โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เลิศรัตน์ รัตนวานิช

ดัชนี เลิศรัตน์ รัตนวานิช

ลเอก เลิศรัตน์ รัตนวานิช กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการ บริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน) อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550อดีตประธานกรรมการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน).

8 ความสัมพันธ์: บุรีรัตน์ รัตนวานิชพ.ศ. 2490กลุ่ม 24 ตุลา 51การสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศสภาปฏิรูปแห่งชาติ

บุรีรัตน์ รัตนวานิช

ลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2491 เป็นน้องชายคนสุดท้องของในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 6 คน ของ พล.อ.เลิศรัตน์ รัตนวานิช สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) แบบสรรหา จบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 7 (ตท.7-ร่วมรุ่นเดียวกับ พล.อ.สพรั่ง กัลยาณมิตร, พล.อ.ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์, พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน), โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 14, โรงเรียนการบิน, โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 41, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 27, วิทยาลัยการทัพอากาศรุ่นที่ 28, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 42 รับราชการในตำแหน่งที่สำคัญ ๆ อาทิ ผู้บังคับบัญชากองบิน 2 ลพบุรี (1 ตุลาคม พ.ศ. 2534 - 30 กันยายน พ.ศ. 2536), ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพอากาศ, ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (1 ตุลาคม พ.ศ. 2542 - 30 กันยายน พ.ศ. 2543), ผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง, ราชองครักษ์ประจำกรมราชองครักษ์ และ รองเสนาธิการทหารประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับเลื่อนยศเป็น พลอากาศเอก (พล.อ.อ.) ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และรับตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยก่อนหน้านั้นมีความพยายามจาก นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผลักดันให้ดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารอากาศ (ผบ.ทอ.) แต่ทว่าไม่สำเร็จ และท้ายที่สุดตำแหน่ง ผ.ทอ.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและบุรีรัตน์ รัตนวานิช · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 24 ตุลา 51

กลุ่ม 24 ตุลา 51 หรือ กลุ่ม 64.ว. ก่อกำเนิดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมที่รัฐบาลพยายามเรียกว่าเป็นการประชุม 4 ฝ่าย โดยที่ไม่มี ผู้นำฝ่ายค้าน และประธานวุฒิสภา มีเพียงนายชัย ชิดชอบ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ผู้แทนพรรคร่วมรัฐบาล และนายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 โดยที่ประชุมวันนั้นเห็นขอบโมเดล..ร. 3 ที่นายนิคม เสนอ ซึ่งภาพจะออกมาดีกว่า เพราะอาจมองได้ว่าเป็น..ร.3 ที่มาจากวุฒิสภา ต่อมา เมื่อมีการประชุมวุฒิสภา ในวันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2551 นายนิคม ยืนยันว่า นายประสพสุข บุญเดช เป็นผู้มอบหมายให้ไปร่วมประชุมกับนายชัย ชิดชอบ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ และผู้แทนพรรคร่วมรัฐบาล โดยมีหนังสือมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ขณะที่นายประสพสุข เคยกล่าวย้ำไว้ว..ร. 3 ไม่ใช่ทางออก หลังจากนั้น ได้มีการเปิดแถลงข่าวตอบโต้กัน ของ.ว. 2 กลุ่ม โดยฝ่ายหนึ่งเรียกตัวเองว่า "กลุ่ม 24 ตุลา 51" พร้อมอ้างว่ามี 64.ว. อยู่ในมือ ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งเรียกชื่อตัวเอง ว่า "กลุ่ม 40 ส.ว." ในขณะที่ภายหลังมีสมาชิกวุฒิสภาใน กลุ่ม 24 ตุลา 51 บางคน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากสายสรรหา ได้ออกมากล่าวในทำนองว่าได้ลงลายมือชื่อเป็น 1 ใน 64.ว. จริง แต่ไม่ได้มีเจตนาในการสนับสนุนการแก้ไขรัฐธรรมนูญตามมติการประชุม 4 ฝ่าย แต่อย่างใด เป็นเพียงแต่การแสดงให้เห็นว่าต้องการความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด โดยที่ไม่ทราบว่าจะนำรายชื่อของตนมาแถลงข่าวตอบโต้กันระหว่าง 2 กลุ่ม และมีภาพเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ความขัดแย้งกันทางการเมือง.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและกลุ่ม 24 ตุลา 51 · ดูเพิ่มเติม »

การสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551

การสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไท..

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

ับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) (13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560) ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 มาตรา 39/2 ทำหน้าที่ศึกษาและปฏิรูปทั้ง 11 ด้านสืบต่อจาก สภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ถูกยุบไปตามมาตรา 39/1 โดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศนั้นประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายอาชีพทั้งสิ้นไม่เกิน 200 คนซึ่งทั้งหมดมาจากการแต่งตั้งโดย นายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตั้งโดยไม่ต้องนำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย วันที่ 5 ตุลาคม 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้เรียกประชุมที่บ้านเกษะโกมล และได้มีการลงนามแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คนพร้อมกับ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ทั้ง 21 คน ซึ่งสมาชิกทั้ง 200 คนประกอบไปด้วยอดีตสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติ,นักวิชาการ,นายทหารนายตำรวจทั้งในและนอกราชการ,ตัวแทนกลุ่มการเมืองและตัวแทนพรรคการเมืองโดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูประเทศเป็นชาย 183 คนและหญิง 17 คนโดยในวันเดียวกัน ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คน วันที่ 13 ตุลาคม 2558 มีพิธีเปิดประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศที่ อาคารรัฐสภา โดยมีนาย ชัย ชิดชอบ สมาชิกสภาที่อาวุโสสูงสุดทำหน้าที่เป็นประธานสภาชั่วคราวเพื่อเลือกประธานสภาผลปรากฏว่าศาสตราจารย์เกียรติคุณ ร้อยเอก ดร.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: เลิศรัตน์ รัตนวานิชและสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »