โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เวร์มัคท์

ดัชนี เวร์มัคท์

วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..

139 ความสัมพันธ์: บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์บัลเคนครอยซ์บุนเดซเวร์ชตูร์มเกอชึทซ์ฟรีดริช ฟรอมม์ฟรีดริช ฮอสส์บาคฟัลล์ รอทฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ฟือเรอร์พรรคนาซีกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมันกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์กองพลภูเขาเอ็สเอ็สที่ 6 นอร์ดกองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)กองพลทหารอาสาสมัครภูเขาเอ็สเอ็สที่ 7 พรินซ์ ยูจีนกองพลทหารอาสาสมัครแพนเซอร์เกรนาดีร์ที่ 11 นอร์ดลันด์กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1)กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 15 แห่งเอ็สเอ็ส (ลัตเวียนที่ 1)กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 19 (ลัตเวียที่ 2)กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 36กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 10 ฟรุนด์สแบร์กกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 12 ฮิตเลอร์ยูเกินด์กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 2 ดัสไรช์กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 3 โทเทินคอฟกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 9 โฮเอินชเตาเฟินกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 16 ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็สกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 17 กอทท์ฟอนแบร์ลิชชิงเงินกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)กองทัพรัฐเอกราชโครเอเชียกองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)กองทัพน้อยแอฟริกาการบุกครองโปแลนด์การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโตการยึดครองหมู่เกาะแชนเนลของเยอรมนีการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนีการรุกปรัสเซียตะวันออกการรุกเบลเกรดการสังหารหมู่ที่วินคท์การสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940การทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)การตั้งรับที่ป้อมเบรสต์การปกครองโปแลนด์ทางทหารของเยอรมนีกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินกำแพงแห่งแอตแลนติกกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอกุหลาบขาวมักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์มืย เบลารูซืยมีนูตามอลชานียายศทหารกองทัพบกสาธารณรัฐจีน...ยศและเครื่องหมายของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สยุทธการยึดปราสาทอิทเทอร์ยุทธการที่มอลวายุทธการที่ลวูฟ (ค.ศ. 1939)ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)ยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940)ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3ยุทธการที่คาร์เรนทันยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)ยุทธการที่โบรดี (ค.ศ. 1941)ยุทธการที่โบโรวา โกรายุทธการที่โซมูร์ (ค.ศ. 1940)ยุทธการที่โปรโฮรอฟกายุทธการที่เขาแทรนสดานูเบียนยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1943)ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ครายชื่อธงในประเทศเยอรมนีรายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935)ลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สองลุฟท์วัฟเฟอวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สวันแสนทรหดวาซีลี ไซเซฟวิชา ฐิตวัฒน์วิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟวิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน ลีบวิลเฮล์ม ไคเทิลสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945สหพันธรัฐออสเตรียสาธารณรัฐสังคมอิตาลีสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียหน่วยทหารลัตเวียอชัฟเฟินบวร์คออทโท สกอร์เซนีออทโท แอนสท์ เรเมอร์อับเวร์อัลเฟรด โยเดิลอัดเลอร์ทาคอันชลุสส์อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์)ธงกองทัพทุ่นระเบิดมีตีนตะขาบโกลีอัทขบวนการต่อต้านฝรั่งเศสดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชาครีกซมารีเนอคาราบีเนอร์ 98คาคำสั่งคอมมิสซาร์ปฏิบัติการบอลติกปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ปฏิบัติการมึนเชินปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-โบโกดูฮอฟปฏิบัติการเพาลาประเทศเนเธอร์แลนด์นาซีเยอรมนีแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์แมทธิว เฮทเซนาวเออร์แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทินแอริช ฟอน มันชไตน์แอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบินแฮร์แบร์ท บาเคอแผนมันชไตน์แผนลับ 20 กรกฎาคมแผนความหิวโฟล์คสชทูร์มโยฮันเรส เบลสโกวิตซ์ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็สไรชส์เวร์ไอน์ซัทซกรุพเพนไฮนซ์ ฮิตเลอร์ไทเกอร์ 1เวร์มัคท์บริสุทธิ์เอริช เฟ็ลล์กีเบิลเอ็มเพ 18เอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์เอเลฟันท์เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เขตปกครองสามัญเครื่องหมายบาดเจ็บเครื่องอินิกมาDay of Defeat: Source8.8 ซม. แพค 43 ขยายดัชนี (89 มากกว่า) »

บราวนิง ไฮ-พาวเวอร์

ราวนิง ไฮ-พาวเวอร์ เป็นปืนพกกึ่งอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพและทรงพลังชนิดหนึ่งของโลกMiller, David (2001).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และบราวนิง ไฮ-พาวเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บัลเคนครอยซ์

ัลเคนเคราซ์เป็นตราสัญลักษณ์ไม้กางเขนเหล็กแบบตรงเป็นสัญลักษณ์ประจำของกองทัพเวร์มัคท์และขยายสาขาในสงครามโลกครั้งที่สอง,มันถูกใช้โดยเฮร์ (กองทัพบก),ลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) และครีมารีเนอ (กองทัพเรือ).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และบัลเคนครอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุนเดซเวร์

นเดซเวร์ (Bundeswehr) เป็นกองทัพของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และบุนเดซเวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชตูร์มเกอชึทซ์

Museum of the Great Patriotic War in Moscow ชตูร์มเกอชึทซ์ (Sturmgeschütz) หรือเรียกอย่างย่อว่า ชตูก (StuG) เป็นยานหุ้มเกราะรุ่นหนึ่งที่ถูกใช้งานโดยกองทัพเวร์มัคท์และวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เป็นต้นแบบของยานหุ้มเกราะ อยู่ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งสองซึ่งส่วนใหญ่ประกอบไปด้วย ชตูก 3 และชตูก 4.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และชตูร์มเกอชึทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ฟรอมม์

ฟรีดริช ฟรอมม์ (Friedrich Fromm; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1888 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดที่กรุงเบอร์ลิน เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยศร้อยโท ต่อมาเมื่อพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ ฟรอมม์ได้รับตำแหน่งผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง (Replacement Army) ในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฟรอมม์ซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง ก็เป็นหนึ่งในผู้ที่มีอำนาจสูงสุดในกองทัพ เขามีส่วนรู้เห็นถึงแผนลับ 20 กรกฎาคมและปฏิบัติการวาลคิรี แต่เมื่อแผนการล้มเหลว ฟรอมม์ได้สั่งประหารชีวิตผู้สมคบคิดหลายคนเพื่อปิดปากไม่ให้พาดพิงมาถึงตน แต่กระนั้น วันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฟรีดริช ฟรอมม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ฮอสส์บาค

ฟรีดริช ฮอสส์บาค(22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 – 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ ผู้ที่ได้เป็นนายทหารคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฟรีดริช ฮอสส์บาค · ดูเพิ่มเติม »

ฟัลล์ รอท

แผนที่แสดงถึงแผนฟัลล์ รอท(กรณีแดง) ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ฟัลล์ รอท(กรณีแดง)เป็นแผนการสำหรับขั้นตอนที่สองของการพิชิตฝรั่งเศสโดยกองทัพเยอรมันและได้เริ่มต้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฟัลล์ รอท · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์(6 กันยายน ค.ศ. 1917 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2008) เป็นสมาชิกคนที่สองที่เหลือรอดชีวิตในแผนลับ 20 กรกฎาคม ผู้ส่วมรู้ร่วมคิดระหว่างเจ้าหน้าที่นายทหารแห่งกองทัพเวร์มัคท์ เพื่อลอบสังหารผู้นำเผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฟือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคนาซี

รรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei, ย่อ: NSDAP) หรือ พรรคนาซี เดิมมีผู้เข้าร่วมเพียง 7 คน เป็นพรรคการเมืองที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงไรช์ที่สาม ตั้งแต..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และพรรคนาซี · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน

กองบัญชาการใหญ่กองทัพบก (Oberkommando des Heeres) ของประเทศเยอรมนีในสมัยนาซี กองบัญชาการนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์

กองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (Oberkommando der Wehrmacht) หรือ OKW เป็นหน่วยบัญชาการระดับสูงสุดของเวร์มัคท์ ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลภูเขาเอ็สเอ็สที่ 6 นอร์ด

กองพลภูเขาเอ็สเอ็สที่ 6 "นอร์ด" (6. SS-Gebirgs-Division "Nord")เป็นหน่วยทหารของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก่อตั้งขึ้นในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลภูเขาเอ็สเอ็สที่ 6 นอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1)

กองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส "ฮันด์ซาร์"(โครเอเชียนที่ 1) เป็นกองพลทหารภูเขาแห่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,เป็นสาขาหนึ่งของกองกำลังติดอาวุธของพรรคนาซีเยอรมันที่ได้ทำหน้าที่ควบคู่ แต่ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์อย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลทหารภูเขาวัฟเฟินที่ 13 แห่งเอ็สเอ็ส ฮันด์ซาร์ (โครเอเชียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารอาสาสมัครภูเขาเอ็สเอ็สที่ 7 พรินซ์ ยูจีน

กองพลทหารอาสาสมัครภูเขาเอ็สเอ็สที่ 7 "พรินซ์ ยูจีน"(11. SS-Freiwilligen Gebirgs-Division "Prinz Eugen")เป็นกองพลทหารราบภูเขาเยอรมันของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,กองกำลังปีกติดอาวุธของพรรคนาซีเยอรมันที่ได้ทำหน้าที่เทียบเท่า แต่ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์อย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลทหารอาสาสมัครภูเขาเอ็สเอ็สที่ 7 พรินซ์ ยูจีน · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารอาสาสมัครแพนเซอร์เกรนาดีร์ที่ 11 นอร์ดลันด์

กองพลทหารอาสาสมัครแพนเซอร์เกรนาดีร์ที่ 11 "นอร์ดลันด์"เป็นกองพลของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สที่ได้รับการคัดเลือกจากทหารอาสาสมัครชาวต่างชาติและการเกณฑ์ทหารเข้าสู่หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ได้แสดงให้เห็นในการปฏิบัติหน้าที่ในรัฐเอกราชโครเอเชียและบนแนวรบด้านตะวันออกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลทหารอาสาสมัครแพนเซอร์เกรนาดีร์ที่ 11 นอร์ดลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1)

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1) (14., 14а Гренадерська Дивізія СС (1а галицька)), ก่อนปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 14 แห่งเอ็สเอ็ส (กาลิเซียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 15 แห่งเอ็สเอ็ส (ลัตเวียนที่ 1)

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 15 แห่งเอ็สเอ็ส (ลัตเวียที่ 1)(15., 15.) เป็นกองพลทหารราบของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินที่ 15 แห่งเอ็สเอ็ส (ลัตเวียนที่ 1) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 19 (ลัตเวียที่ 2)

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 19 (ลัตเวียที่ 2)(19., 19.) เป็นกองพลทหารราบของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกองพลลัตเวียที่ 2 ก่อตั้งขึ้นในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 19 (ลัตเวียที่ 2) · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 36

กองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 36(36., เป็นที่รู้จักกันคือ SS-Sturmbrigade Dirlewanger (1944), หรือจากตัวอย่างที่เรียกว่า กองพลน้อยเดียร์เลวังงาร์,เป็นหน่วยทหารของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งประกอบไปด้วยเหล่าอาชญากรที่คาดหวังว่าจะสู้รบจนตัวตายในแนวหน้า, หน่วยนี้อยู่ภายใต้การนำของออสคาร์ เดียร์เลวังงาร์ แต่เดิมที่ได้ก่อตั้งขึ้นมาสำหรับการต่อต้านพลพรรคเพื่อประจัญหน้ากับการต่อต้านของโปแลนด์ ในท้ายที่สุด หน่วยนี้ได้แสดงให้เห็นในการปฏิบัติหน้าที่ในสโลวาเกีย, ฮังการี และต่อกรกับกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตจนกระทั่งสงครามใกล้ยุติลง ในช่วงระหว่างปฏิบัติการได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการข่มขืน, ปล้นสดมภ์ และสังหารหมู่ต่อพลเรือน หน่วยนี้ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในบางครั้งของการทัพที่ฉ่าวโฉที่สุดในสงครามโลกครั้งที่สองของความหวาดกลัวในด้านตะวันออก ในช่วงเวลาที่องค์กรได้อยู่ในดินแดนรัสเซีย, เดียร์เลวังงาร์ได้ทำการเผาผู้หญิงและเด็กทั้งเป็นและปล่อยให้สุนัขที่หิวโหยนั้นรุมขย้ำเพื่อเป็นอาหารของพวกมัน เขาได้เป็นที่รู้จักคือเป็นขบวนการขนาดใหญ่ที่ก่อตั้งขึ้นโดยมีเป้าหมายเพียงอย่างเดียวคือการฉีดยากับชาวยิวด้วยสตริกนิน หน่วยเดียร์เลวังงาร์ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการยึดครองเบลารุส ที่ได้ทำการจารึกชื่อเสียงในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สสำหรับการกระทำที่โหดเหี้ยม กองทัพต่างๆและผู้บัญชาการเอ็สเอ็สได้พยายามที่จะถอดถอนเดียร์เลวังงาร์ออกจากหน่วยเอ็สเอ็สและยุบหน่วยนี้ทิ้ง แม้ว่าเขาจะมีผู้อุปถัมภ์ภายในเครื่องมือนาซีที่ได้เข้ามาแทรกแซงในนามของเขา หน่วยของเขาได้เป็นที่น่าจดจำมากที่สุดของชื่อเสียงด้วยการทำลายกรุงวอร์ซออย่างราบคาบ, และการสังหารหมู่จำนวน 100,000 คนของประชากรของเมืองในช่วงการก่อการกำเริบวอร์ซอ; และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปราบปรามอย่างโหดเหี้ยมของการก่อการกำเริบชาติสโลวาเกียในปี ค.ศ. 1944 กองพลเดียร์เลวังงาร์แห่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สได้สร้างความหวาดกลัวให้กับองค์กรวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส รวมทั้ง SS-Führungshauptamt (กองบัญชาการทหารสูงสุดเอ็สเอ็ส) และมีชื่อเสียงด้านลบอย่างร้ายแแรงมากที่สุดในฐานะอาชญากรและชั่วร้ายมากที่สุดของหน่วยเอ็สเอ็สในเครื่องจักรสงครามของฮิตเลอร.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเกรนาดีร์วัฟเฟินแห่งเอ็สเอ็สที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 10 ฟรุนด์สแบร์ก

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 10 ฟรุนด์สแบร์ก (10.) เป็นกองพลยานเกราะวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การต่อสู้รบครั้งแรกของกองพลในยูเครนในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 10 ฟรุนด์สแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 12 ฮิตเลอร์ยูเกินด์

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 12 ฮิตเลอร์ยูเกินด์(12.)เป็นกองพลยานเกราะเยอรมันของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนใหญ่ของทหารเกณฑ์วัยหนุ่มที่ถูกดึงมาจากสมาชิกของยุวชนฮิตเลอร์ ในขณะที่ได้มีเจ้าหน้าที่นายทหารอาวุโสระดับชั้นประทวน(noncommissioned officer-NCOs)และเจ้าหน้าที่นายทหารจากกองพลวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สอื่นๆ กองพลนี้ได้ก่ออาชญากรรมสงครามมากมายหลายครั้งในขณะที่ได้ออกเดินทางและในช่วงระหว่างการสู้รบช่วงแรกในนอร์ม็องดี,รวมทั้งการสังหารหมู่ที่ ascq และ Ardenne Abbey ได้แสดงให้เห็นเป็นครั้งแรกในการออกปฏิบัติเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 12 ฮิตเลอร์ยูเกินด์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 2 ดัสไรช์

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 2 ดัสไรช์" (2. SS-Panzer-Division "Das Reich".)เป็นกองพลของนาซี หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นหนึ่งในสามสิบแปดกองพลที่ก่อตั้งโดยหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ดัสไรช์ได้ทำหน้าที่ในช่วงการบุกครองฝรั่งเศสและได้เข้ามามีส่วนร่วมในการต่อสู้ครั้งสำคัญหลายครั้งบนแนวรบด้านตะวันออก รวมทั้งในยุทธการที่โปรโฮรอฟกาได้ต่อกรกับกองทัพรถถังการ์ดที่ 5 (5th Guards Tank Army) ที่ยุทธการที่คูสค์ จากนั้นก็ได้ย้ายไปยังด้านตะวันตกและได้เข้ามามีส่วนร่วมในการต่อสู้ในนอร์มังดีและยุทธการตอกลิ่ม สงครามได้ยุติลงในฮังการีและออสเตรีย ดัส ไรช์ได้มีส่วนรับผิดชอบในการสังหารหมู่ออราดูร์-ซูร์-กลานและตูล (Tulle).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 2 ดัสไรช์ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 3 โทเทินคอฟ

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 3 โทเทินคอฟ(3. SS-Panzer-Division "Totenkopf".) เป็นหนึ่งในสามสิบแปดกองพลของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก่อนที่จะบรรลุในสถานะกองพล การก่อตั้งหน่วยที่ได้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า คัมพ์กรุพเพอ(Kampfgruppe-กลุ่มหน่วยรบ)"ไอค์เคอ" บุคลการส่วนใหญ่ของกองพลนั้นมาจากหน่วยเอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ(การ์ดผู้คุมค่ายกักกัน), และอื่นๆที่เป็นสมาชิกของทหารอาสาเยอรมันที่ได้ก่ออาชญากรรมสงครามในประเทศโปแลนด์ เนื่องจากตามที่สัญลักษณ์ประจำและชื่อ ('โทเทินคอฟ'.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 3 โทเทินคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 9 โฮเอินชเตาเฟิน

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 9 โฮเอินชเตาเฟิน (9.)เป็นกองพลยานเกราะวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เข้าร่วมในการสู้รบทั้งทางด้านตะวันออกและด้านตะวันตก กองพลได้ออกปฏิบัตการในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 9 โฮเอินชเตาเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 16 ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 16 ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส(16.)เป็นหน่วยยานยนต์ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 16 ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส · ดูเพิ่มเติม »

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 17 กอทท์ฟอนแบร์ลิชชิงเงิน

กองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 17 กอทท์ฟอนแบร์ลิชชิงเงิน (17.)เป็นกองพลเยอรมันของหน่วยหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สที่ได้แสดงให้เห็นในการปฏิบัติหน้าที่บนแนวรบด้านตะวันตกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์แกรนาเดียร์ที่ 17 กอทท์ฟอนแบร์ลิชชิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)

กองทัพบกเยอรมันหรือเรียกว่า เฮร์ (Heer) เป็นกองทัพบกเยอรมันในส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์,กองทัพประจำของเยอรมันในปี 1935 จนกระทั่งถูกปลดและสลายตัวในเดือนสิงหาคม ปี 1946.กองทัพเวร์มัคฺได้รวมถึงครีกซมารีเนอ (กองทัพเรือ),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากศ).ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,จำนวนทหารทั้งหมด 13 ล้านนายรับใช้ในกองทัพเยอรมัน.บุคลากรของกองทัพส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพรัฐเอกราชโครเอเชีย

กองทัพรัฐเอกราชโครเอเชีย (Hrvatske oružane snage - HOS) เป็นกองกำลังทหารของรัฐเอกราชโครเอเชีย ก่อตั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2487 มีกองกำลังกึ่งทหารประกอบในกองทัพ 2 หน่วย คือ กองกำลังแห่งชาติโครเอเชีย (Domobrani) และ กองกำลังอุสตาซา กองทัพรัฐเอกราชได้จัดกองกำลังทหารทั้งหมด 18 กองพล แบ่งเป็น ทหารราบ 13 กองพล ทหารภูเขา กับ หน่วยเคลื่อนที่เร็ว อย่างละ 2 กองพล และ กองกำลังสำรอง 1 กองพล รวมกับ ทหารปืนใหญ่ และ หน่วยสนับสนุน ในระยะต่อมาได้จัดตั้งหน่วยทหารยานเกราะ ซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากเวร์มัคท.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองทัพรัฐเอกราชโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)

กองทัพที่ 6 เป็นกองทัพสนามของเวร์มัคท์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพที่ 6 เป็นที่รู้จักจากการถูกทำลายโดยกองทัพแดง ที่ ยุทธการที่สตาลินกราด ในช่วงฤดูหนาวปี 1942/43 นอกจากนี้กองทัพที่ 6 ยังได้ก่ออาชญากรสงคราม (ชึ่งเป็นการสังหารหมู่ชาวยิว 30,000 คนที่ เบบียาร์) กองทัพที่ 6 อยู่ภายได้การปัญชาการโดยจอมพล วัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา ในช่วง ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในปี 1941.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพน้อยแอฟริกา

แอฟริกา คอร์ (Deutsches Afrikakorps, DAK) เป็นกองทัพเยอรมันในแอฟริกาซึ่งอยู่ในช่วงการทัพแอฟริกาเหนือในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีผู้บัญชาการทหารที่มีความสามารถและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดในกองทัพเวร์มัคคือ จอมพลแอร์วิน รอมเมิล หมวดหมู่:กองทัพเยอรมัน หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกองทัพน้อยแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต

การก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต (אױפֿשטאַנד אין װאַרשעװער געטאָ; powstanie w getcie warszawskim; Aufstand im Warschauer Ghetto) เป็นเหตุการณ์ในช่วงปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองหมู่เกาะแชนเนลของเยอรมนี

หมู่เกาะแชนเนลเป็นเขตยึดครองโดยกองกำลังนาซีเยอรมันจากส่วนใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการยึดครองหมู่เกาะแชนเนลของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี

ือนตุลาคม ค.ศ. 1938 ฮิตเลอร์ (ยืนอยู่ในเมอร์ซิเดส) ขับผ่านฝูงชนในเชบ ส่วนหนึ่งของภูมิภาคซูเดเทินลันด์ที่มีประชากรชาวเยอรมันอาศัยอยู่มากของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งถูกผนวกเข้ากับนาซีเยอรมนีจากความตกลงมิวนิก การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี (ค.ศ. 1938–1945) เริ่มต้นด้วยเยอรมันผนวกภูมิภาคตอนเหนือและชายแดนด้านตะวันตกของเชโกสโลวาเกีย, ก่อนหน้านี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมัน-ออสเตรียที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือซูเดเทินลันด์ ภายใต้เงื่อนไขที่ระบุไว้โดยข้อตกลงมิวนิก ผู้นำเยอรมันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้เอ่ยอ้างสำหรับการกระทำเช่นนี้คือได้กล่าวถึงความทุกข์ทรมานความเดือดร้อนโดยประชากรชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติเยอรมันที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนั้น ป้อมปราการชายแดนที่ใหม่และกว้างขางคลอบคลุมเชโกสโลวักยังคงตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ภายหลังจากอันชลุสส์คือการผนวกออสเตรียของนาซีเยอรมนี ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

การรุกปรัสเซียตะวันออก

การรุกปรัสเซียตะวันออกคือการรุกของกองทัพแดงต่อกองทัพเวร์มัคท์ในแนวรบด้านตะวันออกเรื่มขึ้นในวันที่13 มกราคม – 25 เมษายน 1945 กองทัพเวร์มัคท์ยังไม่ยอมจำนนจนถึงวันที่ 9 พฤษภาคม ยุทธการที่เคอนิจส์แบร์กคือยุทธการสุดท้ายในการรุกที่โซเวียตได้รับชัยชนะอย่างเด็.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการรุกปรัสเซียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การรุกเบลเกรด

การรุกเบลเกรดหรือปฏิบัติการการรุกทางยุทธศาสตร์เบลเกรด (Beogradska operacija, Београдска операција; Белградская стратегическая наступательная операция, Belgradskaya strategicheskaya nastupatel'naya operatsiya) (14 กันยายน ค.ศ. 1944 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944) เป็นปฏิบัติการทางทหารในซึ่งเบลเกรดได้รับการปลดปล่อยจากกองทัพเวร์มัคท์ของเยอรมันด้วยความพยายามร่วมมือกันของกองทัพแดงแห่งโซเวียต พลพรรคยูโกสลาเวีย และกองทัพประชาชนบัลแกเรีย กองกำลังโซเวียตและหน่วยทหารอาสาท้องถิ่นได้เริ่มแบ่งแยกกันแต่ได้ปฏิบัติการร่วมกันอย่างมีอิสระเมื่อได้ทำลายการควบคุมของเยอรมันในกรุงเบลเกรดและท้ายที่สุดก็ถูกบังคับให้ล่าถอย การวางแผนสู้รบคือการประสานงานกันอย่างราบรื่นในหมู่ผู้นำบัญชาการและปฏิบัติการนั้นส่วนใหญ่ได้ถูกมอบสิทธิ์ผ่านความร่วมมือกันทางยุทธวิธีระหว่างยอซีป ตีโตและโจเซฟ สตาลิน เมื่อเริ่มต้นขึ้นในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการรุกเบลเกรด · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ที่วินคท์

การสังหารหมู่ที่วินคท์(Bloedbad van Vinkt)เป็นอาชญากรรมสงครามซึ่งเกิดขึ้นในหมู่บ้านวินคท์(Vinkt)และไมก์เฮม(Meighem) ใกล้กับเกนต์ ประเทศเบลเยียม ระหว่างวันที่ 26-28 พฤษภามคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการสังหารหมู่ที่วินคท์ · ดูเพิ่มเติม »

การสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940

การสงบศึก 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการสงบศึก 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

การทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)

การทหารของเยอรมนี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งรับที่ป้อมเบรสต์

การตั้งรับที่ป้อมเบรสต์ (Defense of Brest Fortress) เรื่มขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 เป็นหนึ่งในยุทธการแรก ๆ ของปฏิบัติการบาร์บารอสซา ที่ซึ่งการตั้งรับการโจมตีจากกองทัพ เวร์มัคท์ ของฝ่ายกองทัพแดง ณ ป้อมเบรสต์ ยืดเยื้อมากกว่าที่คาดการณ์เอาไว้ ต่อมาหลังการสิ้นสุดลงของสงครามโลกครั้งที่สอง การสู้รบนี้ได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ของการยืนหยัดต่อสู้ของฝ่ายโซเวียต และในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการตั้งรับที่ป้อมเบรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

การปกครองโปแลนด์ทางทหารของเยอรมนี

การปกครองโปแลนด์ทางทหารของเยอรมนี (Militärverwaltung in Polen) คือ การยึดอำนาจทางทหารที่จัดตั้งขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ ในช่วงหลังการบุกครองโปแลนด์ (กันยายน - ตุลาคม พ.ศ. 2482) ซึ่งยึดครองดินแดนโปแลนด์ปกครองโดย เวร์มัคท์ ก่อนจะที่โอนการบริหารจากเขตปกครองโดยทหารสู่พลเรือนในปีเดียวกัน หมวดหมู่:สมัยระหว่างสงคราม หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์โปแลนด์.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และการปกครองโปแลนด์ทางทหารของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน

กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน (Ritterkreuz des Eisernen Kreuzes) หรือเรียกอีกอย่างว่า กางเขนอัศวิน (Ritterkreuz) เป็นบำเหน็จความชอบขั้นสูงสุดในกองกำลังทหารและกึ่งทหารของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีการมอบบำเหน็จนี้อย่างแพร่หลายด้วยสารพัดเหตุผล เช่น การนำทัพที่ยอดเยี่ยมของผู้บัญชาการ หรือความกล้าหาญในสมรภูมิของนายทหารระดับล่าง บำเหน็จนี้จะถูกมอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในสามเหล่าทัพของเวร์มัคท์ (''เฮร์'', ครีกซมารีเนอ และลุฟท์วัฟเฟอ) ตลอดจนสมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส, กองแรงงานไรช์ และโฟล์คสชทูร์ม บำเหน็จนี้ถูกมอบไปมากกว่า 7,000 สำรับตลอดช่วงสงคราม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์สถาปนาบำเหน็จนี้ขึ้นเมื่อ 1 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงแห่งแอตแลนติก

กำแพงแห่งแอตแลนติก (Atlantikwall) เป็นระบบการป้องกันชายฝั่งทะเลที่กว้างขวางและป้อมปราการที่ถูกสร้างขึ้นโดยนาซีเยอรมนี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกำแพงแห่งแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ (Günther von Kluge) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลูเกอได้ถือคำสั่งแนวรบตะวันตกและแนวรบตะวันออกและได้รับเหรียญอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊กและดาบ แม้ว่าคลูเกอไม่ได้มีส่วนรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคม เขาได้ฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษไซยาไนด์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1944 หลังจากถูกเรียกให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินสำหรับการประชุมกับฮิตเลอร์ในผลพวงการรัฐประหารที่ล้มเหลว จอมพล วัลเทอร์ โมเดิล ได้ทำหน้าที่ต่อจาก.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบขาว

อนุสาวรีย์ของ'''ขบวนการกุหลาบสีขาว''' ด้านหน้าของ มหาวิทยาลัยลุดวิกเม็กซิมีเลียนแห่งมิวนิก ขบวนการกุหลาบสีขาว (die Weiße Rose)คือกลุ่มขบวนการที่ไม่ใช้ความรุนแรง, ปัญญา และต่อต้านของกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยมิวนิค เยอรมนีที่มีความคิดต่อต้านระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี พวกเขาได้ปฏิบัติการตั้งแต่เดือนมิถุนายน ปี 1942 ด้วยการแจกใบปลิวและติดสื่อที่มีเนื้อหาการต่อต้านรัฐบาลพรรคนาซี,แจ้งข่าวความพ่ายแพ้ของกองทัพเยอรมัน(เวร์มัคท์)จากยุทธการต่างๆในสงครามโลกครั้งที่สองที่รัฐบาลนาซีได้พยายามปกปิดให้กับประชาชนชาวเยอรมันรับรู้ รวมทั้งการประณามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีหรือฮอโลคอสต์ แต่ต้องจบลงด้วยการจับกลุ่มแกนนำทั้งหมดโดยพวกเกสตาโพในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 1943 กลุ่มแกนนำและสมาชิกคนอื่นๆและผู้สนับสนุนที่มีความเกี่ยวข้องในการแจกใบปลิวได้ถูกนำตัวไปพิจารณาคดีที่ไม่เป็นธรรมของโฟล์คซดกริชท์ชอฟ ("ศาลประชาชน") หลายคนถูกตัดสินประหารชีวิตและถูกจำคุก ในอีกหลายสิบปีหลังสงคราม เยอรมนีได้ประกาศยกย่องว่า เป็นขบวนการที่มีความกล้าหาญในการเรียกร้องต่อต้านนาซีด้วยหลักอหิงสาคือไม่ใช่ความรุนแรงใดๆเลย หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี หมวดหมู่:ขบวนการต่อต้านสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และกุหลาบขาว · ดูเพิ่มเติม »

มักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์

มักซีมีเลียน ไรชส์ไฟรแฮร์ ฟอน ไวช์ส (Maximilian Reichsfreiherr von Weichs; 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1881 – 27 กันยายน ค.ศ. 1954) เป็นจอมพลในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนี เขาได้บัญชาการหลายกองทัพและกองทัพกลุ่ม รวมทั้งกองทัพที่สองในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซาและกองทัพกลุ่มบีในช่วงยุทธการที่สตาลินกราดในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และมักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์ · ดูเพิ่มเติม »

มืย เบลารูซืย

มืย เบลารูซืย (Мы, беларусы; Мы, белорусы, "เรา, ชาวเบลารุส") เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของเพลงชาติเบลารุส และและเป็นวรรคแรกที่ปรากฏอยู่ในเพลงนี้ ชื่ออย่างเป็นทางการคือ เพลงชาติสาธารณรัฐเบลารุส (Дзяржаўны гімн Рэспублікі Беларусь; Государственный гимн Республики Беларусь) เดิมเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นและเริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ในฐานะเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตไบโลรัสเซีย ทำนองโดยเนียสต์เซียร์ ซาคาโลว์สกี (Niescier Sakałoŭski) เนื้อร้องโดยมีคัส คลิมโควิช (Mikhas Klimkovich) หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงเดิมที่ซาคาโลว์สกีแต่งไว้นั้นยังคงใช้อยู่ แต่เนื้อร้องเดิมถูกยกเลิกไป และมีการใช้เนื้อร้องใหม่ ซึ่งประพันธ์โดยมีคัส คลิมโควิช และอูลัดซีมีร์ คารึซนืย (Uladzimir Karyzny) ตามคำสั่งของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเบลารุส ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเนื้อร้องดังกล่าวนี้ มีเนื้อหาถึงความเป็นมิตรของชาวเบลารุส การยกย่องถึงการสู้รบเพื่อชาติในอดีต และความมุ่งหวังต่ออนาคตในวันหน้า ส่วนทำนองนั้นยังคงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์ของเบลารุสไว้.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และมืย เบลารูซืย · ดูเพิ่มเติม »

มีนูตามอลชานียา

ียงรายการ ''มีนูตามอลชานียา'' ทางวิทยุในปี 1965 มีนูตามอลชานียา (Минута молчания) เป็นรายการวิทยุและโทรทัศน์ของสหภาพโซเวียต ออกอากาศเวลา 18 นาฬิกา ทุกวันที่ 9 พฤษภาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันแห่งชัยชนะของสหภาพโซเวียตในมหาสงครามของผู้รักชาติ โดยออกอากาศครั้งแรกทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสหภาพโซเวียต ในปี 1965 ซื่งเป็นปีครบรอบ 20 ปีในชัยชนะเหนือฟาสซิสต์เยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ รายการนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ The Minute of Silence โดยเล่าเรืองร่าวเกี่ยวกับการต่อสู้ของทหารโซเวียตต่อทหารเยอรมนีนาซีผู้รุกรานสหภาพโซเวียต หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ช่องหนึ่งรัสเซีย และสถานีวิทยุและโทรทัศน์ทุกช่อง (รวมถึง ช่องรัสเซีย-1) ได้รวมกันออกอากาศรายการด้วยกัน ส่วนช่องรัสเซียทูเดย์ จะออกอากาศทั้ง ภาษาอังกฤษ, ภาษาสเปน และ ภาษาอารบิก สำหรับผู้ชมทั่วโลกตั้งแต่ปี 2002 โดยจะเรื่มออกอากาศในเวลา 18 นาฬิกา 55 นาที แต่รายการจะเริ่มต้นก่อนในเวลา 18 นาฬิกา 45 นาที ในช่วงเย็น.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และมีนูตามอลชานียา · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารกองทัพบกสาธารณรัฐจีน

ระบบยศทหารของกองทัพบกสาธารณรัฐจีน (中華民國陸軍 - Zhōnghuá Mínguó Lùjūn) โดยกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน ได้รับแบบธรรมเนียมทหารมาจากเวร์มัคท์ ระหว่างสมัยของ ความร่วมมือทางทหาร ในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยศทหารกองทัพบกสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ยศและเครื่องหมายของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส

ตารางนี้แสดง ยศและเครื่องหมายของหน่วย วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ซึ่งใช้ในระหว่าง เมษายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยศและเครื่องหมายของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการยึดปราสาทอิทเทอร์

ทธการยึดปราสาทอิทเทอร์ (Battle for Castle Itter) ณ หมู่บ้านอิทเทอร์ รัฐทิโรล ประเทศออสเตรีย รบกันเมื่อ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการยึดปราสาทอิทเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่มอลวา

ทธการที่มอลวา(Battle of Mława),หรือที่เรียกกันว่า การป้องกันของตำแหน่งมอลวา,เกิดขึ้นที่ทางตอนเหนือของเมืองมอลวาในตอนเหนือของโปแลนด์ในช่วงระหว่าง 1 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่มอลวา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ลวูฟ (ค.ศ. 1939)

ยุทธการที่ลวูฟ (หรือจะเรียกอย่างว่า การล้อมลวูฟ) เป็นหนึ่งในการรบของสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อควบคุมเมืองของโปแลนด์คือ ลวูฟ (ปัจจุบันคือ ลวีฟ,ยูเครน) ระหว่างกองทัพโปแลนด์และฝ่ายรุกรานของกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีและกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต เมืองนี้ได้ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญที่เรียกว่า หัวสะพานโรมาเนียและได้รับการป้องกันเอาไว้ได้ทั้งหมด หมวดหมู่:การทัพโปแลนด์.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่ลวูฟ (ค.ศ. 1939) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)

ทธการที่สโมเลนสค์ครั้งที่หนึ่งเป็นการสู้รบในช่วงขั้นที่สองของปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฝ่ายอักษะเข้ารุกรานสหภาพโซเวียต, ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสู้รบบริเวณรอบๆของเมืองสโมเลนสค์ ในช่วงระหว่างวันที่ 10 กรกฏาคม และ 10 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940)

ทธการที่ฌ็องบลู (หรือ ยุทธการที่ช่องว่างฌ็องบลู) เป็นการสู้รบกันระหว่างกองทัพฝรั่งเศสและกองทัพเยอรมันในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่ฌ็องบลู (ค.ศ.1940) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3

ทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3 เป็นหนึ่งในการสู้รบในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง.ปฏิบัติการโดยกองทัพกลุ่มตอนใต้ได้ต่อสู้รบกับกองทัพแดง,บริเวณรอบๆของเมืองคาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ระหว่างวันที่ 19 กุมภาพันธ์ และ 15 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คาร์เรนทัน

ทธการที่คาร์เรนทัน เป็นการสู้รบในสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างกองกำลังทหารโดดร่มแห่งกองทัพสหรัฐและกองทัพเวร์มัคท์ของเยอรมันในช่วงยุทธการที่นอร์ม็องดี การรบครั้งนี้ได้เกิดขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 10 และ 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่คาร์เรนทัน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940)

ทธการที่แม่น้ำลิส (Bataille de la Lys; Leieslag) เป็นการสู้รบที่สำคัญระหว่างเบลเยียมกับกองทัพเยอรมันในช่วงระหว่างการรุกรานเบลเยียมของเยอรมันในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่แม่น้ำลิส (ค.ศ. 1940) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โบรดี (ค.ศ. 1941)

ทธการที่โบรดี(ชื่ออื่นๆที่ถูกใช้รวมถึงยุทธการที่ดับนา, ยุทธการที่ดับโน, ยุทธการที่โรฟเน,ยุทธการที่โรฟเน-โบรดี)เป็นการสู้รบของรถถังระหว่างกลุ่มพันเซอร์ที่ 1 ของเหล่ากองทัพที่ 3 และเหล่ากองทัพที่ 48 (ยานยนต์) และห้าเหล่ายานยนต์ของกองทัพที่ 5 และกองทัพที่ 6 ของโซเวียตในรูปแบบสามเหลี่ยมโดยเมืองดับโน Lutsk และโบรดีในช่วงระหว่างวันที่ 23 และ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่โบรดี (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โบโรวา โกรา

ทธการที่โบโรวา โกรา(Bitwa pod Borową Górą)หมายถึงหนึ่งในการสู้รบตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 5 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่โบโรวา โกรา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โซมูร์ (ค.ศ. 1940)

ยุทธการที่โซมูร์เกิดขึ้นในช่วงสุดท้ายของยุทธการที่ฝรั่งเศสในสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อเจ้าหน้าที่นักเรียนนายทหารจากโรงเรียนทหารม้าที่โซมูร์ นำโดยผู้กำกับ Colonel Michon ได้ทำการป้องกันตามแนวแม่น้ำลัวร์ที่โซมูร์และเจนเนส(gennes) เป็นเวลาสองวันที่โรงเรียนทหารม้าและหน่วยอื่นๆซึ่งได้ล่าถอยออกไปก่อนที่กองทัพเวร์มัคท์จะโจมตี นับตั้งแต่การสู้รบเกิดขึ้นหลังจากได้รับข้อความโดยจอมพลฟิลิป เปแตงได้ออกมาประกาศให้ยุติการสู้รบ(เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1940) เหตุการณ์นี้ถือได้ว่าเป็นการกระทำครั้งแรกของขบวนการต่อต้านฝรั่งเศส หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่โซมูร์ (ค.ศ. 1940) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่โปรโฮรอฟกา

ทธการที่โปรโฮรอฟกา เป็นการสู้รบเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่โปรโฮรอฟกา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เขาแทรนสดานูเบียน

ทธการที่เขาแทรนสดานูเบียน(ที่เป็นที่รู้จักกันในบัลแกเรียว่า "ปฏิบัติการดราวา")เป็นปฏิบัติการป้องกันของกองทัพบัลแกเรียที่หนึ่งในช่วงของการมีส่วนร่วมของบัลแกเรียในสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อต่อกรกับกองทัพเยอรมัน เวร์มัคท์ที่กำลังพยายามจะเข้ายึดครองฝั่งแม่น้ำเหนือของแม่น้ำดราวา เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการสปริงอะเวคะนิง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่เขาแทรนสดานูเบียน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1943)

ทธการที่เคียฟครั้งที่สอง เป็นปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์สามด้านโดยกองทัพแดงและเป็นหนึ่งในปฏิบัติการของการโจมตีโต้กลับโดยกองทัพเวร์มัคท์ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างวันที่ 3 ตุลาคม ถึงวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1943) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์

ทธการที่เนเธอร์แลนด์ (Slag om Nederland) เป็นส่วนหนึ่งของกรณีสีเหลือง (Fall Gelb) เยอรมันได้บุกยึดครองกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (เบลเยี่ยม,ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์) และฝรั่งเศสระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.การสู้รบได้ดำเนินการต่อไปจนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพหลักของเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ทหารชาวดัตช์ในจังหวัดเซลันด์ยังคงต่อสู้กับกองทัพเวร์มัคท์จนกระทั่งวันที่ 17 พฤษภาคม เมื่อเยอรมนีได้ยึดครองประเทศเอาไว้อย่างสมบูรณ์ ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ถือเป็นยุทธการแรกที่กองทัพอากาศเยอรมัน ใช้ทหารพลร่ม (Fallschirmjäger) โดยเข้ายึดสนามบินของฝ่ายดัตซ์และสถานที่ทางยุทธศาสตร์ในรอตเทอร์ดาม และเดอะเฮก,ความรวดเร็วเพื่อการบุกรุกประเทศและตรึงกองทัพเนเธอร์แลนด์เอาไว้ ภายหลังการทิ้งระเบิดที่รอตเทอร์ดามโดยลุฟท์วัฟเฟอ,เยอรมันได้ข่มขู่ว่าจะทิ้งระเบิดเมืองต่างๆของดัตซ์ให้ราบคาบถ้ากองทัพเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธที่จะยอมจำนน.เสนาธิการทหารฝ่ายดัตซ์ต่างรู้ดีว่าไม่อาจหยุดยั้งการทิ้งระเบิดได้และออกคำสั่งให้กองทัพยุติสู้รบเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น.การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ล่าสุดได้รับการปลดปล่อยในปี 1945.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค

รัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Regierung), หรือเป็นที่รู้จักกันคือ คณะรัฐมนตรีเฟล็นส์บวร์ค (Flensburger Kabinett),รัฐบาลเดอนิทซ์ (Regierung Dönitz), หรือ คณะรัฐมนตรีชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Kabinett Schwerin von Krosigk),เป็นรัฐบาลที่มีอายุสั้นของนาซีเยอรมนี ในช่วงระยะเวลาสามสัปดาห์ของช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป.รัฐบาลได้ถูกก่อตั้งขึ้นภายหลังจากฟือเรอร์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรม เมื่อวันที่ 30 เมษายนในระหว่างยุทธการเบอร์ลิน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และรัฐบาลเฟล็นส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเยอรมนี

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และรายชื่อธงในประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935)

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน นาซีเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และรายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935) · ดูเพิ่มเติม »

ลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สอง

การเข้าร่วมสงครามของแกรนด์ดัชชีแห่งลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มขึ้นด้วยการรุกรานโดยกองทัพเยอรมัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และลักเซมเบิร์กในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ลุฟท์วัฟเฟอ

ลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เป็นเหล่าทัพการสงครามทางอากาศของกองทัพเยอรมันเวร์มัคท์ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพอากาศเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ (Luftstreitkräfte) แห่งกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน และหน่วยนักบินทหารเรือ มารีเนอ-ฟีเกอร์อับไทลุงของไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ (Kaiserliche Marine), ได้ถูกยุบในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และลุฟท์วัฟเฟอ · ดูเพิ่มเติม »

วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส

วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เป็นหน่วยกองกำลังติดอาวุธของพรรคนาซีในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิลหรือหน่วยเอ็สเอ็ส เป็นการรวมตัวกันของคนในนาซีเยอรมนีพร้อมทั้งอาสาสมัครและทหารเกณฑ์จากทั้งสองดินแดนคือดินแดนที่ถูกยึดครองและดินแดนที่ไม่ถูกยึดครองซึ่งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สเป็นหน่วยกองกำลังรบพิเศษที่จะปฏิบัติการรบร่วมกันกับกองทัพบก (เฮร์) ของเวร์มัคท์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วัฟเฟิน-เอ็สเอ็สนั้นถูกตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วยกองกำลังองครักษ์พิทักษ์ฟือเรอร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และถูกฝึกฝนมาอย่างหนักจนกลายเป็นกองกำลังรบระดับชั้นหัวกะทิเพื่อใช้เป็นเครื่องจักรสงครามในการยึดครองทวีปยุโรปตามเจตนารมณ์ของฮิตเลอร์และพรรคนาซี ฮิตเลอร์ได้มอบความไว้วางใจให้กับวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สมากที่สุดว่าเป็นหน่วยกองกำลังรบที่มีประสิทธิภาพในการรบมากที่สุด สามารถแก้ไขต่างๆได้ทุกสถานการณ์ ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง หน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สขึ้นชื่อว่าเป็นกองกำลังปีศาจเพราะเนื่องจากได้รับถูกปลูกฝังความคิดและอุดมการณ์นาซีทำให้ก่ออาชญากรรมสงครามมากมาย เช่น การสังหารหมู่เชลยศึกสงครามและพลเรือน การกวาดต้อนชาวยิวและอื่นๆในเขตปกครองของนาซีเยอรมันเข้าไปยังค่ายกักกันนาซี เป็นต้น แต่ในช่วงปลายสงครามในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส · ดูเพิ่มเติม »

วันแสนทรหด

วันแสนทรหด (The Hardest Day) เป็นนามที่ถูกมอบให้จากการรบทางอากาศของสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงระหว่างยุทธการที่บริเตน เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวันแสนทรหด · ดูเพิ่มเติม »

วาซีลี ไซเซฟ

วาซีลี กริกอร์เยวิช ไซเซฟ (p; 23 มีนาคม ค.ศ. 1915 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1991) เป็นพลซุ่มยิงชาวโซเวียตและวีรบุรุษแห่งสหภาพโซเวียต ในตอนที่เขายังเป็นเด็กเขาได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้จากคุณปู่ในการล่าสัตว์ป่า ป้องกันสัตว์ป่าที่จะมาทำร้ายฝูงสัตว์ เขาได้เป็นทหารในกองทัพเรือโซเวียตที่วลาดิวอสต็อกจากนั่นในช่วงมหาสงครามของผู้รักชาติไซเซฟขณะที่ดำรงยศสิบเอกก็ถูกเรียกตัวไปสตาลินกราตในวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวาซีลี ไซเซฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิชา ฐิตวัฒน์

ันเอกวิชา ฐิตวัฒน์ (27 กุมภาพันธ์ 2460 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2520) หรือรู้จักกันในฐานะนายทหารไทยในกองทัพเวร์มัคท์ของนาซีเยอรมัน อีกทั้งยังผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารบกไทย ณ กรุงปรารีส คนที่ 5 ในปี..2507 – 2510 และยังได้ดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปรารีส ประเทศฝรั่งเศส คนที่ 8 ในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวิชา ฐิตวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟ

วิลเฮลม์ เอมมานูเอล บูร์กดอร์ฟ(15 กุมภาพันธ์ 1895 - 2 พฤษภาคม 1945)เป็นนายพลเยอรมันในกองทัพเวร์มัคในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารและเป็นเจ้าหน้าที่ในกองทัพเฮร์(กองทัพบก).ในเดือนตุลาคม ปี 1944, เบอร์จดอฟได้รับตำแหน่งเป็นหัวหน้าในสำนักงานบุคลากรกองทัพบก(Heerespersonalamt)และเป็นหัวหน้ากลุ่มของนายทหารคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร.ด้วยความสามารถนั้น,เขาได้มีบทบาทในการบังคับให้จอมพลเออร์วิน รอมเมลกระทำอัตวินิบาตกรรม.บูร์กดอร์ฟได้กระทำอัตวินิบาตกรรมในฟือเรอร์บุงเคอร์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 1945 ที่เป็นอันสิ้นสุดของยุทธการที่เบอร์ลิน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวิลเฮล์ม บูร์กดอร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน ลีบ

วิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน ลีบ (Wilhelm Ritter von Leeb) เป็นจอมพลชาวเยอรมันและอาชญากรสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซาในการรุกรานสหภาพโซเวียต เขาได้บัญชาการในกองทัพกลุ่มเหนือและให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยเอ็สเอ็ส-ไอน์ซัทซกรุพเพน หน่วยกองกำลังทีมสังหารที่ได้รับมอบหมายให้ทำการสังหารชาวยิวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการล้างชาติโดยนาซี ลีบเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากการคอรัปชั่นของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์สำหรับนายทหารระดับชั้นอาวุโสในเวร์มัคท์ ซึ่งได้รับมาเป็นประจำอย่างถูกกฎหมาย,ค่าจ้างยังเป็นความลับตลอดสงครามและช่วงหนึ่งได้รับของขวัญที่มีมูลค่า 250,000 ไรชส์มาร์คในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน ลีบ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ไคเทิล

วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตำแหน่งของเขาเทียบได้กับรัฐมนตรีกลาโหม หลังสิ้นสุดสงคราม เขาถูกนำตัวเข้ารับการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาถือเป็นหนึ่งในสามผู้บัญชาการทหารระดับสูงสุดของเยอรมันที่ถูกนำตัวขึ้นพิจารณาคดี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และวิลเฮล์ม ไคเทิล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

นแดนอื่นๆที่วางตัวเป็นกลาง สวีเดนยังคงวางตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวกับสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.เมื่องสงครามได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945

''ภาพยนตร์ข่าว พิธีสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945 พิธีสวนสนามแห่งชัยชนะที่กรุงมอสโก..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐออสเตรีย

หพันธรัฐออสเตรีย (Federal State of Austria) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ออสเตรียระหว่างปี 1934 ถึง 1938 เมื่อประเทศออสเตรียอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของพรรคแนวร่วมปิตุภูมิ ทำให้ประเทศออสเตรียกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ ต่อมาในปี 1938 สหพันธรัฐออสเตรียได้ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสหพันธรัฐออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมอิตาลี

รณรัฐสังคมอิตาลี (Repubblica Sociale Italiana, RSI) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีระหว่างช่วงหลังของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการเกิดใหม่ของรัฐฟาสซิสต์อิตาลี นำโดย เบนิโต มุสโสลินีและพรรคฟาสซิสต์สาธารณรัฐนิยมปฏิรูปของเขา รัฐดังกล่าวประกาศว่ากรุงโรมเป็นเมืองหลวง แต่เนื่องจากโรมไม่อยู่ภายใต้การควบคุม โดยพฤตินัยจึงกระจุกอยู่รอบซาโล อันเป็นสำนักงานใหญ่ของมุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐสังคมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางเหนือของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่ ด้วยความล้มเหลวของกองทัพเยอรมันในการป้องกันการบุกของสัมพันธมิตรจากทางใต้ของอิตาลี ทำให้กองทัพเยอรมันต้องล่าถอยออกจากอิตาลีกลับไปยังเยอรมนีและสาธารณรัฐสังคมอิตาลีล่มสลายไปพร้อมกับเบนิโต มุสโสลินีถูกจับตัวและถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าและแขวนประจานในที.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสาธารณรัฐสังคมอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย

ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวียได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และสงครามโลกครั้งที่สองในยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยทหารลัตเวีย

หน่วยทหารลัตเวีย (Latviešu leģions) เป็นรูปแบบทหารของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และหน่วยทหารลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

อชัฟเฟินบวร์ค

อชัฟเฟินบวร์ค (Aschaffenburg) เป็นเมืองชนบททางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของนครแฟรงก์เฟิร์ตไปราว 40 กิโลเมตร เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งริมแม่น้ำไมน์ เดิมทีเมืองนี้มีการตั้งถิ่นฐานของชนอลามานนิ และต่อมาก็เป็นที่มั่นของกองทหารโรมัน ต่อมาราวปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอชัฟเฟินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท สกอร์เซนี

ออทโท สกอร์เซนี(12 มิถุนายน 1908 - 5 กรกฎาคม 1975) เป็นทหารชาวออสเตรียในหน่วยเอสเอส ดำรงตำแหน่งยศเป็นโอแบร์สทุร์มบันน์ฟือแรร์ (พันโท)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ในช่วงสงคราม,เขาได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ, รวมทั้งภารกิจช่วยเหลือในการปลดปล่อยผู้นำเผด็จการฟาสซิสต์อิตาลี เบนิโต มุสโสลินีออกจากการถูกคุมขัง.สกอร์เซนีได้นำการปฏิบัติการกรีฟ,ซึ่งทหารเยอรมันได้ทำการแทรกซึมเข้าไปในแนวข้าศึกโดยใช้ภาษาของฝ่ายข้าศึก, เครื่องแบบ, และศุลกากร.สำหรับเรื่องนี้ เขาได้ถูกตั้งข้อหากล่าวหาจากศาลทางทหารที่ดาเคาจากการละเมิดอนุสัญญานครเฮก ฉบับปี 1907(พ.ศ. 2450) แต่ได้รับการปล่อยตัว.ในช่วงท้ายสงคราม, เขาได้มีส่วนร่วมในขบวนทหารรบแบบกองโจรคือหน่วยมนุษย์หมาป่า(Werwolf).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และออทโท สกอร์เซนี · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์

ออทโท แอนสท์ เรเมอร์(Otto Ernst Remer) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ ได้มีส่วนสำคัญในการหยุดยั้งแผนลับ 20 กรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และออทโท แอนสท์ เรเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับเวร์

อับเวร์เป็นหน่วยข่าวกรองทางทหารเยอรมันได้ทำหน้าที่ในกองทัพไรชส์เวร์และกองทัพเวร์มัคท์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอับเวร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โยเดิล

อัลเฟรด โยเซฟ เฟอร์ดินานด์ โยเดิล (Alfred Josef Ferdinand Jodl; 10 พฤษภาคม 1890 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนายพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของกองบัญชาการสูงสุดแห่งเวร์มัคท์ และเป็นอาชญากรสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้เซ็นสัญญาการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อสัมพันธมิตรจากประธานาธิบดีคาร์ล เดอนิทซ์ ในปี 1945 หลังสงคราม โยเดิลมีความผิดในข้อหาสมรู้ร่วมคิดในการกระทำอาชญากรรมต่อสันติภาพ, การวางแผนการเริ่มต้นและขับเคี่ยวสงครามรุกราน, อาชญากรรมสงคราม และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก คำสั่งหลักของเขาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับลายเซ็นของเขาที่มีต่อคำสั่งคอมมานโดและผู้บังคับการตำรวจ พบว่ามีความผิดจริง จึงถูกตัดสินโทษให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1946 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2433 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2489 หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:อาชญากรสงครามชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ หมวดหมู่:บุคคลในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอัลเฟรด โยเดิล · ดูเพิ่มเติม »

อัดเลอร์ทาค

อัดเลอร์ทาค ("วันนกอินทรี"; Adlertag) หมายถึงวันแรกของ "ปฏิบัติการอินทรีขย้ำ" (Unternehmen Adlerangriff) ซึ่งได้เป็นรหัสนามของปฏิบัติการทางทหารโดยกองทัพอากาศเยอรมัน(ลุฟท์วัฟเฟอ)ของนาซีเยอรมนีเพื่อทำลายกองทัพอากาศหลวงของอังกฤษ(RAF) โดยเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอัดเลอร์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอันชลุสส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สามารถแบ่งแยกออกเป็นสองส่วนที่แตกต่างกันของชีวิตของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ส่วนใหญ่, ช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อฮิตเลอร์ได้ทำหน้าที่เป็น Gefreiter (ยศสิบตรี) ในกองทัพบาวาเรียน และยุคสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฮิตเลอร์ได้ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเวร์มัคท์(กองทัพเยอรมัน)ผ่านด้วยตำแหน่งของเขาคือ ฟือเรอร์แห่งนาซีเยอรมนี หมวดหมู่: นาซี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และอาชีพทางทหารของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์)

ันส์ เครบส์ (Hans Krebs) เป็นนายพลทหารราบแห่งกองทัพบกเยอรมันระหว่างก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงยุทธการที่เบอร์ลิน เครบส์พยายามเจรจาสงบศึกแบบมีเงื่อนไขกับนายพลวาซีลี ชุยคอฟของกองทัพแดงแต่ไม่เป็นผล เครบส์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรมที่ฟือเรอร์บุงเคอร์ในวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

ธงกองทัพ

A knight (Jan I van Brabant) flying a heraldic flag in battle, in addition to the heraldic device displayed on his shield (Codex Manesse, ca. 1304) ธงกองทัพ (ธงทหาร หรือ ธงศึก) มีลักษณะเดียวกับธงชาติ (โดยมากออกแบบเพิ่มเติมจากลักษณะของธงชาติ) สำหรับหน่วยงานราชการกองทั.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และธงกองทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่นระเบิดมีตีนตะขาบโกลีอัท

ทุ่นระเบิดติดตาม โกไลแอธ(Leichter Ladungsträger Goliath (Sd.Kfz. 302/303a/303b))เป็นยานพาหนะวิศวกรรมทำลายล้างด้วยการควบคุมรีโมทของเยอรมัน,หรือเป็นที่รู้จักกันของสัมพันธมิตรคือ ด้วงรถถัง(beetle tank) ได้รับการจ้างจากกองทัพเวร์มัคท์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.มันพกวัตถุระเบิดจำนวน 60 ถึง 100 กิโลกรัม(130หรือ220 ปอนด์)ขึ้นอยู่กับรูปแบบและมีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้วัตถุประสงค์หลายอย่าง เช่น การทำลายรถถัง การทำลายขนวนการทหารราบให้ราบคาบ และการทำลายอาคารและสะพาน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และทุ่นระเบิดมีตีนตะขาบโกลีอัท · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการต่อต้านฝรั่งเศส

p.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และขบวนการต่อต้านฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา

Harry Giese กำลังใช้ไมโครโฟนบรรยายในปี 1941 Mixing room, 1941 ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา (Die Deutsche Wochenschau) เป็นชื่อของชุดภาพยนตร์ข่าว ที่ออกฉายทั่วโรงภาพยนตร์ใน นาซีเยอรมนี ตั้งแต่ปี 1940 จนถึง สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง โดยภาพยนตร์ข่าวยังเป็นหนึ่งในเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อหลัก ของนาซีตลอดสงคราม ดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา จะได้รับม้วนภาพยนตร์จากคลังภาพยนตร์ของหน่วยรายงานสงครามของเวร์มัคท์ (Propagandakompanien) และจากช่างภาพเด่น ๆ เช่น Hans Ertl และ Walter Frentz รวมถึงภาพจากภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อ อย่าง The Eternal Jew และ Feldzug in Polen โดยผู้ให้เสียงบรรยายหลักคือ Harry Giese โดยได้รับมอบหมายให้เป็น "เสียง" ของภาพยนตร์ข่าวเหมือนเป็นเสียงแห่งเสรีภาพที่ถูกนำมาใช้กับการบรรยายข้อเท็จจริงในเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อของนาซี ภาพยนตร์ข่าวมีม้วนภาพยนตร์เด่น ๆ ที่ถูกถ่ายเช่นการรบที่นอร์ม็องดี, ภาพการพบของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และ เบนิโต มุสโสลินี หลัง แผนลับ 20 กรกฎาคม และม้วนสุดท้าย (No. 755) ที่ฮิตเลอร์มอบเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ให้กับอาสาสมัครของยุวชนฮิตเลอร์ที่สวนในทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ก่อนยุทธการที่เบอร์ลิน และสารคดีสุดท้ายคือ คนทรยศที่ศาลประชาชน ซึ่งเกี่ยวกับการพิจรณาคดีผู้สมรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคมRobert Edwin Hertzstein, The War That Hitler Won p283.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และดีด็อยท์เชอว็อคเคินเชา · ดูเพิ่มเติม »

ครีกซมารีเนอ

รีกซมารีเนอ (สงครามกองทัพเรือ) เป็นกองทัพเรือของนาซีเยอรมนีในช่วงปี 1935 ถึง 1945.ได้ถูกแทนที่จากกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิเยอรมันและสมัยระหว่างสงคราม ไรซ์มารีเนอ.ครีกซมารีเนอเป็นหนึ่งในสามเหล่าทัพอย่างเป็นทางการพร้อมกับเฮร์ (กองทัพบก),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) ของกองทัพเวร์มัคท์,กองกำลังติดอาวุธของนาซีเยอรมนี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และครีกซมารีเนอ · ดูเพิ่มเติม »

คาราบีเนอร์ 98คา

ราบีเนอร์ 98คา' (carbine 98 short", หรือย่อคำว่า คาร์ 98 เค หรือ เค 98 เค) เป็นปืนเล็กยาวหรือไรเฟิลแบบระบบลูกเลื่อน ลำกล้องขนาด 7.92×57mm ตลับกระสุนเมาเซอร์ ปีนถูกใช้งานในวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และคาราบีเนอร์ 98คา · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งคอมมิสซาร์

หน้าแรกของคำสั่งคอมมิสซาร์, ลงในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1941 คำสั่งคอมมิสซาร์ (Kommissarbefehl) เป็นคำสั่งที่ได้ถ่ายทอดโดยกองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมัน (OKW) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และคำสั่งคอมมิสซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบอลติก

ปฏิบัติการบอลติก ยังเป็นที่รู้จักกันคือปฏิบัติการป้องกันในลิทัวเนียและลัตเวียที่ห้อมล้อมด้วยปฏิบัติการของกองทัพแดง ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และปฏิบัติการบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์

ปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ (Unternehmen Panzerfaust) เป็นปฏิบัติการทางทหารเพื่อจัดการและควบคุมราชอาณาจักรฮังการีที่เยอรมนีดูแลอยู่ในช่วงสงคราม ปฏิบัติการเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการมึนเชิน

ปฏิบัติการมึนเชิน (Operaţiunea München) เป็นรหัสนามของโรมาเนียในความร่วมมือกันเพื่อการรุกรานของเยอรมัน-โรมาเนียในช่วงเยอรมันเข้ารุกรานสหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง กับเป้าหมายหลักเพื่อยึดกลับคืนดินแดนเบสซาราเบีย ทางตอนเหนือของบูโควิน่า และ Hertsa ที่ต้องจำใจยอมยกให้โดยโรมาเนียแก่สหภาพโซเวียตเมื่อปีก่อน (เบสซาราเบียและทางตอนเหนือของบูโควิน่าภายใต้โซเวียตยึดครอง) ปฏิบัติการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นหลัง 24 วันของการสู้รบ การก่อตั้งกองทัพฝ่ายอักษะได้รวมถึงกองทัพที่ 3 และกองทัพที่ 4 ของโรมาเนียและกองทัพที่ 11 ของเวร์มัคท์ การรุกรานครั้งนี้ได้มีผลตามมาด้วยการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ประชากรชาวยิวในเบสซาราเบีย การรุกรานได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ด้วยกองกำลังโรมาเนียที่โดดเด่นทางตอนเหนือ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม Chernivtsi เมืองหลวงของบูโควิน่าเหนือ ถูกเข้ายึดโดยกองพัน Vânători de Munte ที่ 3 และ 23 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม Chișinău, เมืองหลวงของเบสซาราเบียถูกยึดภายหลังการสู้รบอย่างหนักโดยหัวหอกกองกำลังโรมาเนียโดยกองพลยานเกราะโรมาเนียที่ 1 (Divizia 1 Blindată) ที่ติดตั้งส่วนใหญ่ด้วยรถถังเบาอาร์-2 126 คัน เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พื้นที่ทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของโรมาเนีย-เยอรมัน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม เบสซาราเบียและทางตอนเหนือของบูโควิน่าได้รับฟื้นฟูกลับมารวมเป็นรัฐโรมาเนียอีกครั้ง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และปฏิบัติการมึนเชิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-โบโกดูฮอฟ

ปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-โบโกดูฮอฟ (23 กรกฎาคม – 14 สิงหาคม ค.ศ. 1943) เป็นปฏิบัติการสู้รบซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsevโดยกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตต่อสู้รบกับกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนี.มันคือหนึ่งในปฏิบัติการในการเปิดตัวในการต้านทานรับจากการรุกรานของเยอรมันในปฏิบัติการซิทาเดล.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และปฏิบัติการรุกเบลโกรอด-โบโกดูฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเพาลา

อุนเทอร์เนเมนเพาลา(อันเดอร์เทคกิ้งหรือปฏิบัติการเพาลา)เป็นรหัสนามที่เยอรมันมอบให้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการรุกโจมตีของกองทัพอากาศลุฟท์วัฟเฟอในการทำลายส่วนที่เหลือของกองทัพอากาศฝรั่งเศส(ALA)ในช่วงยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และปฏิบัติการเพาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์ (Ferdinand Schörner) เป็นนายพลและต่อมาเป็นจอมพลในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บัญชาการในกองทัพหลายกลุ่มและเป็นผู้บัญชาการคนสุดท้ายแห่งกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบก (Oberkommando des Heeres-OKH) เชอร์เนอร์เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในลัทธินาซีและกลายเป็นที่รู้จักกันดีสำหรับความโหดร้ายของเขา ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้บัญชาการที่เป็นที่โปรดปรานของฮิตเลอร์ ภายหลังสงคราม เขาถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามโดยศาลในสหภาพโซเวียตและเยอรมนีตะวันตกและถูกคุมขังในดินแดนสหภาพโซเวียต เยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตก เขาได้เสียชีวิตลงในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แมทธิว เฮทเซนาวเออร์

แมทธิว เฮทเซนาวเออร์ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1924 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2004) เป็นพลซุ่มยิงชาวออสเตรียในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับหน้าที่ในกองพลทหารภูเขาที่ 3 บนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้มีชื่อเสียงด้วยการสังหาร 345 คน การสังหารที่ยาวที่สุดของเขาได้ถูกเขียนรายงานอยู่ที่ 1,100 เมตร(12,00 หลา) เฮทเซนาวเออร์ยังเป็นผู้ที่ได้รับการปูนบำเหน็จด้วยเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกจับโดยสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแมทธิว เฮทเซนาวเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก

แวร์เนอร์ เอดวร์ด ฟริทซ์ ฟอน บลอมแบร์ก (Werner Eduard Fritz von Blomberg) เป็นจอมพลเยอรมัน รัฐมนตรีว่าการสงครามแห่งไรช์และผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพเยอรมันจนถึง..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์

ลเอก โทมัส ลุดวิจ แวร์เนอร์, ไฟร์แฮร์ ฟอน ฟริทช์(Thomas Ludwig Werner, Freiherr von Fritsch) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเยอรมัน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน

แวร์เนอร์ คาร์ล ฟอน แฮฟเทิน (Werner Karl von Haeften) เป็นร้อยโทในกองทัพบกเยอรมัน แฮฟเทินเป็นเป็นผู้ช่วยของเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก เสนาธิการกองกำลังสำรองประจำกรุงเบอร์ลิน เขาร่วมมือกับชเตาฟ์เฟนแบร์กในแผนลับ 20 กรกฎาคมเพื่อสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อแผนการล้มเหลว แฮฟเทินพร้อมผู้ก่อการฝ่ายทหารคนอื่นๆถูกนำตัวไปประหารชีวิตพร้อมๆกันที่ลานกว้างนอกกองบัญชาการสูงสุดกองทัพบกเยอรมัน เขาได้รับการรำลึกยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษของขบวนการชาวเยอรมันผู้ต่อต้านนาซี.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน · ดูเพิ่มเติม »

แอริช ฟอน มันชไตน์

ฟริทซ์ แอริช เกออร์ก แอดวร์ด ฟอน เลอวินสกี (Fritz Erich Georg Eduard von Lewinski) หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แอริช ฟอน มันชไตน์ (Erich von Manstein) เป็นผู้บัญชาการในเวร์มัคท์ กองทัพของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ดำรงตำแหน่งยศจอมพล เขายังมีศักดิ์เป็นหลานอาของจอมพลเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมันคนที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2430 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2516 หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:บุคคลจากเบอร์ลิน.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแอริช ฟอน มันชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบิน

จอมพล แอร์วีน ฟอน วิทซ์เลเบิน โยบ วิลเฮล์ม เกออร์ก แอร์ดมันน์ แอร์วีน ฟอน วิทซ์เลเบิน (Job Wilhelm Georg Erdmann Erwin von Witzleben; 4 ธันาวคม ค.ศ. 1881 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน ครองยศจอมพลใน..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแอร์วิน ฟอน วิทซ์เลเบิน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์แบร์ท บาเคอ

แฮร์แบร์ท ฟรีดิซ วิลเฮล์ม บาเคอ(1 พฤษภาคม ค.ศ. 1896 – 6 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็สเอ็สในช่วงยุคนาซี เขาได้พัฒนาและทำให้เกิดสัมฤทธิ์ผลของแผนความหิวที่มองเห็นการตายด้วยความอดอยากของชาวสลาฟและชาวยิวนับล้านคนว่าเป็น"พวกกินเสียของเปล่า" ภายหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซาในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแฮร์แบร์ท บาเคอ · ดูเพิ่มเติม »

แผนมันชไตน์

Fall Gelb (กรณีเหลือง),การบุกครองฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ แผนการมันชไตน์ เป็นหนึ่งในชื่อที่ใช้ในการอธิบายแผนการทางยุทธศาสตร์ของกองทัพเยอรมันในช่วงยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแผนมันชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แผนลับ 20 กรกฎาคม

แผนลับ 20 กรกฎาคม (20 July plot) เป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฟือเรอร์แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

แผนความหิว

แผนความหิว (der Hungerplan; der Backe-Plan) เป็นแผนการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเข้ายึดเสบียงอาหารจากสหภาพโซเวียตและมอบให้แก่ทหารและพลเรือนชาวเยอรมัน แผนการนี้ได้นำไปสู่ความตายโดยความอดอยากของชนชาวสลาฟที่ถูกมองว่า"เชื้อชาติที่ต่ำต้อย"นับล้านคน ภายหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซาในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และแผนความหิว · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์คสชทูร์ม

ฟล์คสชทูร์ม (Volkssturm) เป็นกองทหารอาสาสมัครชาติเยอรมันถูกจัดตั้งขึ้นในช่วงเดือนสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง มันไม่ได้ถูกสร้างขึ้นโดยกองทัพเวรมัค์แต่โดยพรรคนาซีตามคำสั่งของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และการดำรงอยู่อย่างเป็นทางการที่ไม่ได้ประกาศจนถึงวันที่ 18 ตุลาคม 1944Burleigh (2001).

ใหม่!!: เวร์มัคท์และโฟล์คสชทูร์ม · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันเรส เบลสโกวิตซ์

ันเรส อัลแบร์ เบลสโกวิตซ์(10 กรกฎาคม 1883 - 5 กุมภาพันธ์ 1948) เป็นนายพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้รับเหรียญกางเขนเหล็กอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊คและดาบ เขาได้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการครอบครองโปลแลนด์ในปี 1939-1940 เขาได้เขียนบันทึกหลายข้อความต่อไปยังกองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมันให้ประท้วงความโหดร้ายของเอสเอ.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และโยฮันเรส เบลสโกวิตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส

รชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส (Reichsführer-SS) เป็นตำแหน่งและยศของผู้บัญชาการของหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) ตำแหน่งนี้ปรากฏอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์เวร์

รชส์เวร์ (Reichswehr ความหมาย: "กองกำลังป้องกันประเทศ") เป็นชื่อเรียกกองกำลังป้องกันตนเองของเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และไรชส์เวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอน์ซัทซกรุพเพน

การสังหารชาวยิวที่ Ivanhorod,ยูเครน,ปี 1942 ภาพที่เห็นนั้นคือผู้หญิงคนหนึ่งได้ทำการปกป้องเด็กด้วยร่างกาย ก่อนที่จะถูกขับไล่ยิงด้วยปืนไรเฟิลในระยะประชิด ไอน์ซัทซกรุพเพน ("กำลังรบเฉพาะกิจ" "deployment groups") เป็นหน่วยทีมสังหารของกองกำลังกึ่งทหารหน่วยเอสเอสของนาซีเยอรมนีที่มีส่วนรับผิดชอบต่อการสังหารหมู่,โดยส่วนใหญ่เป็นการยิงเป้า,ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (1939–45).ไอน์ซัทซกรุพเพนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหารหมู่เหล่าปัญญาชน,รวมถึงสมาชิกของพระนักบว.และมีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการขั้นตอนสุดท้ายที่ถูกเรียกว่า การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย (Final solution to the Jewish question,Die Endlösung der Judenfrage) ในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยนาซีเยอรมนี,เกือบทั้งหมดทุกคนที่ถูกสังหารคือพลเรือน,เริ่มต้นจากกลุ่มปัญญาชนและเหล่านักบวช,ก่อนจะก้าวไปยังนักการเมืองโซเวียตคอมมิสซาร์,ชาวยิวและชาวยิปซีเช่นเดียวกันกับความเป็นจริงหรือถูกข้อกล่าวหาว่า ได้เข้าร่วมกับกลุ่มพลพรรค (partisans) ตลอดทั่วยุโรปตะวันออก ภายใต้การนำของไรซ์ฟือเรอร์-เอสเอสไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์และการกำกับดูแลของไรน์ฮาร์ด ฮายดริช ไอน์ซัทซกรุพเพนได้ปฏิบัติการในดินแดนที่ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมันภายหลังจากการบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน ปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และไอน์ซัทซกรุพเพน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ ฮิตเลอร์

ไฮน์ริช ฮิตเลอร์ (Heinrich Hitler; 14 มีนาคม 1920 – 21 กุมภาพันธ์ 1942) หรือ ไฮนซ์ ฮิตเลอร์ (Heinz Hitler) เป็นบุตรชายของอาลัวส์ ฮิตเลอร์ จูเนียร์และภรรยาคนที่สองของเขา Hedwig Heidemann และเป็นหลายชายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มขึ้น เขาได้เข้าร่วมกองทัพเวร์มัคท์และทำหน้าที่การรบในแนวรบด้านตะวันออกจนเขาถูกจับและเสียชีวิตในคุกเมื่อปี 1942 ไฮนซ์ได้เข้าโรงเรียนการทหารของชนชั้นสูงที่สถาบันการศึกษาเพื่อการเมืองแห่งชาติ(นาโปลา) ใน Ballenstedt/Saxony-Anhalt ด้วยความต้องการที่จะเป็นเจ้าหน้าที่ ไฮนซ์ได้เข้าร่วมกองทัพเวร์มัคท์โดยเป็นนายสิบวิทยุสื่อสารในกรมทหารปืนใหญ่ที่ 23 พอสดาเมอร์ในปี 1941 และเขาได้มีส่วนร่วมในการรุกรานสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซา เมื่อวันที่ 10 มกราคม 1942 ต่อมาเขาได้รับคำสั่งในการเก็บกู้อุปกรณ์วิทยุสื่อสารจากจุดที่ตรวจการณ์ของกองทัพ เขาได้ถูกจับโดยกองกำลังทหารของโซเวียตและถูกทรมานอย่างหนักจนเสียชีวิตที่ค่ายเรือนจำ บูไทร์คา (Butyrka)ในกรุงมอสโก ด้วยวัยเพียงอายุ 21 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2463 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2485 หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์ หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และไฮนซ์ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์ 1

ทเกอร์ I เป็นยานเกราะขนาดหนักที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยถูกสร้างในช่วงปลายปี ค.ศ. 1942 เพื่อที่จะใช้ตอบโต้ความแข็งแกร่งยานเกราะที-34 และรถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ ของ สหภาพโซเวียต ในช่วงเริ่มต้นของ ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ลักษณะการออกแบบของไทเกอร์ I ทำให้ไทเกอร์ I เป็นยานเกราะของ เวร์มัคท์ คันแรกที่ติดปากกระบอกปืนขนาด 88 มิลลิเมตร โดยปากกระบอกปืนนี้ได้ถูกทดสอบมาก่อนว่ามีประสิทธิภาพสูงในการยิงต่อต้าน รถถัง และ เครื่องบิน ในช่วงระหว่างสงคราม ไทเกอร์ 1 ได้ถูกนำไปใช้ในในการรบแนวหน้าของเยอรมัน โดยปกติแล้วไทเกอร์ I ถูกนำมาแยกเป็นหน่วยยานเกราะอิสระ ซึ่งทำให้หน่วยไทเกอร์ I สามารถปฏิบัติการได้อย่างค่อนข้างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าไทเกอร์ I เป็นที่น่าเกรงขามต่อศัตรูเป็นอย่างมากก็ตาม ทว่า ในขณะเดียวกัน ไทเกอร์ I เป็นยานเกราะที่มีลักษณะซับซ้อนในการสร้าง ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนานอีกทั้งไทเกอร์ I มักจะประสบปัญหาเครื่องจักรกลล่มบ่อยครั้งจึงทำให้ยานเกราะชนิดนี้ถูกยกเลิกการผลิตไป มีเพียงจำนวน 1347 คันเท่านั้นที่ถูกผลิตขึ้นมา ในช่วงระยะเวลา สิงหาคม ค.ศ. 1942 ถึง สิงหาคม ค.ศ. 1944 และไทเกอร์II ได้ถูกผลิตขึ้นมาแทนที่ ยานเกราะนี้ถูกตั้งชื่อเล่นโดย Ferdinand Porche และตัวเลขโรมันได้ถูกเพิ่มเติมหลังจากที่ยานเกราะไทเกอร์ II ได้ถูกนำมาผลิต โดยแท้จริงแล้ว ยานเกราะชนิดนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการ คือ Panzerkampfwagen VI Ausführung H (ยานเกราะ Panzer VI รุ่น H หรือมีชื่อย่อว่า PzKpfw VI Ausf. H) แต่อย่างไรก็ตาม ยานเกราะนี้ได้ถูกนำมาออกแบบใหม่อีกครั้งเป็น PzKpfw VI Ausf.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และไทเกอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เวร์มัคท์บริสุทธิ์

