โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เลขมัค

ดัชนี เลขมัค

มัค (Mach number) ย่อ Ma คือสัดส่วนของความเร็วต่อความเร็วเสียง เลขมัคปกติจะใช้กับวัตถุที่เดินทางด้วยความเร็วสูงในของเหลว และของเหลวที่ไหลด้วยความเร็วสูงในช่องแคบ ๆ หรืออุโมงค์ลม และเนื่องจากเป็นสัดส่วนของความเร็วสองค่า เลขมัคจึงไม่มีหน่วย ที่สภาวะระดับทะเลมาตรฐาน มัค 1 เท่ากับความเร็ว 1,225 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง (761.2 ไมล์ต่อชั่วโมง ในบรรยากาศ) เนื่องจากความเร็วเสียงนั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความจริงที่แท้จริงของวัตถุที่เดินทางเท่ากับ มัค 1 จึงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของไหลที่อยู่รายรอบ นอกจากนี้เรายังอาจเห็นได้ว่าเลขมัคนั้นยังเป็นสัดส่วนของแรงเฉื่อย (อ้างถึง แรงอากาศพลศาสตร์) ต่อแรงยืดหยุ่น (elastic force) เลขมัค ตั้งชื่อตามเอินสต์ มัค (Ernst Mach) นักฟิสิกส์และนักปรัชญาชาวออสเตรีย การคำนวณ โดยที.

18 ความสัมพันธ์: พลศาสตร์ของไหลเชิงคณนามิตซูบิชิ เอฟ-15เจระบบขีปนาวุธเอส-400รายชื่อหน่วยทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งตามชื่อบุคคลรายชื่อโปเกมอน (1–51)รถไฟความเร็วสูงห้องเรียนลอบสังหารอัตราเร็วอัตราเร็วของเสียงอัตราเร็วเหนือเสียงอากาศยานไอพ่นอาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ดที-50 โกลเดนอีเกิลขีปนาวุธอากาศสู่อากาศแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11ไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)ไอริส-ทีเอไอเอ็ม-132 แอสแรม

พลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา

แบบจำลองการไหลของอากาศความเร็วสูงรอบๆกระสวยอวกาศระหว่างการเดินทางกลับสู่โลก มัค 7 พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (CFD ซี่งย่อมาจาก Computational Fluid Dynamics) คือสาขาหนึ่งในกลศาสตร์ของไหลที่ใช้กระบวนการเชิงตัวเลขและขั้นตอนวิธี (algorithm) ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการไหลของของไหล เพื่อการนี้ คอมพิวเตอร์จะถูกนำมาใช้เพื่อทำการคำนวณนับล้านๆครั้ง ก่อนที่จะสร้างแบบจำลองการทำปริกิริยาของของไหลและก๊าซต่อขอบผิวซึ่งกำหนดโดยสภาวะของขอบเขต แต่ทว่า ผลลัพธ์ที่ได้นั้นก็ยังเป็นเพียงการประมาณการณ์ที่ได้จากในหลายๆกรณีเท่านั้นถึงแม้ว่าจะใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงในการคำนวณก็ตาม อย่างไรก็ตาม การพัฒนาของโปรแกรมนี้ในปัจจุบัน ความแม่นยำและความเร็วในการคำนวณสถานะการณ์ที่ซับซ้อนนั้นได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่นการจำลองการไหลแบบเทอร์บิวแลนต์ หรือ Transonic โปรแกรมนี้แต่เดิมถูกนำมาใช้กับการจำลองกังหันลม แต่ปัจจุบันถูกนำมาใช้ในการทดสอบการบินด้ว.

ใหม่!!: เลขมัคและพลศาสตร์ของไหลเชิงคณนา · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูบิชิ เอฟ-15เจ

มิตซูบิชิ เอฟ-15เจ/ดีเจ อีเกิล (Mitsubishi F-15J/DJ Eagle) เป็นเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์ของญี่ปุ่น พัฒนาโดยมีฐานมาจาก แมคดอนเนลล์ดักลาส เอฟ-15 อีเกิลของสหรัฐอเมริกา ผลิตขึ้นภายใต้สิทธิโดยมิตซูบิชิ เฮวี่ อินดัสทรีย์ส ประจำการในกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เลขมัคและมิตซูบิชิ เอฟ-15เจ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขีปนาวุธเอส-400

อส-400 ตรีอุมฟ์ (S-400 Triumf; C-400 Триумф) เป็นระบบอาวุธต่อสู้อากาศยานที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1990 โดยสำนักออกแบบกลางอัลมัซของรัสเซียเป็นการปรับปรุงตระกูลเอส-300 อยู่ในราชการของกองทัพรัสเซียมาตั้งแต่ปี 2540; ในปี 2560 มีการอธิบายว่าเป็น "ระบบป้องกันทางอากาศดีที่สุดระบบหนึ่งเท่าที่เคยผลิต".

ใหม่!!: เลขมัคและระบบขีปนาวุธเอส-400 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหน่วยทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งตามชื่อบุคคล

ทความนี้เกี่ยวกับหน่วยทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งชื่อตามบุคคล โดยในภาษาอังกฤษ ชื่อหน่วยเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด และตัวย่อเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ.

ใหม่!!: เลขมัคและรายชื่อหน่วยทางวิทยาศาสตร์ที่ตั้งตามชื่อบุคคล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโปเกมอน (1–51)

แฟรนไชส์ โปเกมอน มีสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตสมมุติที่เรียกว่าโปเกมอนทั้งหมด 721 สายพันธุ์ (นับถึง''โปเกมอนภาคโอเมการูบี''และ''แอลฟาแซฟไฟร์'') นี่คือรายชื่อโปเกมอน 51 สายพันธุ์ ที่พบใน''โปเกมอนภาคเรด''และ''กรีน'' เรียงตามสมุดภาพโปเกมอนเนชัลแนลของซีรีส์เกมหลัก.

ใหม่!!: เลขมัคและรายชื่อโปเกมอน (1–51) · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูง

รถไฟชิงกันเซ็ง รุ่น E5 TGV 2N2 ของ SNCF ซึ่งเป็นรถไฟความเร็วสูงที่พัฒนาให้มีห้องโดยสาร 2 ชั้น ขณะอยู่ที่เมืองแฟรงเฟิร์ตของเยอรมนี รถไฟความเร็วสูง หรือ ระบบรางความเร็วสูง (High-Speed Rail (HSR)) เป็นระบบการขนส่งทางรางที่วิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าระบบขนส่งทางรางทั่วไปอย่างมาก โดยการใช้ระบบล้อเลื่อน (rolling stock) พิเศษรวมกับระบบรางที่ออกแบบมาให้ใช้โดยเฉ.

ใหม่!!: เลขมัคและรถไฟความเร็วสูง · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเรียนลอบสังหาร

ห้องเรียนลอบสังหาร หรือ Assassination Classroom เป็นซีรีส์การ์ตูนญี่ปุ่น ที่แต่งและวาดภาพประกอบโดยยูเซย์ มัตสึอิ ตีพิมพ์ลงนิตยสารการ์ตูน โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ ของชูเอชะตั้งแต่ 2 กรกฎาตม..

ใหม่!!: เลขมัคและห้องเรียนลอบสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็ว

อัตรา rate (สัญลักษณ์: v) คืออัตราของ เกณฑ์ หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งก็ได้ หลายครั้งมักเขียนในรูป ระยะทาง D. ที่เคลื่อนที่ไปต่อ หน่วย ของ เวลา ตำแหน่ง.

ใหม่!!: เลขมัคและอัตราเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วของเสียง

อัตราเร็วของเสียง คือ ระยะทางที่เสียงเดินทางไปในตัวกลางใดๆ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C (.

ใหม่!!: เลขมัคและอัตราเร็วของเสียง · ดูเพิ่มเติม »

อัตราเร็วเหนือเสียง

อัตราเร็วเหนือเสียง เป็นการจำกัดความของความเร็วซึ่งมีค่ามากกว่าอัตราเร็วเสียง (1 มัค) ในอากาศแห้งที่อุณหภูมิ 20 °C ค่าเริ่มเปลี่ยนที่ต้องการสำหรับวัตถุที่เดินทางที่อัตราเร็วเสียงอยู่ที่ประมาณ 343 เมตร/วินาที (หรือ 1,236 กิโลเมตร/ชั่วโมง) อัตราเร็วที่สูงกว่า 5 เท่าของอัตราเร็วเสียงมักเรียกว่า ไฮเปอร์โซนิก อัตราเร็วของอากาศบางบริเวณโดยรอบวัตถุ (อย่างเช่นปลายของใบพัดเฮลิคอปเตอร์) ที่ถึงอัตราเร็วเสียงจะถูกเรียกว่า ทรานโซนิก (อยู่ที่อัตราเร็วระหว่าง 0.8-1.2 มัค) เสียงเคลื่อนที่ด้วยการสั่น (คลื่นความดัน) ในตัวกลางยืดหยุ่น ในตัวกลางสถานะแก๊ส เสียงจะเดินทางตามยาวที่ความเร็วระดับต่างกัน ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุลและอุณหภูมิของแก๊ส (โดยที่ความดันมีผลเล็กน้อย) เนื่องจากอุณหภูมิและส่วนประกอบของอากาศมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนตามระดับความสูง เลขมัคสำหรับอากาศยานจึงสามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้โดยที่อัตราเร็วอากาศไม่เปลี่ยนแปลง ในน้ำที่อุณหภูมิห้อง พิจารณาได้ว่าอัตราเร็วเหนือเสียงคืออัตราเร็วที่มีค่าสูงกว่า 1,440 เมตร/วินาที ในของแข็ง คลื่นเสียงสามารถเดินทางตามยาวหรือทแยง และมีอัตราเร็วสูงกว่าการเคลื่อนที่ในน้ำเสียอีก.

ใหม่!!: เลขมัคและอัตราเร็วเหนือเสียง · ดูเพิ่มเติม »

อากาศยานไอพ่น

อากาศยานไอพ่น (jet aircraft) คือ อากาศยานที่ใช้เครื่องยนต์ไอพ่นเป็นพลังงานขับเคลื่อน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงภายในเครื่องยนต์จะเกิดก๊าซร้อนมาก ซึ่งเมื่อพ่นออกมานั้นจะเกิดแรงดันไปในทิศทางตรงกันข้ามอย่างมหาศาล สามารถผลักดันให้อากาศยานเคลื่อนที่ไปได้อย่างรวดเร็วอากาศในท้องฟ้าระยะสูงจะมีความหนาแน่นน้อยลง แรงปะทะต้านทานก็น้อยลงไปด้วย แต่กำลังดันจากภายในเครื่องยนต์มิได้ลดน้อยลงเลย ดังนั้นอากาศยานไอพ่นจึงบินได้เร็วขึ้นในระยะสูงขึ้นตามลำดับ เพดานบินของอากาศยานไอพ่นจึงสูงกว่าอากาศยานธรรมดา ตามปกติเสียงวิ่งผ่านอากาศด้วยความเร็ว 1250 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือ 1 มัค (mach) ถ้าเร็วกว่านั้นเป็นสองเท่าหรือสามเท่าของเสียงก็เรียกว่า มัค 2 หรือ มัค 3 ตามลำดับ เครื่องบินไอพ่นเท่านั้นที่สามารถทำความเร็วได้สูงเช่นนี้ ในขณะที่บินด้วยความเร็วเหนือเสียงเราจะเรียกว่า โซนิค บูม (sonic boom)เป็นเหตุให้บานกระจก ประตูหน้าต่างแตกไปได้ เครื่องบินไอพ่นสมัยเริ่มแรกมิได้ศึกษาเรื่องนี้พอ จึงสร้างไว้ให้มีความแข็งแรงอย่างธรรมดา เมื่อบินเร็วมากๆถึงขั้นเจาะข้ามเขตกำแพงเสียง เครื่องบินไอพ่นก็จะเกิดระเบิดพังทลายเป็นชิ้นเล็กๆ ตกลงมา มีลักษณะเหมือนปาขวดแก้วให้แตกละเอียดที่กำแพงหิน ดังนั้นเครื่องบินไอพ่นสมัยใหม่ที่มีความเร็วตั้งแต่หนึ่งเท่าของเสียงขึ้นไป จึงต้องมีโครงสร้างเป็นโลหะที่แข็งแรงเป็นพิเศษ ยังมีเครื่องบินอีกประเภทหนึ่ง เป็นเครื่องบินไอพ่นซึ่งสามารถขึ้นและลงตรงๆ ในทางดิ่งได้ คุณลักษณะอันนี้เกิดจากการใช้เครื่องยนต์ไอพ่นพุ่งลงมาข้างล่าง ต่อเมื่อเครื่องพุ่งขึ้นได้ระยะสูงปลอดภัยแล้ว นักบินจึงบังคับให้ท่อไอพ่นหมุนเพื่อพ่นไอเสียไปข้างหลัง จะได้ผลักให้ตัวเครื่องบินเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เครื่องบินไอพ่นแบบนี้ ไม่ต้องมีทางวิ่ง จึงใช้ประโยชน์ได้ดีมากบนเรือบรรทุกเครื่องบินซึ่งมีดาดฟ้าที่คับแคบอยู่แล้ว ข้อเสียเปรียบก็มีอยู่ว่า ยังไม่สามารถสร้างเครื่องบินไอพ่นแบบนี้ให้บินได้นานๆ และไกลๆ เท่าเครื่องบินไอพ่นธรรม.

ใหม่!!: เลขมัคและอากาศยานไอพ่น · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด (SM-1MR/SM-2MR) เป็นขีปนาวุธพื้นสู่อากาศพิสัยปานกลาง พัฒนาโดยบริษัทเรย์เธียน สำหรับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา โดยรุ่นเอสเอ็ม-1 พัฒนามาเพื่อทดแทนขีปนาวุธรุ่นก่อนหน้าอย่างอาร์ไอเอ็ม-2 เทอเรียร์ และอาร์ไอเอ็ม-24 ทาร์ทาร์ ปัจจุบันมีการพัฒนาเพิ่มระยะยิงเป็นรุ่น อาร์ไอเอ็ม-67 สแตนดาร.

ใหม่!!: เลขมัคและอาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ที-50 โกลเดนอีเกิล

ที-50 โกลเดนอีเกิล (T-50 Golden Eagle) เป็นตระกูลอากาศยานฝึกหัดความเร็วเหนือเสียง และเป็นอากาศยานโจมตีเบาของเกาหลีใต้ พัฒนาโดยบริษัทอุตสาหกรรมอวกาศเกาหลี (KAI) ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือกับบริษัท ล็อกฮีด มาร์ติน ของสหรัฐอเมริกา เครื่องบิน ที-50 ถือว่าเป็นเครื่องบินเหนือเสียงลำแรกของเกาหลีใต้ นอกจากนี้ ยังจัดว่าเป็นหนึ่งในเครื่องบินฝึกหัดไม่กี่รุ่นในโลกที่มีความเร็วเหนือเสียง.

ใหม่!!: เลขมัคและที-50 โกลเดนอีเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ

อฟ-22 ของกองทัพอากาศสหรัฐขณะยิงเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศยุคใหม่ ไอริส-ที ของกองทัพอากาศเยอรมัน เอไอเอ็ม-132 แอสแรม ติดตั้งกับ ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน. ขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ (AAM) เป็นขีปนาวุธที่ใช้ปล่อยจากอากาศยาน มีจุดมุ่งหมายที่จะทำลายอากาศยานเป้าหมาย ปกติแล้วขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ จะใช้เครื่องยนต์จรวดเดี่ยวหรือหลายเครื่องยนต์ก็ได้ และใช้เชื้อเพลิงแข็ง แต่บางครั้งอาจใช้เชื้อเพลิงเหลว หรือเครื่องยนต์แรมเจ็ท โดยทั่วไปขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศสามารถจำแนกออกเป็นสองประเภท ประเภทแรกคือขีปนาวุธที่ออกแบบมาเพื่อติดตามอากาศยานในระยะไม่เกิน 20 ไมล์ (32 กิโลเมตร) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นในระยะมองเห็น (SRAAMs หรือ WVRAAMs) โดยเน้นที่การใช้งานในการต่อสู้ระยะประชิด หรือเรียกว่า "ด็อกไฟท์" ขีปนาวุธประเภทนี้จะเน้นที่ความคล่องตัวมากกว่าระยะยิง ใช้ระบบนำวิถีแบบอินฟราเรด หรือเรียกอีกอย่างว่าระบบค้นหาเป้าหมายด้วยความร้อน ประเภทที่สองคือขีปนาวุธในระยะกลางถึงไกล เป็นขีปนาวุธในระยะเกินมองเห็น (BVRAAMs) และนำวิถีด้วยเรดาร.

ใหม่!!: เลขมัคและขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ · ดูเพิ่มเติม »

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 เป็นเครื่องบินสามเครื่องยนต์ ผลิตโดยแมคดอนเนลล์ดักลาส และโบอิ้งหลังจากควบรวมกิจการกันแล้ว มีต้นแบบมาจากแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 เน้นใช้วัสดุผสมเป็นหลัก ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อน 3 เครื่อง แต่ก็สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากกว่าเครื่องบินแบบ 2 เครื่องยนต์ และเกิดอุบัติเหตุบ่อยทำให้ไม่เป็นที่นิยมนัก ผลิตออกมาได้แค่ 200 ลำ มีทั้งแบบโดยสาร แบบโดยสารกับขนส่งสินค้า และแบบขนส่งสินค้า  แบบโดยสารและแบบโดยสารกับขนส่งสินค้าออกบินครั้งสุดท้ายในปี..

ใหม่!!: เลขมัคและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)

Firefox (ชื่อไทย: แผนจารกรรมมิก 31) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: เลขมัคและไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไอริส-ที

อริส-ที (ย่อ: IRIS-T อังกฤษ: Infra Red Imaging System Tail) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ ที่เยอรมนีเป็นผู้นำในการพัฒนาร่วมกับหลายประเทศ เพื่อแทนที่ AIM-9 Sidewinder ซึ่งเป็นที่ใช้งานส่วนใหญ่ในประเทศสมาชิก นาโต้.

ใหม่!!: เลขมัคและไอริส-ที · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-132 แอสแรม

อไอเอ็ม-132 แอสแรม (AIM-132 ASRAAM) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ที่พัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่า AIM-9L (USAF) หรือ AIM-9M (US NAVY) ซึ่งถือเป็นรุ่นที่ 4 (The Fourth Generation) สภาวะของสงครามสมัยใหม่ มีกฎเกณฑ์การสู้รบที่เข้มข้นขึ้น ต้องทำลายข้าศึกให้ได้เร็วที่สุด จึงมีการนำเอาเทคโนโลยี Imaging IR มาใช้ นับเป็นขีปนาวุธ All Aspect ความเร็วสูง แม่นยำ ยิงได้ไกล พัฒนา R-SEP (Max Seperation) เพื่อ จุดมุ่งหมาย "SHOOT FIRST KILL EARLY" ต่อต้านการลวงด้วยอินฟราเรด (IRCCM) สะท้อนสัญญาณต่ำ อังกฤษพัฒนาเพื่อใช้กับเครื่อง TONADO, F-3, HARRIER, GR-7 หาเป้าด้วยภาพ จึงไม่อาจต่อต้านด้วย Chaff หรือ Flare ได้ จึงเป็นการเพิ่มความอยู่รอดให้กับเครื่องบินขับไล่ ผลการทดสอบล่าสุด ปรากฏว่า ENVELOP เกือบเท่า AMRAAM.

ใหม่!!: เลขมัคและเอไอเอ็ม-132 แอสแรม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มัค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »