิจต่อจากภารกิจฮายาบูสะ ซึ่งประสบความสำเร็จในการสำรวจดาวเคราะห์น้อย 25143 อิโทคาวะไปเมื่อปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและฮายาบูสะ2
จันทรายาน-1
ันทรายาน (चंद्रयान-1, Telugu:చంద్రయాన్-1) เป็นยานอวกาศสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ของอินเดีย ออกแบบและสร้างโดยองค์การวิจัยด้านอวกาศแห่งอินเดีย (Indian Space Research Organisation - ISRO) ส่งขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 22 ตุลาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรายาน-1
จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558
ันทรุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 27 ถึง 28 กันยายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558
จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561
ันทรุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561
จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557
ันทรุปราคาเต็มดวง เกิดขึ้นในวันที่ 15 เมษายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557
จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558
ันทรุปราคาเต็มดวง จะเกิดขึ้นในวันที่ 4 เมษายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558
จันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554
ันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554
จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553
ันทรุปราคา 20.28 น. UTC ถ่ายจากรัฐฟลอริดา จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553
จูโน (ยานอวกาศ)
นอวกาศจูโน ยานอวกาศจูโน (Juno) เป็นภารกิจเขตแดนใหม่ของนาซา ไปยังดาวพฤหัสบดี จูโนถูกปล่อยขึ้นจากสถานีกองทัพอากาศเคปคานาเวอเรล เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและจูโน (ยานอวกาศ)
ธงประมวลสากล
งประมวลบนสะพานเดินเรือของเรือสินค้า ''SS Jeremiah O'Brien'' ระบบธงประมวลสากล (International maritime signal flags) เป็นวิธีการแทนตัวอักษรแต่ละตัวอักษรในสัญญาณไปสู่เรือหรือจากเรือ เป็นส่วนหนึ่งของประมวลสากล (INTERCO) ราวแขวนธงสัญญาณบนเรือรบ ''USS North Carolina (BB-55) '' มีวิธีการต่างๆที่ธงสามารถใช้เป็นสัญญาณคือ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและธงประมวลสากล
ดอว์น (ยานอวกาศ)
นสำรวจอวกาศ ดอว์น (Dawn) เป็นยานสำรวจอวกาศขององค์การนาซาแบบใช้หุ่นยนต์ควบคุม ถูกส่งไปในภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อยดวงที่ใหญ่ที่สุด 2 ดวงในแถบดาวเคราะห์น้อย คือ ดาวเคราะห์น้อยเวสตา และดาวเคราะห์แคระ ซีรีส ดอว์นขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 กันยายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดอว์น (ยานอวกาศ)
ดาวอังคาร
วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดาวอังคาร
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน
วเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน (Wilkinson Microwave Anisotropy Probe; WMAP) หรือ ดาวเทียมดับเบิลยูแมป ชื่อเดิมคือ แมป (MAP) และ เอ็กพลอเรอร์ 80 (Explorer 80) เป็นยานอวกาศที่วัดความแตกต่างของอุณหภูมิการแผ่รังสีความร้อนที่หลงเหลืออยู่จากเหตุการณ์บิกแบง หรือที่เรียกว่า การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล โดยการตรวจวัดไปทั่วท้องฟ้า หัวหน้าโครงการคือศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ แอล.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน
ดาวเทียมโอซุมิ
อสุมิ (ภาษาญี่ปุ่น おおすみ, Ōsumi) เป็น ดาวเทียมดวงแรกของญี่ปุ่น และเป็นดวงแรกของเอเชีย ทำให้ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ 4 (ถัดจากฝรั่งเศส) ที่ส่งดาวเทียมสู่วงโคจรด้วยตนเอง ยิงขึ้นสู่วงโคจรเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดาวเทียมโอซุมิ
ดาวเทียมไทยคม
วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดาวเทียมไทยคม
ดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2
อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย 2 (The Amazing Race Asia 2) เป็นปีที่สองของรายการเรียลลิตี้โชว์ทางโทรทัศน์ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 10 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ สำหรับซีซั่นนี้เริ่มออกอากาศตอนแรกทางช่องเอเอกซ์เอ็น ในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2
ดิจิตอลมอนสเตอร์ เซโวลูชัน
ตอลมอนสเตอร์ เซโวลูชัน (ตามต้นฉบับอ่าน X-e รวมเป็นพยางค์เดียวคือ เซ) เป็นภาพยนตร์การ์ตูนชุดดิจิตอลมอนสเตอร์ลำดับที่ 8 ภาพยนตร์ตอนนี้เป็นภาพยนตร์ตอนแรกในชุดดิจิตอลมอนสเตอร์ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ในประเทศญี่ปุ่นก่อนที่จะลงโรงภาพยนตร์ในภายหลัง ภาพยนตร์ตอนนี้ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและดิจิตอลมอนสเตอร์ เซโวลูชัน
คาตันซาโร
ตันซาโร (Catanzaro) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดคาตันซาโรและแคว้นคาลาเบรีย ตั้งอยู่ใกล้กับทะเลไอโอเนียน ยังเป็นเมืองจุดตัดผ่านของทางรถไฟที่สำคัญ และเป็นศูนย์กลางการค้าของข้าวสาลี น้ำมัน และไวน์ เมืองก่อตั้งในคริสต์วรรษที่ 10 คาตันซาโรเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในช่วงคริสต์วรรษที่ 17 ในด้านการผลิตผ้าไหม กำมะหยี่ และผ้าแพรดามัสก์ ในปัจจุบันมีประชากรประมาณ 93,000 คน พื้นที่ 102 ตารางกิโลเมตร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและคาตันซาโร
ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลา
ผู้ลี้ภัยแม่ลา ก่อตั้งขึ้นในปี 2527 อยู่ในอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ในเขตทิวเขาดอยมอนกุจู ปัจจุบันให้ที่อยู่แก่ผู้ลี้ภัย 50,000 คน ซึ่งมีเพิ่มทุกสัปดาห์จากประเทศพม่า ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาเป็นค่ายผู้ลี้ภัยสำหรับชาวพม่าแห่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ผู้ลี้ภัยกว่า 90% มีเชื้อสายกะเหรี่ยง เดิมค่ายตั้งขึ้นหลังฐานทัพสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) แตก ที่หมู่บ้านแม่ลาของไทยตรงพรมแดนในปี 2527 โดยมีประชากร 1,100 คน ไม่นานหลังจากนั้น ค่ายถูกย้ายไปยังจุดอันเป็นที่ตั้งของโซนซีในปัจจุบัน เนื่องจากความกังวลด้านความมั่นคง หลังมาเนอปลอว์แตกในเดือนมกราคม 2538 ค่ายจำนวนหนึ่งถูกโจมตีในการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดน และทางการไทยเริ่มรวบรวมค่ายเพื่อเพิ่มความมั่นคง ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาถูกกำหนดเป็นค่ายหลักในพื้นที่ ในเดือนเมษายน 2538 ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาเพิ่มขนาดจากที่รองรับได้ 6,969 คน เป็น 13,195 คน ในปีต่อมา ค่ายเพิ่มขนาดเป็นสองเท่าอีก เป็น 26,629 คน เนื่องจากผู้ลี้ภัยที่สูญหายไปในการย้ายค่ายกลับมายังค่าย ค่ายแม่ลาถูกมองว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาสำหรับผู้ลี้ภัย ฉะนั้น ประชากรปัจจุบันจึงมีนักเรียนหลายพันคนที่มาศึกษาในค่ายด้วย บ้างมาจากค่ายผู้ลี้ภัยอื่น แต่ส่วนใหญ่มาจากพม่า นักเรียนเหล่านี้ได้รับการลงทะเบียนเป็นผู้อยู่อาศัยชั่วคราว ค่ายถูกโจมตีในปี 2540 โดยกำลังกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธ (DKBA) ที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยกองทัพพม่า ไม่มีการรุกล้ำอีกหลังจากนั้น แต่กระสุนปืนครกตกในส่วน เอ5 ในเดือนมีนาคม 2541 ทุกฤดูแล้ง พื้นที่นี้ค่อนข้างตึงเครียดกับความมั่นคงของค่าย มีการขู่จะโจมตีด้วยอาวุธ และ/หรือ ความพยายามเผาค่าย พื้นที่รัฐกะเหรี่ยงที่ตั้งอยู่ตรงข้ามค่ายแม่ลานั้นอยู่ห่างไกล โดยไม่มีนิคมขนาดใหญ่หรือโครงสร้างพื้นฐาน กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNLA) ยังมีกองบัญชาการกองพลน้อยที่ 7 อยู่ใกล้เคียง และมีกองรักษาด่านจำนวนมากของกองทัพพม่าและกองกำลังกะเหรี่ยงประชาธิปไตยฝ่ายพุทธอยู่ในพื้นที.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลา
ตรีเยสเต
ตรีเยสเต (Trieste; Trst; Triest) เป็นเมืองท่าที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดตรีเยสเตและแคว้นปกครองตนเองฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย ตั้งอยู่บนอ่าวตรีเยสเต ด้านตะวันออกเฉียงเหนือสุดของทะเลเอเดรียติก ตรีเยสเตมีท่าเรือที่มีคุณภาพและสะดวกในการขนส่งสินค้าทางเรือ ด้านอุตสาหกรรมของเมืองได้แก่ การสร้างเรือ โรงกลั่นปิโตรเลียม การผลิตผลิตภัณฑ์จากเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ เครื่องจักร และอุตสาหกรรมอาหาร บริเวณเมืองเก่าของตรีเยสเตตั้งอยู่บนที่ลาดเชิงเขาของซาน จีอัสโตฮิลล์ ส่วนเมืองสมัยใหม่ตั้งอยู่ริมท่าเรือใกล้ชายฝั่ง ตรีเยสเตมีจุดน่าสนใจหลายอย่าง เช่น อัฒจันทร์กลางแจ้งโบราณตั้งแต่สมัยโรมัน มหาวิทยาลัยแห่งตรีเยสเต ซึ่งเคยใช้เป็นสถาบันสำหรับพัฒนาการเรียนฟิสิก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและตรีเยสเต
ตอร์เรอันนุนซีอาตา
ตอร์เรอันนุนซีอาตา (Torre Annunziata) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนาโปลีในแคว้นคัมปาเนียในประเทศอิตาลี ตอร์เรอันนุนซีอาตาตั้งอยู่ที่อ่าวเนเปิลส์ที่เชิงภูเขาไฟวิสุเวียสและถูกทำลายเมื่อภูเขาไฟระเบิดในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและตอร์เรอันนุนซีอาตา
ซัลโต (ประเทศอุรุกวัย)
ซัลโต (Salto) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซัลโต อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอุรุกวัย เป็นเมืองท่าตรงจุดเริ่มต้นเส้นเดินเรือบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอุรุกวัย ตรงข้ามกับเมืองกองกอร์เดียของประเทศอาร์เจนตินา เมืองมีประชากร 104,028 คน (ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและซัลโต (ประเทศอุรุกวัย)
ซันฮวนเดโลสมอร์โรส
ซานฮวนเดโลสมอร์โรส (San Juan de los Morros) เป็นเมืองหลวงของรัฐกวารีโก ในเวเนซุเอลา เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณกลางของประเทศ มีอุณหภูมิตกอยู่ราว 24 ถึง 32 องศาเซลเซียส โอบล้อมไปด้วยภูเขา ซึ่งแตกต่างจากส่วนที่เหลือของรัฐที่เป็นที่ราบ หมวดหมู่:เมืองในประเทศเวเนซุเอลา หมวดหมู่:รัฐกวารีโก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและซันฮวนเดโลสมอร์โรส
ซานตามาเรีย (รัฐรีโอกรันดีโดซูล)
ซานตามาเรีย (Santa Maria) เป็นนครและเทศบาล ตอนกลางของรัฐรีโอกรันดีโดซูล รัฐทางใต้สุดของประเทศบราซิล ในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและซานตามาเรีย (รัฐรีโอกรันดีโดซูล)
ปฏิทินจีน
ปฏิธินจีนปี ค.ศ.2017 ปฏิทินจีน หมายถึง ปฏิทินสุริยคติหรือปฏิทินจันทรคติซึ่งชาวจีนหรือชาวต่างประเทศเชื้อสายจีนใช้ในทางราชการและการกำหนดวันสำคัญต่าง ๆ ในการติดต่อราชการ-ธุรกิจ ชาวจีนใช้ปฏิทินสุริยคติสากลเช่นเดียวกับชาวตะวันตกและอีกหลายประเทศทั่วโลก แต่การกำหนดประเพณีสำคัญจะอาศัยปฏิทินจันทรคติเป็นหลักเสมอ ปฏิทินสุริยคติจีน กำหนดให้เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ดับที่ใกล้กับวันเหมายัน หรือวันที่ซีกโลกเหนือมีกลางวันสั้นที่สุด ส่วนปฏิทินจันทรคติจีน กำหนดให้เริ่มขึ้นปีนักษัตรใหม่ในวันลี่ชุน แต่เริ่มปีใหม่ในวันตรุษจีน ซึ่งเป็นวันจันทร์ดับต้นฤดูใบไม้ผลิ มักอยู่ในเดือนกุมภาพันธ์หรือปลายเดือนมกราคมของทุกปี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและปฏิทินจีน
ประเทศมอริเตเนีย
รณรัฐอิสลามมอริเตเนีย (Islamic Republic of Mauritania; الجمهورية الإسلامية الموريتانية; République Islamique de Mauritanie) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า มอริเตเนีย (Mauritania; موريتانيا; Mauritanie) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ มีชายฝั่งบนมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศเซเนกัล ทางตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศมาลี ทางตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศแอลจีเรีย และมีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับพื้นที่ยึดครองโดยประเทศโมร็อกโก คือเวสเทิร์นสะฮารา เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือ นูแอกชอต (Nouakchott) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศมอริเตเนียตั้งชื่อตามราชอาณาจักรมอเรเตเนีย (Mauretania) ของชาวเบอร์เบอร์ (Berber) ยุคเก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศมอริเตเนีย
ประเทศอาร์มีเนีย
อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศอาร์มีเนีย
ประเทศจอร์แดน
ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศจอร์แดน
ประเทศโมร็อกโก
มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศโมร็อกโก
ประเทศเอกวาดอร์
อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศเอกวาดอร์
ประเทศเซาตูเมและปรินซีปี
ซาตูเมและปรินซีปี (São Tomé e Príncipe) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูเมและปรินซีปี (República Democrática de São Tomé e Príncipe) เป็นประเทศหมู่เกาะเล็ก ๆ ในอ่าวกินี ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 2 เกาะ คือ เกาะเซาตูเมและเกาะปรินซีปี ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 140 กิโลเมตร และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งกาบองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 250 และ 225 กิโลเมตรตามลำดับ เกาะทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟที่ดับแล้ว เกาะเซาตูเมซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านั้น ตั้งอยู่เกือบตรงกับบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน และตั้งชื่อตามนักบุญทอมัส (Saint Thomas) เนื่องจากนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบเกาะนี้ในวันนักบุญทอมัส (St.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและประเทศเซาตูเมและปรินซีปี
ปัญหาปี ค.ศ. 2038
แอนิเมชันแสดงถึงวันที่ซึ่งจะถูกย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้น เมื่อใช้การเก็บข้อมูลแบบจำนวนเต็ม 32 บิต (ที่เวลา 03:14:08 น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและปัญหาปี ค.ศ. 2038
ปาสซูฟูนดู
ปาสซูฟูนดู (Passo Fundo) เป็นเมืองในรัฐรีอูกรันดีดูซูล ประเทศบราซิล ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของรัฐ ทางตอนใต้ของประเทศ ตั้งชื่อตามแม่น้ำปาสซูฟูนดู เป็นเมืองใหญ่อันดับ 12 ของรัฐ มีประชากรราว 188,302 คน หมวดหมู่:เมืองในประเทศบราซิล.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและปาสซูฟูนดู
ปิวรา
ปิวรา (Piura) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเปรู เป็นเมืองหลวงของแคว้นปิวรา และจังหวัดปิวรา มีประชากร 377,496 คน เมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำปิวรา เมืองก่อตั้งขึ้นโดยฟรันซิสโก ปีซาร์โร เป็นอาณานิคมสเปนแห่งที่ 3 ในอเมริกาใต้และเป็นเมืองขึ้นแห่งแรกในเปรู ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม..
ปุนตาเดลเอสเต
ปุนตาเดลเอสเต (Punta del Este) เป็นเมืองและสถานที่พักตากอากาศบริเวณชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ในจังหวัดมัลโดนาโด ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอุรุกวัย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของกรุงมอนเตวิเดโอราว 140 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและปุนตาเดลเอสเต
ปีเอนซา
ปีเอนซา (Pienza) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดซีเอนาในแคว้นตอสคานาในประเทศอิตาลี ปีเอนซาตั้งอยู่ในวัลดอร์ชา (Val d'Orcia) ทางตอนกลางของอิตาลีระหว่างเมืองมอนเตปุลชาโนกับมอนตัลชีโน เป็นเมืองสัญลักษณ์ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาหรือ "touchstone of Renaissance urbanism" ในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและปีเอนซา
นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์
นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (Northwest Territories) เป็นดินแดนของแคนาดา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแคนาดา ติดต่อกับอีก 2 ดินแดนของแคนาดาคือยูคอน ทางตะวันตกและนูนาวุต ทางตะวันออก และติดกับอีก 3 รัฐคือ รัฐบริติชโคลัมเบียทางตะวันตกเฉียงใต้ รัฐแอลเบอร์ตาและรัฐซัสแคตเชวัน ทางใต้ มีพื้นที่ 1,140,835 ตร.กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์
นิวฮอไรซันส์
นิวฮอไรซันส์ (New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและนิวฮอไรซันส์
นิวเดลี
นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและนิวเดลี
นิคซิค
นิคซิค (มอนเตเนโกร: Nikšić, Никшић) เป็นเมืองในประเทศมอนเตเนโกร ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ บนที่ราบนิคซิค เมืองมีประชากรราว 75,000 คน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากพอดกอรีตซา เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม วัฒนธรรมและการศึกษา มีโบราณสถานสมัยโรมันปรากฏอยู่ รวมทั้งสะพานด้วย ตุรกีเข้ายึดครองเมืองนี้ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15-19.
นูนาวุต
นูนาวุต (Nunavut) เป็นดินแดนที่ใหญ่ที่สุดและใหม่ที่สุดของสหพันธรัฐของแคนาดา แยกออกมาอย่างเป็นทางการจากนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ เมื่อวันที่ 1 เมษายนน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและนูนาวุต
แบร์กาโม
แบร์กาโม (Bergamo), แบร์เกม (ลอมบาร์ดตะวันออก: Bèrghem) หรือ แบร์กุม (ลอมบาร์ดตะวันตก: Bergum) เป็นเมืองในแคว้นลอมบาร์เดียในประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ราว 40 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของมิลาน แบร์กาโมมีประชากรราว 121,000 คน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแบร์กาโม
แฟร์รารา
แฟร์รารา (Ferrara) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในประเทศอิตาลี แฟร์ราราเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแฟร์รารา แฟร์ราราตั้งอยู่ประมาณ 50 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของโบโลญญาบนฝั่งโปดิโวลาโนซึ่งเป็นแควของแม่น้ำโป ตัวเมืองมีถนนกว้างและวังและคฤหาสน์มากมายจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 เมื่อเป็นที่ตั้งสำนักของตระกูลเอสเต ความงามและความสำคัญทางวัฒนธรรมของแฟร์ราราทำให้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแฟร์รารา
แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
แอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447 เป็นเที่ยวบินที่บินจากท่าอากาศยานรีโอเดอจาเรโน กาเลโอ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล สู่ ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ เดอ โกลล์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่หายไปจากจอเรดาร์ขณะบินอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447
แอโรแคริบเบียน เที่ยวบินที่ 883
แอโรแคริบเบียน เที่ยวบินที่ 883 เป็นเที่ยวบินระหว่างปอร์โตแปรงซ์ ประเทศเฮติ มุ่งหน้าไปยังฮาวานา ประเทศคิวบา โดยบินผ่านซันเตียโกเดกูบา เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแอโรแคริบเบียน เที่ยวบินที่ 883
แผ่นดินไหวรัฐวาฮากา พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวรัฐวาฮาก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวรัฐวาฮากา พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวที่ชเวโบ พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวที่ชเว..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่ชเวโบ พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวที่วิซายาส พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวที่วิซ..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่วิซายาส พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวที่ปีชีเลมู พ.ศ. 2553
แผ่นดินไหวที่ปีชีเลมู..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่ปีชีเลมู พ.ศ. 2553
แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพัน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช มิถุนายน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช มิถุนายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช มิถุนายน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่เกาะชวา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่เกาะชว..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่เกาะชวา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวที่เกาะซามาร์ พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งเกาะซามาร..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวที่เกาะซามาร์ พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554
รายการแผ่นดินไหวในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2557
นี่คือรายการแผ่นดินไหวใน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2557
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559
แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560
แผ่นดินไหวในชวา พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในชว..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในชวา พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2551
แผนที่การสั่นสะเทือนจากศูนย์กลาง เหตุการณ์แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2551
แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2556
แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวนเกิดขึ้นเมื่อเวลา 08.02 น. ตามเวลาปักกิ่ง (00:02 UTC) ของวันที่ 20 เมษายน 2556 จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวตั้งอยู่ในอำเภอลูชาน นครยาอัน มณฑลเสฉวน ห่างจากเฉิงตูราว 116 กิโลเมตร ตามรอยเลื่อนลองเมนฉานในมณฑลเดียวกันซึ่งได้รับผลกระทบอย่างหนักจากแผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2556
แผ่นดินไหวในยูซู พ.ศ. 2553
แผ่นดินไหวในยูซู..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในยูซู พ.ศ. 2553
แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในลอร์กา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในลอร์ก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในลอร์กา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552
แผ่นดินไหวที่สุมาตร..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552
แผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กาน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในจังหวัดฟุกุชิมะ เมษายน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในจังหวัดฟุกุชิมะ เมษายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในจังหวัดฟุกุชิมะ เมษายน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในจังหวัดกือตาห์ยา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในจังหวัดกือตาห..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในจังหวัดกือตาห์ยา พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวในคอสตาริก..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555
แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558
แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558
แผ่นดินไหวในปากีสถาน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในปากีสถาน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในปากีสถาน พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในปาปัวนิวกินี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในเกาะสวาน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561
แผ่นดินไหวในเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในเวอร์จิเนี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2554
แผ่นดินไหวในเฮติ พ.ศ. 2553
แผ่นดินไหวในเฮต..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแผ่นดินไหวในเฮติ พ.ศ. 2553
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110
แซรอสชุดที่ 110 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 110 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111
แซรอสชุดที่ 111 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 79 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 111 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 11 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 14 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 16 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112
แซรอสชุดที่ 112 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 112 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 24 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 14 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 5 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113
แซรอสชุดที่ 113 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 113 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114
แซรอสชุดที่ 114 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 114 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 18 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 13 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 16 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115
แซรอสชุดที่ 115 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 115 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 37 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 14 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116
แซรอสชุดที่ 116 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 116 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 53 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117
แซรอสชุดที่ 117 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 117 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 23 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 5 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 28 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118
แซรอสชุดที่ 118 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 118 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 40 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 15 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119
แซรอสชุดที่ 119 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 119 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 2 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 51 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120
แซรอสชุดที่ 120 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 120 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 25 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 26 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121
7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008จากนิวซีแลนด์เห็นเป็นบางส่วนจากปรากฏการณ์วงแหวนเป็นครั้งที่ 60 ในชุดนี้ แซรอสชุดที่ 121 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 121 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 42 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 11 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122
แซรอสชุดที่ 122 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 122 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 3 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 37 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123
แซรอสชุดที่ 123 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 123 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 27 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 14 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124
แซรอสชุดที่ 124 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 124 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125
แซรอสชุดที่ 125 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 125 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 34 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126
แซรอสชุดที่ 126 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 126 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 28 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 10 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127
แซรอสชุดที่ 127 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 82 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 127 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 42 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128
แซรอสชุดที่ 128 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 128 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 24 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129
แซรอสชุดที่ 129 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 80 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 129 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 29 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 9 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 19 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130
แซรอสชุดที่ 130 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 73 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 130 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131
แซรอสชุดที่ 131 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 131 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 5 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 30 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132
แซรอสชุดที่ 132 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 132 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 33 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 7 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133
แซรอสชุดที่ 133 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 133 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 46 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134
แซรอสชุดที่ 134 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 134 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 8 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 16 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 30 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135
แซรอสชุดที่ 135 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 135 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 45 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 6 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136
ลื่อนไหวแนวคราสของชุดแซรอส 136 วันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1865สมาชิกลำดับที่ 29 วันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1883 สังเกตการณ์จากเกาะแคโรไลน์ในปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137
แซรอสชุดที่ 137 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 137 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 10 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 4 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138
แซรอสชุดที่ 138 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 138 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 50 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 3 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139
แซรอสชุดที่ 139 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 139 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 12 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140
แซรอสชุดที่ 140 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 140 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 11 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 32 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 16 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141
แซรอสชุดที่ 141 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 141 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 41 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142
แซรอสชุดที่ 142 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 142 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143
แซรอสชุดที่ 143 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 143 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 12 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 26 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144
แซรอสชุดที่ 144 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 144 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 23 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145
ลื่อนไหวแนวคราสของชุดแซรอส 145 แซรอสชุดที่ 145 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 77 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 145 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 14 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 1 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 41 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146
แซรอสชุดที่ 146 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 76 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 146 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 13 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 4 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 24 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 13 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147
แซรอสชุดที่ 147 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 80 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 147 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 19 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148
แซรอสชุดที่ 148 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 75 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 148 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 20 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 2 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 12 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149
แซรอสชุดที่ 149 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 149 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 21 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 17 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 23 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150
แซรอสชุดที่ 150 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 150 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 22 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 40 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151
แซรอสชุดที่ 151 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 151 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 18 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 6 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 1 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 39 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152
แซรอสชุดที่ 152 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 152 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 30 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 22 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153
แซรอสชุดที่ 153 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 153 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 13 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 49 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154
แซรอสชุดที่ 154 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 154 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 17 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 36 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155
แซรอสชุดที่ 155 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 155 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 33 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 20 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156
แซรอสชุดที่ 156 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 69 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 156 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 52 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157
แซรอสชุดที่ 157 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 157 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 6 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 19 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 34 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158
แซรอสชุดที่ 158 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 158 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 35 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 2 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 16 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 10 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159
แซรอสชุดที่ 159 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง 49 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160
แซรอสชุดที่ 160 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่ง 46 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161
แซรอสชุดที่ 161 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 72 ครั้ง ซึ่ง 46 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161
แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162
แซรอสชุดที่ 162 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 70 ครั้ง ซึ่ง 42 ครั้งเกิดขึ้นก่อน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162
โกยาเนีย
กยาเนีย หรือ กอยยาเนีย (Goiânia) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐโกยาส ประเทศบราซิล มีประชากร 1,301,892 คน เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลางและตะวันตก และใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 13 ของประเทศ มหานครมีประชากร 2,063,744 คน เป็นเมืองที่มีการวางผังเมืองอย่างดี ได้รับการสถาปนาเป็นเมืองเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโกยาเนีย
โคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268
กาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268 (KGL 9268 or 7K-9268) เป็นเที่ยวบินเช่าเหมาลำระหว่างประเทศ ที่ให้บริการโดยสายการบินโคกาลีมาเวียของประเทศรัสเซีย ประสบอุบัติเหตุบริเวณตอนเหนือของคาบสมุทรไซนาย หลังจากขึ้นบินจากท่าอากาศยานนานาชาติชาร์มเอลชีค ประเทศอียิปต์ ไปท่าอากาศยานพูลโคโว เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย ในวันที่ 31 ตุลาคม 2015 เวลา 4 นาฬิกา 13 นาที UTC (6:13 ตามเวลามาตรฐานอียิปต์).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268
โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ
รงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ (ASTP) (Экспериментальный полёт «Союз» — «Аполлон», Eksperimantalniy polyot Soyuz-Apollon ตามตัวอักษร "เที่ยวบินทดสอบโซยุซ-อะพอลโล") เป็นโครงการเที่ยวบินอวกาศที่ร่วมมือกันครั้งแรกระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต และเป็นเที่ยวบินสุดท้ายของยานอวกาศอะพอลโล วัตถุประสงค์หลักคือเป็นสัญลักษณ์แห่งนโยบายยุคแห่งการผ่อนคลายความตึงเครียดที่ทั้งสองมหาอำนาจกำลังดำเนินในเวลานั้น และเป็นการสิ้นสุดการแข่งขันอวกาศระหว่างสองประเทศที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ
โคลาเวีย เที่ยวบินที่ 348
ลาเวีย เที่ยวบินที่ 348 เป็นเที่ยวบินรับส่งผู้โดยสารภายในประเทศจากท่าอากาศยานนานาชาติเซอร์กัต เซอร์กัต ประเทศรัสเซีย ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว มอสโก เมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโคลาเวีย เที่ยวบินที่ 348
โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007
รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 (หรือ KAL 007 หรือ KE 007) เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ตามกำหนดการจากนครนิวยอร์กสู่โซล แวะพักที่แองเคอเรจ วันที่ 1 กันยายน 2526 เครื่องบินโดยสารของเที่ยวบินดังกล่าวถูกเครื่องบินสกัดกั้นซู-15 ของสหภาพโซเวียตยิงตกใกล้เกาะโมเนรอน ทางตะวันตกของเกาะซาฮาลิน ในทะเลญี่ปุ่น นักบินของเครื่องบินสกัดกั้นลำนั้น คือ นาวาอากาศตรี เกนนาดี โอซีโปวิช ผู้โดยสารและลูกเรือทั้ง 269 คนบนเครื่องเสียชีวิต รวมทั้งลอว์เรนซ์ แมคโดนัลด์ ผู้แทนรัฐจอร์เจียในสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา อากาศยานลำดังกล่าวกำลังอยู่ในเส้นทางจากแองเคอเรจสู่โซลเมื่อบินผ่านน่านฟ้าโซเวียตที่ถูกห้ามในเวลาไล่เลี่ยกับภารกิจสอดแนมของสหรัฐ ทีแรก สหภาพโซเวียตปฏิเสธรู้เห็นเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ภายหลังยอมรับการยิง โดยอ้างว่าอากาศยานดังกล่าวอยู่ระหว่างภารกิจสอดแนม โปลิตบูโรแถลงว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการยั่วยุโดยเจตนาของสหรัฐ เพื่อทดสอบความพร้อมทางทหารของสหภาพโซเวียต หรือกระทั่งยั่วยุให้เกิดสงคราม ทำเนียบขาวกล่าวหาสหภาพโซเวียตว่าขัดขวางปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยCongressional Record, September 20, 1983, pp.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007
โปร์ตูอาเลกรี
ปร์ตูอาเลกรี (Porto Alegre) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐรีโอกรันดีโดซูล ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโปร์ตูอาเลกรี
โปร์ตูเวลยู
ปร์ตูเวลยู (Porto Velho) เป็นเมืองหลวงของรัฐรอนโดเนีย ประเทศบราซิล มีประชากรราว 435,732 คน (ค.ศ. 2010) เมืองมีความสำคัญด้านการทำเหมืองดีบุก ซึ่งถือเป็นเศรษฐกิจที่สำคัญของภูมิภาค เป็นศูนย์กลางการขนส่งและการคมนาคม เมืองตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำมาเดย์รา สายแม่น้ำที่สำคัญของแม่น้ำแอมะซอน และเป็นเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐรอนโดเนี.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโปร์ตูเวลยู
โปโตซี
ปโตซี (Potosí) เป็นนครและเมืองหลวงของแคว้นโปโตซี ในประเทศโบลิเวีย เป็นหนึ่งในเมืองที่อยู่ระดับสูงที่สุดของโลก โดยมีความสูงอยู่ที่ 4,090 เมตร (13,420 ฟุต) เมืองตั้งอยู่เชิงเขาเชร์โรโปโตซี มีชื่อเสียงในการผลิตแร่เงิน เมืองนี้สร้างขึ้นใน..
โปเตนซา
ปเตนซา (Potenza) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี และเป็นเมืองหลักของจังหวัดโปเตนซาในแคว้นบาซีลีคาตา ซึ่งตั้งอยู่ในเทือกเขาแอเพนไนน์ โปเตนซาเป็นศูนย์กลางพาณิชย์ของแคว้นที่ถูกล้อมรอบด้วยเขตเกษตรกรรม การผลิตประกอบด้วยด้านอาหารและเครื่องจักร เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ทางโบราณคดีที่มีชื่อเสียง โปเตนซาก่อตั้งโดยชาวโรมันในช่วงก่อนคริสต์ศักราช 200 ปี และในช่วงคริสต์วรรษที่ 6 ถูกปกครองโดยชาวลอมบาร์ด โปเตนซาเคยเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโปเตนซา
โนวูอัมบูร์กู
นวูอัมบูร์กู (Novo Hamburgo) เป็นเมืองทางใต้สุดของรัฐรีอูกรันดีดูซูล ประเทศบราซิล มีประชากร 237,044 คน (ค.ศ. 2010) มีพื้นที่ 217 ตร.กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและโนวูอัมบูร์กู
ไพโอเนียร์ 11
อเนียร์ 11 (Pioneer 11) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 6 เมษายน ค.ศ. 1973 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการไพโอเนียร์ เพื่อศึกษาแถบดาวเคราะห์น้อย,สภาพแวดล้อมรอบดาวพฤหัสบดี,ลมสุริยะ,รังสีคอสมิก และดาวเสาร์ และท้ายที่สุดได้ไกลออกไปในระบบสุริยะ และเฮลิโอสเฟียร์ เป็นการสำรวจแรกที่พบดาวเสาร์ และครั้งที่สองที่บินผ่านแถบดาวเคราะห์น้อย และดาวพฤหัสบดี แต่เนื่องจากข้อจำกัดของพลังงานและระยะทางมากมายในการสำรวจ การสื่อสารได้สูญหายไปตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไพโอเนียร์ 11
ไอล์ออฟแมน
อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไอล์ออฟแมน
ไทยคม 6
ทยคม 6 (THAICOM 6) เป็นดาวเทียมสื่อสารสัญชาติไทยของบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) และถือเป็นดาวเทียมไทยคมดวงที่ 6 โดยถูกยิงขึ้นจากฐาน ณ แหลมคะแนเวอรัล ในรัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2557 โดยบริษัทสเปซเอ็กซ์ ดาวเทียมไทยคม 6 โคจรอยู่ในวงโคจรค้างฟ้า ตำแหน่งเดียวกับดาวเทียมไทยคม 5 ที่ตำแหน่ง 78.5 องศาตะวันออก มีจานรับส่งสัญญาณ ซี-แบนด์ (C-Band) จำนวน 18 ช่องรับส่ง และเคยู-แบนด์ (Ku-Band) จำนวน 6 ช่องรับส่ง ซึ่งครอบคลุมการแพร่สัญญาณในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด การส่งดาวเทียมไทยคม 6 ถือเป็นภารกิจที่ 8 ของจรวด Falcon 9 และเป็นการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้าเป็นครั้งที่สองของบริษัทสเปซเอ็กซ์ โดยดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไปก่อนหน้าคือ SES-8.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไทยคม 6
ไทยคม 8
ทยคม 8 (THAICOM 8) เป็นดาวเทียมสื่อสารสัญชาติไทยจากดาวเทียมไทยคมซีรีส์ ประกอบการโดยบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน), บริษัทสาขาของบริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) และถือเป็นดาวเทียมไทยคมดวงที่ 8.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไทยคม 8
ไซเบอร์จายา
|+ไซเบอร์จายา | ไซเบอร์จายา (Cyberjaya) เป็นเมืองในประเทศมาเลเซีย อยู่ทางใต้ของกัวลาลัมเปอร์ ทางทิศตะวันตกของปูตราจายา เหตุผลที่ตั้งชื่อเมืองเช่นนี้ เพราะไซเบอร์จายาเป็นเสมือนเมืองแห่งโลกของไซเบอร์ (Cybercity) เนื่องจากเป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมด้านสื่อผสม (หรือมัลติมีเดีย) ศูนย์การค้นคว้าและวิจัย (R&D Centers) มหาวิทยาลัยมัลติมีเดีย และสำนักงานใหญ่ด้านปฏิบัติงานของบริษัทนานาชาติที่ต้องการเข้ามาสร้างฐานผลิตหรือทำการค้าในมาเลเซียจากทั่วโลก ปูตราจายาและไซเบอร์จายานี้ ตั้งรวมกันอยู่ในโครงการ MSC เพื่อส่งเสริมการลงทุน การทำธุรกิจ การค้นคว้าและวิจัยและการใช้ชีวิตอย่างคุ้มค่าที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ไซเบอร์จายาเป็นเสมือนหัวใจของโครงการ MSC (Multimedia Super Corridor) ที่มีการติดตั้งโครงข่ายโทรคมนาคมที่ทันสมัยระดับโลก เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพและเพียงพอกับความต้องการของธุรกิจ อุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต MSC ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่มีการเติบโตของตลาดรวดเร็วที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย เป็นอาณาจักรของเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ที่รัฐบาลพยายามสร้างแรงจูงใจนานัปการ เพื่อให้บรรดาบริษัทเอกชนต่าง ๆ เข้ามาร่วมกันพัฒนาหรือใช้เทคโนโลยีสื่อผสมที่ทันสมัยของประเทศ ซึ่งจะส่งผลเป็นการพัฒนาประเทศโดยรวมต่อไปในอนาคต MSC เป็น Corridor สีเขียวที่มีความกว้าง 15 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไซเบอร์จายา
ไปซันดู
ปซันดู (Paysandú) เป็นเมืองหลักของจังหวัดไปซันดู ทางตะวันตกของประเทศอุรุกวัย เมืองตั้งบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอุรุกวัย บริเวณชายแดนประเทศอาร์เจนตินา อยู่ห่างจากกรุงมอนเตวิเดโอ ไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ 378 กม.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและไปซันดู
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)
นเมสเซนเจอร์ (MESSENGER ย่อจาก MErcury Surface, Space ENvironment, GEochemistry and Ranging probe) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซา ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)
เมเว็น
นสำรวจอวกาศเมเว็น (MAVEN) ย่อจาก Mars Atmosphere and Volatile Evolution (ชั้นบรรยากาศและวิวัฒนาการของสารระเหยได้ของดาวอังคาร) เป็นยานสำรวจอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจสำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร ดำเนินโดยองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ภารกิจนี้เป็นโครงการหนึ่งในแผนงานมาร์ส-สเค้าท์ (Mars Scout Program) ยานเมเว็นถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..
เลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น
ลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น (Love Live! School idol project) เป็นชื่อโปรเจ็กต์ที่ผลิตร่วมกันระหว่าง แอสกีมีเดียเวิร์กส์ (นิตยสาร Dengeki G's Magazine), ค่ายเพลงแลนติส และบริษัทสตูดิโออะนิเมะซันไรส์ โปรเจ็กต์นี้เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็น
เวลามอสโก
ตเวลากรุงมอสโก (Моско́вское вре́мя) เป็นเขตเวลาสำหรับกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย, ประเทศเบลารุส, ประเทศตุรกี และฝั่งตะวันตกของประเทศ รวมถึงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กด้วย เขตเวลากรุงมอสโกเป็นเขตเวลาเท่ากับเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 3 ชั่วโมง (GMT+3) เขตเวลากรุงมอสโก ถือเป็นเขตเวลากลางในสหพันธรัฐรัสเซียทั่วทั้งสหพันธรัฐ ซึ่งใช้ในการกำหนดตารางเวลาเครื่องบิน ตารางเวลารถไฟ และตารางเวลาการขนส่งอื่นๆ อีกทั้ง ยังนำมาใช้เป็นเวลากลางในการส่งโทรเลขด้วย ในรัสเซีย จะมีสถานีวิทยุที่จะกระจายเสียงบอกเวลาของเขตเวลากรุงมอสโกอย่างสม่ำเสมอ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามอสโก
เวลามาตรฐานพม่า
วลามาตรฐานพม่า (မြန်မာ စံတော်ချိန်; Myanmar Standard Time, MMT) เป็นเวลามาตรฐานในประเทศพม่า เร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัดไป 6 ชั่วโมง 30 นาที (UTC+06:30) โดยอ้างอิงเวลาที่ลองจิจูด 97° 30' เวลามาตรฐานนี้ใช้ตลอดทั้งปีเนื่องจากพม่าไม่มีช่วงเวลาออมแสง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามาตรฐานพม่า
เวลามาตรฐานกรีนิช
วลามาตรฐานกรีนิช หรือ เวลามัชฌิมกรีนิช (Greenwich Mean Time) ชื่อย่อ จีเอ็มที (GMT) แต่เดิมเป็นคำใช้เรียกเวลาสุริยคติมัชฌิมที่หอดูดาวหลวงกรีนิช เมืองกรีนิช สหราชอาณาจักร ปัจจุบันคำนี้มักใช้เพื่อหมายถึงเวลาสากลเชิงพิกัด (ยูทีซี) ในฐานะเขตเวลา แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นเป็นมาตรฐานเวลาที่วัดโดยนาฬิกาอะตอม ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมายเดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึงเวลาสากล (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจากการโคจรของโลกเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์มัชฌิม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า มัชฌิม ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช ก่อน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามาตรฐานกรีนิช
เวลามาตรฐานญี่ปุ่น
วลามาตรฐานญี่ปุ่น (JST; 日本標準時 หรือ 中央標準時) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น และเร็วกว่า UTC 9 ชั่วโมง ยกตัวอย่างเช่น หาก UTC เป็นเวลาเที่ยงคืน (00:00) ประเทศญี่ปุ่นจะเป็นเวลา 09:00 ประเทศญี่ปุ่นไม่มีการใช้เวลาออมแสง ถึงแม้ว่าระหว่างปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามาตรฐานญี่ปุ่น
เวลามาตรฐานจีน
วลามาตรฐานจีน หรือ เวลาปักกิ่ง เป็นเขตเวลาซึ่งใช้ในจีนแผ่นดินใหญ่ โดยเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัดอยู่ 8 ชั่วโมง (UTC+8) ในขณะที่ประเทศอื่นในเอเชียตะวันออก รวมไปถึงมาเลเซียและฟิลิปปินส์ ได้ใช้เขตเวลาเดียวกันนี้ เพียงแต่ใช้ชื่อเรียกแตกต่างกันเท่านั้น ประเทศจีนเคยใช้เวลาออมแสงระหว่างปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามาตรฐานจีน
เวลามาตรฐานเกาหลี
วลามาตรฐานเกาหลี (KST) เป็นเขตเวลามาตรฐานในเกาหลีใต้ โดยเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัดไป 9 ชั่วโมง (UTC+09) ในเกาหลีไม่มีการใช้เวลาออมแสงในปัจจุบัน แต่เคยใช้ในอดีต เวลามาตรฐานเกาหลีตรงกับเวลามาตรฐานญี่ปุ่น เวลามาตรฐานอินโดนีเซียตะวันออก และเวลายาคุตสค์ ทั้งนี้ ในวันที่ 15 สิงหาคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลามาตรฐานเกาหลี
เวลายุโรปกลาง
ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลายุโรปกลาง
เวลาสากล
วลาที่ถูกแบ่งเป็นเขตเวลา เวลาสากล (UT - Universal Time) คือหน่วยเวลาที่อ้างอิงการหมุนของโลก เป็นหน่วยเวลาสมัยใหม่ที่สืบทอดมาจากเวลาปานกลางกรีนิช (GMT - Greenwich Mean Time) อันได้แก่เวลา Mean Solar Time ของพื้นที่บนเส้นเมริเดียนแห่งกรีนิช (Greenwich) ของสหราชอาณาจักร ซึ่งตรงกับเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ตามหลักภูมิศาสตร์ บางครั้งมีการใช้เวลาปานกลางกรีนิชที่ผิด โดยเข้าใจว่าเป็นหน่วยเวลาเดียวกับเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) เวลาปานกลางกรีนิชนี้สามารถจำแนกเป็นเป็นเวลาพิกัดสากล และ UT1.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาสากล
เวลาออมแสง
ริเวณที่ไม่เคยมีการใช้เวลาออมแสง เวลาออมแสง (daylight saving time - DST) หรือ เวลาฤดูร้อน (summer time) เป็นข้อตกลงในการปรับนาฬิกาไปข้างหน้า เพื่อให้มีแสงอาทิตย์ในช่วงเวลาบ่ายมากขึ้นและมีแสงอาทิตย์ในช่วงเวลาเช้ามีน้อยลง โดยปกติแล้วจะปรับไปข้างหน้าหนึ่งชั่วโมง ก่อนจะเข้าฤดูใบไม้ผลิ และปรับกลับหลังในฤดูใบไม้ร่วง เวลาออมแสงในยุคสมัยใหม่ถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดย William Willett นักก่อสร้างชาวอังกฤษ หลายประเทศได้เริ่มใช้เวลาลักษณะนี้นับตั้งแต่นั้น โดยมีรายละเอียดแตกต่างไปตามสถานที่และมีการเปลี่ยนแปลงครั้งคราว การเลื่อนนาฬิกาของเวลาออมแสงนี้ก่อให้เกิดความท้าทายต่าง ๆ เวลาลักษณะนี้ทำให้การรักษาเวลายุ่งยากขึ้น ก่อความวุ่นวายให้การนัดหมาย การเดินทาง การบัญชี การลงบันทึก อุปกรณ์การแพทย์ และเครื่องจักรอุตสาหกรรม ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์จำนวนมากสามารถปรับนาฬิกาของตัวได้อัตโนมัติ แต่การปรับนี้ก็อาจทำได้จำกัดและมีความผิดพลาด โดยเฉพาะเมื่อกฎของเวลาออมแสงเปลี่ยน ระบบเวลาออมแสงมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มีช่วงแสงสว่างที่ "เหมาะสม" ตามความต้องการของท้องถิ่น โดยปรับนาฬิกาให้เข้ากับการขึ้นลงของดวงอาทิตย์ ซึ่งเปลี่ยนไปตามฤดู ตามความเอียงของแกนโลก ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาออมแสง
เวลาออมแสงยุโรปกลาง
ตเวลาออมแสงยุโรปกลาง (Central European Summer Time; CEST) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 2 ชั่วโมง (UTC+2) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาออมแสงยุโรปกลาง
เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก
วลาออมแสงยุโรปตะวันออก (Eastern European Summer Time - EEST) เป็นชื่อเขตเวลาออมแสงของเขตเวลา UTC+3 เป็นเวลาสามชั่วโมงก่อนหน้าเวลาสากลเชิงพิกัด เป็นเวลาที่กำหนดใช้ระหว่างช่วงฤดูร้อนในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ในระหว่างฤดูหนาวประเทศเหล่านี้จะกลับไปใช้เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาออมแสงยุโรปตะวันออก
เวลาในประเทศชิลี
ซาลัสอีโกเมซ เวลาในประเทศชิลี แบ่งเขตเวลาออกเป็น 3 แบบ ได้แก.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศชิลี
เวลาในประเทศกาตาร์
ประเทศกาตาร์ใช้เวลา UTC+3 (ส่วนหนึ่งของพื้นที่สีเหลือง) เปรียบเทียบกับพื้นที่ส่วนอื่นของภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ เวลาในประเทศกาตาร์ ใช้เขตเวลามาตรฐานอาระเบีย (AST) ซึ่งเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง (UTC+03:00) นอกจากนี้เวลาในประเทศกาตาร์ไม่มีช่วงออมแสง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศกาตาร์
เวลาในประเทศภูฏาน
วลาในประเทศภูฏาน (BTT) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศภูฏาน ซึ่งกำหนดให้เร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 6 ชั่วโมง (UTC+6) นอกจากนี้เวลาในประเทศภูฏานไม่มีช่วงออมแสง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศภูฏาน
เวลาในประเทศมอลตา
วลาในประเทศมอลตา ใช้เวลายุโรปกลาง (CET), ซึ่งเป็นหนึ่งชั่วโมงข้างหน้าของเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศมอลตา
เวลาในประเทศอิรัก
ประเทศอิรักใช้เวลา UTC+3 (ส่วนหนึ่งของพื้นที่สีเหลือง) เปรียบเทียบกับพื้นที่ส่วนอื่นของภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ เวลาในประเทศอิรัก ใช้เขตเวลามาตรฐานอาระเบีย (AST) ซึ่งเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 3 ชั่วโมง (UTC+03:00) นอกจากนี้เวลาในประเทศอิรักไม่มีช่วงออมแสง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศอิรัก
เวลาในประเทศปาเลสไตน์
ปาเลสไตน์ใช้เวลา UTC+2 (ส่วนหนึ่งของพื้นที่สีม่วง) เปรียบเทียบกับพื้นที่ส่วนอื่นของภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ เวลาในประเทศปาเลสไตน์ ใช้เขตเวลามาตรฐานปาเลสไตน์ ซึ่งเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 2 ชั่วโมง (UTC+02:00).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวลาในประเทศปาเลสไตน์
เวโรนา
วโรนา (Verona) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเวโรนา แคว้นเวเนโตในประเทศอิตาลี เวโรนาเป็นหนึ่งในเจ็ดเมืองหลวงของทางตอนเหนือของอิตาลี เวโรนาเป็นสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยเหตุที่มีความสำคัญทางศิลปะและวัฒนธรรมที่เห็นได้งานนิทรรศการประจำปีหลายงาน โรงละคร และอุปรากรในโรงละครกลางแจ้งที่สร้างโดยโรมัน เวโรนาเป็นเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจจากตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ตรงโค้งของแม่น้ำอดิเจ (Adige River) ไม่ไกลจากทะเลสาบการ์ดา ที่ตั้งนี้ทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นหลายครั้งจนกระทั่ง..
เวเนรา 3
วเนรา 3 (Венера-3) เป็นยานอวกาศที่ถูกสร้างและปล่อยขึ้นสู่อวกาศโดยสหภาพโซเวียต เพื่อไปสำรวจพื้นผิวของดาวศุกร์ โดยถูกปล่อยเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเวเนรา 3
เหตุยิงกันในทูซอน พ.ศ. 2554
หตุยิงกันในทูซอน เกิดขึ้นในวันที่ 8 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุยิงกันในทูซอน พ.ศ. 2554
เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554
หตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมิน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554
เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549
หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549
เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
ในช่วงเวลาเร่งด่วนตอนเช้าของวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เกิดการระเบิดขึ้นสี่ครั้งต่อเนื่อง ที่กรุงลอนดอน ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร รถไฟใต้ดินสามขบวนถูกวางระเบิดภายในช่วงเวลาครึ่งชั่วโมง จากนั้นอีกครึ่งชั่วโมงรถเมล์สองชั้นอีกหนึ่งคันก็ถูกระเบิด ได้รับการยืนยันว่ามีผู้เสียชีวิต 56 ศพ และผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 700 คน เนื่องมาจากการก่อการร้ายนี้ ตัวเลขดังกล่าวคาดว่าน่าจะเพิ่มมากขึ้น เมื่อทางการได้ตรวจสอบผลอย่างละเอียด เหตุการณ์นี้ทำให้มีการสั่งปิดระบบรถไฟใต้ดินของลอนดอน และระบบรถประจำทาง รวมไปถึงถนนอีกหลายสายใกล้กับกับสถานีที่เกิดเหตุ เหตุระเบิดคราวนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ระเบิดรถไฟที่มาดริด ประเทศสเปน เหตุก่อการร้ายนี้ เป็นการก่อการร้ายที่รุนแรงที่สุดที่เกิดขึ้นในสหราชอาณาจักร นับตั้งแต่การวางระเบิดเที่ยวบินแพนแอมที่ 103 เหนือเมืองล็อกเกอร์บี ในปี พ.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548
เหตุรถไฟตกรางในฟิลาเดลเฟีย พ.ศ. 2558
หตุรถไฟตกรางในฟิลาเดลเฟี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุรถไฟตกรางในฟิลาเดลเฟีย พ.ศ. 2558
เหตุรถไฟตกรางในมณฑลเจียงซี พ.ศ. 2553
หตุรถไฟตกรางในมณฑลเจียงซี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุรถไฟตกรางในมณฑลเจียงซี พ.ศ. 2553
เหตุอิลยูชิน อิล-76 กองทัพอากาศแอลจีเรียตก พ.ศ. 2561
มื่อวันที่ 11 เมษายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุอิลยูชิน อิล-76 กองทัพอากาศแอลจีเรียตก พ.ศ. 2561
เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556
้นทางที่อุกกาบาตตกและจุดที่ระเบิด เปรียบเทียบขนาดอุกกาบาตกับโบอิง 747 (มีชื่อกำกับว่า Chelyabinsk meteor) เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556
เหตุเพลิงไหม้ในเซี่ยงไฮ้ พ.ศ. 2553
หตุเพลิงไหม้ในเซี่ยงไฮ้..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุเพลิงไหม้ในเซี่ยงไฮ้ พ.ศ. 2553
เหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์
หตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์
เหตุเหยียบกันเสียชีวิตในพนมเปญ
หตุเหยียบกันเสียชีวิตในพนมเปญ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเหตุเหยียบกันเสียชีวิตในพนมเปญ
เอสทีเอส-129
STS-129 เป็นภาจกิจกระสวยอวกาศของนาซ่าในสถานีอวกาศนานาชาติ เริ่มต้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 ในเวลา 14:28 EST และลงจอดในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเอสทีเอส-129
เอสทีเอส-133
STS-133 เป็นเที่ยวบินของกระสวยอวกาศครั้งที่ 133 ในกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี่นำมอดูล อเนกประสงค์ Pressurised ไปประกอบยังสถานีอวกาศนานาชาติ และเป็นเที่ยวบินอวกาศครั้งที่ 39 ของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี่รวมทั้งเป็นครั้งสุดท้าย โดยนักบินของยานดิสคัฟเวอรี่เที่ยวบิน STS-133 มีดังนี้.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเอสทีเอส-133
เอสทีเอส-134
STS-134 เป็นภารกิจสุดท้ายของเที่ยวบินของกระสวยอวกาศนาซา เป็นภารกิจที่ 25 และเป็นเที่ยวบินอวกาศสุดท้ายของกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ เที่ยวบินนี้ส่งมอบให้อัลฟาแมกเนติกสเปกโตรมิเตอร และการขนส่งโลจิสติกเอ๊กซ์เพสย์ ไปยังสถานีอวกาศนานาชาต.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเอสทีเอส-134
เอสทีเอส-51-แอล
STS-51-L เป็นโครงการเที่ยวบินของกระสวยอวกาศครั้งที่ 25 โดยใช้กระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ ซึ่งยกออกจาก Launch Complex 39-B เมื่อวันที่ 28 มกราคม..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเอสทีเอส-51-แอล
เอสเอ็น 1987เอ
อสเอ็น 1987เอ (SN 1987A) เป็นมหานวดาราในเขตของเนบิวลาบึ้งในเมฆแมเจลแลนใหญ่ ใกล้กับดาราจักรแคระ เกิดขึ้นห่างจากโลกประมาณ 51.4 กิโลพาร์เซก หรือประมาณ 168,000 ปีแสง อาจจะมองเห็นได้จากของทางใต้ เป็นมหานวดาราที่สังเกตได้ใกล้เคียงที่สุดตั้งแต่ เอสเอ็น 1604 ที่เกิดขึ้นในทางช้างเผือก แสงจากมหานวดาราใหม่มาถึงโลกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเอสเอ็น 1987เอ
เทียนกง-1
ทียนกง-1 (แปลตามตัวอักษร: วิมาน, ปราสาทลอยฟ้า) เป็นสถานีอวกาศต้นแบบแห่งแรกของจีน โคจรรอบโลกตั้งแต่เดือนกันยายน 2554 ถึงเดือนเมษายน 2561 ใช้เป็นห้องปฏิบัติการมีคนประจำและเป็นแท่นทดสอบเพื่อสาธิตสมรรถนะนัดพบและเทียบท่าในวงโคจรระหว่างช่วงปฏิบัติการสองปี มีการปล่อยโดยไม่มีมนุษย์โดยสารบนจรวดลองมาร์ช 2เอฟ/จี เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 เป็นองค์ประกอบปฏิบัติการแรกของโครงการเทียนกง ซึ่งมุ่งวางสถานีมอดูลใหญ่กว่าเข้าสู่วงโคจรในปี 2566 เทียนกง-1 เดิมคาดว่าจะออกจากวงโคจรในปี 2556.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเทียนกง-1
เขตเวลา
ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเขตเวลา
เซลีนี (ยานอวกาศ)
นอวกาศเซลีนี (SELENE; Σελήνη หมายถึง ดวงจันทร์) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คางุยะ เป็นยานอวกาศลำที่สองของญี่ปุ่น ที่ส่งขึ้นสู่ดวงจันทร์ ชื่อเซลีนีย่อมาจาก Selenological and Engineering Explorer หรือ ยานสำรวจทางวิศวกรรมและศึกษาดวงจันทร์ ยานถูกปล่อยขึ้นจากฐานปล่อยจรวดในศูนย์ศึกษาอวกาศทะเนะงะชิมะ (種子島宇宙センター, Tanegashima Space Center) จังหวัดคะโงะชิมะ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเวลา 01:31:01 น.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเซลีนี (ยานอวกาศ)
เซาตูเม
เซาตูเม (São Tomé) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเซาตูเมและปรินซีปี มีประชากร 56,166 คน (พ.ศ. 2548) หมวดหมู่:ประเทศเซาตูเมและปรินซีปี หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของโปรตุเกส.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเซาตูเม
เซตีเนีย
ซตีเนีย (มอนเตเนโกร / เซอร์เบีย: Цетинѣ / Cetině (archaic), Цетиње / Cetinje (modern), อิตาลี: Cettigne, กรีก: Κετίγνη, Ketígni, Çetince) เป็นเมืองในประเทศมอนเตเนโกร เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของแคว้นมอนเตเนโกร จากข้อมูลปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและเซตีเนีย
COROT
COROT (ย่อมาจาก COnvection ROtation and planetary Transits; หรือ "การพา การหมุน และการเคลื่อนผ่านของดาวเคราะห์") คือปฏิบัติการทางอวกาศ นำโดยองค์การอวกาศฝรั่งเศส (CNES; French Space Agency) ร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรปและองค์กรนานาชาติอื่น มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีคาบโคจรสั้น โดยเฉพาะดวงที่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลก และการตรวจวัดคาบการแกว่งตัวของดาวฤกษ์ (asteroseismology) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ COROT ถูกส่งออกสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม..
ISO 8601
ISO 8601 คือมาตรฐานสำหรับการนำเสนอตามปฏิทินและเวลา ประกาศโดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) มาตรฐานนี้มีหัวเรื่องว่า "องค์ประกอบข้อมูลและรูปแบบการแลกเปลี่ยน — รูปแบบการแลกเปลี่ยน — การนำเสนอวันที่และเวลา" คุณลักษณะสำคัญของการนำเสนอนี้คือ การจัดอันดับให้ส่วนที่มี ความสำคัญมากกว่าขึ้นก่อน นั่นคือเรียงจากหน่วยใหญ่ที่สุด (ปี) ไปยังหน่วยเล็กที่สุด (วินาที).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและISO 8601
UTC+05:45
UTC+5:45 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 5 ชั่วโมง 45 นาที ใช้ในประเทศเนปาล โดยเรื่มใช้มาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+05:45
UTC+07:20
UTC+07:20 เป็นช่วงเวลาที่ชดเชยจาก UTC เป็นเวลา +07:20.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+07:20
UTC+08:00
UTC+8 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง มีการประเมินว่า ประชากรโลกกว่า 1,708 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเวลานี้ ซึ่งคิดเป็น 24% ของประชากรโลกทั้งหมด เขตเวลานี้ เป็นเวลามาตรฐานของ;เอเชียเหนือ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+08:00
UTC+08:30
UTC+8:30 เป็นเขตเวลาใช้ใน: เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง 30 นาที โดยประเทศเกาหลีใต้เคยใช้เขตเวลาดังกล่าวระหว่างปี..
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+08:30
UTC+09:00
UTC+9 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง ใช้ใน;เอเชียเหนือ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+09:00
UTC+09:30
UTC+9:30 เป็นเขตเวลาที่อ้างอิงโดยเส้นเมริเดียนที่มีค่าลองจิจูด 142°30' ตะวันออก ซึ่งเวลาท้องถิ่นจะเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง 30 นาที และเร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 2 ชั่วโมง 30 นาที เขตเวลา UTC+9:30 มีใช้เฉพาะในประเทศออสเตรเลีย โดยมีชื่อเรียกว่า "เวลามาตรฐานกลางออสเตรเลีย" (Australian Central Standard Time, ACST) ในรัฐนอร์เทิร์นเทร์ริทอรีใช้เขตเวลานี้ตลอดทั้งปี ส่วนในรัฐเซาท์ออสเตรเลียจะใช้เขตเวลานี้เฉพาะในฤดูหนาว ส่วนในฤดูร้อนจะใช้เวลามาตรฐาน UTC+10:30 แทน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+09:30
UTC+10:30
UTC+10:30: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้า - พื้นที่ทะเล UTC+10:30 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 10 ชั่วโมง 30 นาที เขตเวลานี้ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+10:30
UTC+11:30
UTC+11:30 เป็นเขตเวลาหนึ่ง ถูกกำหนดโดยใช้ละติจูดที่ 172 องศา 30 ลิปดาตะวันตกเป็นเส้นเมริเดียนอ้างอิง เวลาของนาฬิกาที่อ้างอิงเขตเวลานี้จะเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 11 ชั่วโมง 30 นาที และเร็วกว่าเวลาในประเทศไทย 4 ชั่วโมง 30 นาที ใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2495-4 ตุลาคม 2558 ปัจจุบัน เกาะนอร์ฟอล์ก ใช้เขตเวลา UTC+11:00.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+11:30
UTC+14:00
UTC+14:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 14 ชั่วโมง ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC+14:00
UTC±00:00
UTC - 2010: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้าอ่อน - บริเวณทะเล UTC±00:00 เขตเวลานี้ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC±00:00
UTC−00:44
UTC-00:44 เป็นออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด UTC ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว UTC−00:44 ใช้ใน ประเทศไลบีเรีย จนถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 1972.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−00:44
UTC−02:00
UTC-02:00: Legend UTC UTC−02:00 เป็นเขตเวลาหนึ่ง ถูกกำหนดโดยใช้ละติจูดที่ 30 องศาตะวันตกเป็นเส้นเมริเดียนอ้างอิง เวลาของนาฬิกาที่อ้างอิงเขตเวลานี้จะช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 2 ชั่วโมง และช้ากว่าเวลาในประเทศไทย 9 ชั่วโมง.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−02:00
UTC−03:00
UTC−03: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้าอ่อน '''UTC−03:00''' คือ ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่หักค่า 3 ชั่วโมงของเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC).
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−03:00
UTC−08:00
UTC−08: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC−08:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−08:00
UTC−08:30
UTC−08:30 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง 30 นาที ใช้ในหมู่เกาะพิตแคร์น จนถึง 26 เมษายน ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−08:30
UTC−09:00
UTC−9 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−09:00
UTC−09:30
UTC−9:30 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 9 ชั่วโมง 30 นาที ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−09:30
UTC−10:00
UTC−10 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 10 ชั่วโมง ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−10:00
UTC−10:30
UTC−10:30 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 10 ชั่วโมง 30 นาที ใช้ในรัฐฮาวาย โดยเรื่มใช้มาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−10:30
UTC−11:00
UTC−11 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 11 ชั่วโมง ใช้ใน.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−11:00
UTC−12:00
UTC−12 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 12 ชั่วโมง มีพิกัดลองจิจูดตั้งแต่ 180°W จนถึง 172°30′W ไม่มีเขตที่อยู่อาศัยใดที่ตั้งอยู่ในเขตเวลานี้ มีเพียงเกาะเบเกอร์และเกาะฮาวแลนด์ซึ่งไม่มีคนอาศัยอยู่เท่านั้นที่ตั้งอยู่ในเขตเวลานี้ หมวดหมู่:ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด es:Huso horario#UTC−12:00, Y.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและUTC−12:00
31 ธันวาคม
วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.
ดู เวลาสากลเชิงพิกัดและ31 ธันวาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Coordinated Universal TimeUTCUniversal Coordinated Timeพิกัดเวลาสากลเวลามาตรฐานสากล
รัฐออนแทรีโอรัฐอะแลสการัฐอิลลินอยส์รัฐอินดีแอนารัฐฮาวายรัฐจอร์เจียรัฐควิเบกรัฐซัสแคตเชวันรัฐนอร์ทดาโคตารัฐนอร์ทแคโรไลนารัฐนิวบรันสวิกรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์รัฐนิวยอร์กรัฐนิวแฮมป์เชียร์รัฐนิวเจอร์ซีย์รัฐแมริแลนด์รัฐแมสซาชูเซตส์รัฐแมนิโทบารัฐแอริโซนารัฐแอละแบมารัฐแอลเบอร์ตารัฐแทสเมเนียรัฐแคลิฟอร์เนียรัฐโรดไอแลนด์รัฐโอคลาโฮมารัฐโนวาสโกเชียรัฐไวโอมิงรัฐไอดาโฮรัฐไอโอวารัฐเพนซิลเวเนียรัฐเมนรัฐเวสต์เวอร์จิเนียรัฐเวอร์มอนต์รัฐเวอร์จิเนียรัฐเทนเนสซีรัฐเท็กซัสรัสแอร์ เที่ยวบินที่ 9605รายชื่อตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกรายชื่อแผ่นดินไหวนำและแผ่นดินไหวตามแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554รายชื่อเวลาเปิดตลาดหลักทรัพย์รายการสุริยุปราคาในสมัยโบราณริเบรารีอูบรังกูฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2560ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560ลากวีลาลุกกาวอสตอค 1วาฮากาวิกฤตการณ์เกาหลีเหนือ พ.ศ. 2560–2561วีตอเรียสกายแล็บ 3สายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552สุริยุปราคา 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557สถานีอวกาศสถานีอวกาศมีร์สถานีอวกาศสกายแล็บสถานีอวกาศนานาชาติสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์หมู่เกาะเติกส์และเคคอสออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัดอัดจาราอาเรซีโบอิหร่านแอร์ เที่ยวบินที่ 277อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เที่ยวบินที่ 8501อุทยานโอลิมปิกลอนดอนอูร์บีโนอธิกวินาทีฮายาบูสะ2จันทรายาน-1จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558จันทรุปราคาเต็มดวง มิถุนายน พ.ศ. 2554จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553จูโน (ยานอวกาศ)ธงประมวลสากลดอว์น (ยานอวกาศ)ดาวอังคารดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันดาวเทียมโอซุมิดาวเทียมไทยคมดิอะเมซิ่งเรซเอเชีย 2ดิจิตอลมอนสเตอร์ เซโวลูชันคาตันซาโรค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลาตรีเยสเตตอร์เรอันนุนซีอาตาซัลโต (ประเทศอุรุกวัย)ซันฮวนเดโลสมอร์โรสซานตามาเรีย (รัฐรีโอกรันดีโดซูล)ปฏิทินจีนประเทศมอริเตเนียประเทศอาร์มีเนียประเทศจอร์แดนประเทศโมร็อกโกประเทศเอกวาดอร์ประเทศเซาตูเมและปรินซีปีปัญหาปี ค.ศ. 2038ปาสซูฟูนดูปิวราปุนตาเดลเอสเตปีเอนซานอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์นิวฮอไรซันส์นิวเดลีนิคซิคนูนาวุตแบร์กาโมแฟร์ราราแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบินที่ 447แอโรแคริบเบียน เที่ยวบินที่ 883แผ่นดินไหวรัฐวาฮากา พ.ศ. 2561แผ่นดินไหวที่ชเวโบ พ.ศ. 2555แผ่นดินไหวที่วิซายาส พ.ศ. 2555แผ่นดินไหวที่ปีชีเลมู พ.ศ. 2553แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช มิถุนายน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวที่เกาะชวา พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวที่เกาะซามาร์ พ.ศ. 2555แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2557แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2559แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560แผ่นดินไหวในชวา พ.ศ. 2561แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2551แผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2556แผ่นดินไหวในยูซู พ.ศ. 2553แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในลอร์กา พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในสุมาตรา พ.ศ. 2552แผ่นดินไหวในหุบเขาเฟอร์กานา พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในจังหวัดฟุกุชิมะ เมษายน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในจังหวัดกือตาห์ยา พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในคอสตาริกา พ.ศ. 2555แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล พ.ศ. 2558แผ่นดินไหวในปากีสถาน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในปาปัวนิวกินี พ.ศ. 2561แผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561แผ่นดินไหวในเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในเฮติ พ.ศ. 2553แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 110แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 111แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 112แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 113แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 114แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 115แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 116แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 117แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 118แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 119แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 120แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 121แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 122แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 123แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 124แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 125แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 126แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 127แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 128แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 129แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 130แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 131แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 132แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 133แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 134แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 135แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 136แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 137แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 138แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 140แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 141แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 142แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 143แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 144แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 145แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 146แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 147แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 148แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 149แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 150แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 151แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 152แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 153แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 154แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 156แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 157แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 158แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 159แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 160แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 161แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 162โกยาเนียโคกาลีมาเวีย เที่ยวบินที่ 9268โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซโคลาเวีย เที่ยวบินที่ 348โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007โปร์ตูอาเลกรีโปร์ตูเวลยูโปโตซีโปเตนซาโนวูอัมบูร์กูไพโอเนียร์ 11ไอล์ออฟแมนไทยคม 6ไทยคม 8ไซเบอร์จายาไปซันดูเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชเมสเซนเจอร์ (ยานอวกาศ)เมเว็นเลิฟไลฟ์! ปฏิบัติการไอดอลจำเป็นเวลามอสโกเวลามาตรฐานพม่าเวลามาตรฐานกรีนิชเวลามาตรฐานญี่ปุ่นเวลามาตรฐานจีนเวลามาตรฐานเกาหลีเวลายุโรปกลางเวลาสากลเวลาออมแสงเวลาออมแสงยุโรปกลางเวลาออมแสงยุโรปตะวันออกเวลาในประเทศชิลีเวลาในประเทศกาตาร์เวลาในประเทศภูฏานเวลาในประเทศมอลตาเวลาในประเทศอิรักเวลาในประเทศปาเลสไตน์เวโรนาเวเนรา 3เหตุยิงกันในทูซอน พ.ศ. 2554เหตุระเบิดรถไฟฟ้าใต้ดินมินสค์ พ.ศ. 2554เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เหตุระเบิดในลอนดอน 7 กรกฎาคม 2548เหตุรถไฟตกรางในฟิลาเดลเฟีย พ.ศ. 2558เหตุรถไฟตกรางในมณฑลเจียงซี พ.ศ. 2553เหตุอิลยูชิน อิล-76 กองทัพอากาศแอลจีเรียตก พ.ศ. 2561เหตุอุกกาบาตตกในรัสเซีย พ.ศ. 2556เหตุเพลิงไหม้ในเซี่ยงไฮ้ พ.ศ. 2553เหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์เหตุเหยียบกันเสียชีวิตในพนมเปญเอสทีเอส-129เอสทีเอส-133เอสทีเอส-134เอสทีเอส-51-แอลเอสเอ็น 1987เอเทียนกง-1เขตเวลาเซลีนี (ยานอวกาศ)เซาตูเมเซตีเนียCOROTISO 8601UTC+05:45UTC+07:20UTC+08:00UTC+08:30UTC+09:00UTC+09:30UTC+10:30UTC+11:30UTC+14:00UTC±00:00UTC−00:44UTC−02:00UTC−03:00UTC−08:00UTC−08:30UTC−09:00UTC−09:30UTC−10:00UTC−10:30UTC−11:00UTC−12:0031 ธันวาคม