ตำนาน เวร์มัคท์บริสุทธิ์ (Saubere Wehrmacht), หรือเวร์มัคท์ "มือสะอาด" เป็นความเชื่อว่าเวร์มัคท์เป็นองค์การไม่ฝักใฝ่การเมืองเช่นเดียวกับไรช์เวร์ ซึ่งเป็นองค์การก่อนหน้า และไม่มีส่วนรู้เห็นอาชญากรรมของนาซีเยอรมนีเป็นส่วนใหญ่ ประพฤติตนมีเกียรติดุจกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก คำบรรยายนี้ถูกพิสูจน์ว่าเป็นเท็จโดยเอกสารของเวร์มัครท์เอง คือ แม้เวร์มัคท์ปฏิบัติต่อเชลยศึกบริติชและอเมริกันตามกฎการยุทธิ์ (ทำให้ความเชื่อนี้เป็นไปได้ในตะวันตก) แต่เวร์มัคท์ทำให้เป็นทาส ทำให้อดอยาก หรือละเมิดและฆ่าซึ่งพลเรือนและเชลยศึกชาวโปแลนด์ โซเวียตและยูโกสลาเวีย หน่วยเวร์มัคท์ยังมีส่วนในการสังหารหมู่ยิวและชาติพันธุ์อื่นในแนวรบด้านตะวันออก.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเวร์มัคท์บริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอริช เฟ็ลล์กีเบิล

ฟริทซ์ เอริช เฟ็ลล์กีเบิล (Fritz Erich Fellgiebel; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1886 – 4 กันยายน ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมัน เกิดที่เมืองโปโปวิตเซ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เมื่ออายุ 18 ปี เขาเข้าร่วมหน่วยทหารสื่อสารในกองทัพบกปรัสเซีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เฟ็ลล์กีเบิลอยู่สังกัดหน่วยเสนาธิการทหารบก หลังสงคราม เขาประจำอยู่ที่กรมเสนาธิการไรชส์เวร์ในเบอร์ลิน ในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเอริช เฟ็ลล์กีเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเพ 18

ร์กมันน์ เอ็มพี 18 (MP18.1) ผลิตโดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ Abteilung Waffenbau เป็นปืนกลมือชนิดแรกของโลกที่ใช้ในสงคราม.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเอ็มเพ 18 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์

อ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์(SS-Verfügungstruppe,ย่อคำว่าSS-VT)(English: SS Dispositional Troops) ถูกก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเอ็สเอ็ส-เวอร์ฟือกุนจ์สทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเลฟันท์

แพนเซอร์ยืดเกอร์ ไทเกอร์ (พี) (Panzerjäger Tiger (P)) หรือที่เรียกว่า เอเลฟันท์ (Elefant ความหมาย "เจ้าช้าง") เป็นรถถังพิฆาตหนักถูกใช้งานโดยกองทัพเวร์มัคท์แห่งเยอรมันในฐานะแพนเซอร์ยืดเกอร์ (Panzerjäger) หรือปืนต่อสู้รถถังแบบเคลื่อนที่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:รถถัง หมวดหมู่:รถถังเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเอเลฟันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวทหารที่เมืองมักเดบูร์ก เขาเข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 9 พอทสดัม ขณะมีอายุเพียง 16 ปี และได้รับกางเขนเหล็กชั้นที่ 1 จากวีรกรรมในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เทรสคอว์ลาออกจากกองทัพเพื่อไปเรียนต่อด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ และแต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของครอบครัวทหาร เขากลับเข้ารับราชการทหารอีกครั้งด้วยการสนับสนุนจากเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก และเริ่มรับรู้ถึงแผนการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ตั้งใจจะก่อสงครามโลกอีกครั้ง เทรสคอว์มีส่วนในการบุกครองโปแลนด์และยุทธการที่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในช่วงแรก เทรสคอว์เป็นผู้สนับสนุนพรรคนาซี เพราะไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซาย แต่หลังจากเหตุการณ์ "คืนแห่งมีดยาว" (Night of the Long Knives) เขาก็เริ่มต่อต้านพรรคนาซีและมีส่วนในหลายแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น ปฏิบัติการสปาร์คและแผนลับ 20 กรกฎาคม ซึ่งหลังจากแผนลอบสังหารวันที่ 20 กรกฎาคม ล้มเหลว เทรสคอว์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมในวันต่อม.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองสามัญ

ตปกครองสามัญ(Generalgouvernement, Generalne Gubernatorstwo, Генеральна губернія),เรียกอีกอย่างว่า เจอเนอรัลโกเวอร์โนเรนท์ เป็นเขตยึดครองของเยอรมันที่ได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการร่วมมือบุกเข้ายึดครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในปี..

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเขตปกครองสามัญ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายบาดเจ็บ

150px เครื่องหมายบาดเจ็บ (Verwundetenabzeichen) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทางทหารที่ถูกประกาศใช้เป็นครั้งแรกโดยจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 ซึ่งเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ทหารที่ได้บาดเจ็บจากการรบหรือป่วยเป็นโรคหิมะกัด (frostbitten) ในกองทัพจักรวรรดิเยอรมันระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ในช่วงระหว่างสงครามโลก,มันเป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของกองทัพเยอรมัน ผู้ที่เข้าร่วมรบกับฝ่ายชาตินิยมในสงครามกลางเมืองสเปนในปี 1938-39,และได้รับบาดเจ็บจากการสู้ร.นอกจากนั้นมันได้เป็นรางวัลปูนบำเหน็จให้แก่สมาชิกของไรชส์เวร์,เวร์มัคท์,เอสเอส และองค์กรการดูแลคอยสนับสนุนในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม ปี 1943 เนื่องจากการทิ้งระเบิดแบบปูพรมของเครื่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรหลายต่อหลายครั้งก็ยังได้มอบให้แก่พลเมืองที่ได้รับบาดเจ็บจากการโจมตีทางอาก.นอกจากนั้นมันยังเป็นการปูนบำเหน็จให้แก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่ผลจากการถูกฝ่ายศัตรูโจมตี ยกเว้นแต่เป็นโรคหิมะกั.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเครื่องหมายบาดเจ็บ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอินิกมา

เครื่องอินิกมา (Enigma machine) แบบชุดเฟือง 3 ตัว (three-rotor) เครื่องอินิกมา (Enigma machine) เป็นเครื่องรหัสโรเตอร์ (rotor cipher machine) ไฟฟ้า-กลแบบร่วมใด ๆ ซึ่งใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัสสารลับ วิศวกรชาวเยอรมัน อาร์ทูร์ แชร์บีอุส ประดิษฐ์อีนิกมาเมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แบบแรก ๆ ใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1920 และกองทัพและราชการหลายประเทศรับมาใช้ ที่โดดเด่นที่สุด คือ นาซีเยอรมนี ก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีการผลิตแบบอีนิกมาต่าง ๆ จำนวนมาก แต่แบบกองทัพเยอรมันเป็นแบบซึ่งเป็นที่รู้จักมากที่สุด เครื่องอินิกมาของเยอรมันนั้นมีจุดเด่นตรงที่การเข้ารหัสและถอดรหัสที่มีการสลับซับซ้อนทำให้ยากต่อการแกะรหัสมากทำให้กองทัพเยอรมันมั่นใจว่า จะไม่มีใครสามารถถอดรหัสลับได้อีกเลย แต่ประเทศอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรได้พยายามหาทางถอดรหัสเครื่องอินิกมาให้ได้ จนกระทั่งแอลัน ทัวริง นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษสามารถถอดรหัสเครื่องอินิกมาได้สำเร็จ ทำให้ประเทศอังกฤษและฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถเอาชนะเยอรมันได้ในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:วิทยาการเข้ารหัสลับ.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และเครื่องอินิกมา · ดูเพิ่มเติม »

Day of Defeat: Source

Day of Defeat: Sourceเป็นเกมแนวยิงปืนในมุมมองบุคคลที่ 1 พัฒนาขึ้นโดย Valve Corporation. ตั้งอยู่ใน สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นเกมRemake ของ Dat of Defeat ปรับปรุงจาก GoldSrc Engine มาใช้ใน Source Engine แทน เกมถูกวางขายสำหรับ Microsoft Windows ในวันที่ 26  เดือนกันยายน..2548 ตัวเกมถูกวางขายผ่านระบบ steam ส่วนการขายปลีกนั้นถูกรองรับไว้ด้วย Electronic Arts เกมส์ได้ออกแถลงการณ์ในเดือนกุมภาพัน.2548 ระหว่างช่วงการพัฒนา, Day of Defeat: Source ก้าวหน้าจากการเปลี่ยนแปลงโดยตรงจากเกม Day of Defeat และได้ทำการการออกแบบสิ่งใหม่ๆ เพิ่มเข้ามาอีกด้วย Day of Defeat: Source ถูกใช้โดย Valve เพื่อเสนอสิ่งใหม่ๆที่ถูกออกแบบใน Source engine อย่างเช่น high dynamic range rendering และ ลูกเล่น cinematic ตัวเกมจะมีให้เลือกอยู่สองทีม คือ ทีมสหรัฐอเมริกา และ ทีมWehrmacht ทั้งสองฝั่งจะมีตัวละครให้เล่นถึง 6 class ต่อสู้อยู่ในความหลากหลายของเหตุการณ์ที่ได้ต้นแบบมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2  เมื่อตัวเกมถูกปล่อยตัว ตัวเกมได้รับการต้อนรับที่ดี โดนยกย่องในเรื่องของบรรยากาศในการนำเสนอ และเป็นเกมแนวกลยุทธ์ที่มีกราฟิก,เสียงและภาพรวมการนำเสนอได้ดี อย่างไรก็ตามเกมส์ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ด้านเนื้อหาที่น้อย ถึงแม้ว่าจะปรับปรุงเกมเพิ่มโหมดและด่านของเกมขึ้นใหม่ก็ตาม.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และDay of Defeat: Source · ดูเพิ่มเติม »

8.8 ซม. แพค 43

แพค 43(Panzerabwehrkanone 43 and Panzerjägerkanone 43) เป็นปืนใหญ่ต่อสู้รถถังขนาด 88 มม.ของเยอรมันถูกพัฒนาโดยครุพพ์ในการประกวดการแข่งขันกับไรน์เมทอลล์ 8.8 ซม.

ใหม่!!: เวร์มัคท์และ8.8 ซม. แพค 43 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Wehrmacht

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »